30
บทที2 การตรวจเอกสารและแนวคิดทฤษฎี ในบทนี้เปนการทบทวนผลงานวิจัย ตลอดจนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย ความสัมพันธระหวางการบริโภคน้ํามันแตละสาขาเศรษฐกิจกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยโดยทําการตรวจผลงานวิจัยทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ สําหรับการตรวจเอกสารผลงานวิจัยที่เกี่ยวของไดทําการตรวจผลงานวิจัยภายในประเทศ และตางประเทศ โดยไดรวบรวมผลงานวิจัยแลวจัดกลุมไดเปน 3 กลุดังนีกลุมที1 กลุมที่วิจัยถึงอุปสงค อุปทานของน้ํามันเชื้อเพลิงผานสมการการผลิตของประเทศ ไทย กลุมที2 กลุมที่อาศัยแนวคิด ทฤษฏีความเจริญเติบโตของสํานักนีโอคลาสสิคหรือSolow ที่แสดงถึงปจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากทุนและแรงงาน ที่รูจักกันวาสวนที่เหลือ (Solow residual) ที่มี สวนทําใหเกิดอัตราการขยายตัวของผลผลิต ไดแก ปจจัยพลังงานหรือน้ํามัน กลุมที3 กลุมที่วิเคราะหความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานและ/ หรือน้ํามันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดวยวิธีการวิเคราะหเชิงปริมาณทางเศรษฐมิติตางๆ กลุมที1 กลุมที่วิจัยถึงอุปสงค อุปทานของน้ํามันเชื้อเพลิงผานสมการการผลิต ไดแก งานวิจัยของนฤมล (2528) สิริมาศ(2537) และกิตติศักดิ(2539) นฤมล (2528) ไดศึกษาอุปสงคสําหรับน้ํามันเชื้อเพลิงนอกภาคการเกษตรในประเทศไทย ในป 2528 โดยเฉพาะในสวนของการวิเคราะหสมการการผลิตในสาขาการผลิตไฟฟา ประปา และ อุตสาหกรรม โดยใชสมการการผลิตชนิด คอบปดักลาส (Cobb Douglas Production Function) เพื่อ แสดงความสัมพันธของการใชปจจัยการผลิตกับผลผลิต โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชน้ํามันในการผลิต

Chapter 2

  • Upload
    red-kh

  • View
    36

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chapter 2

บทท่ี 2

การตรวจเอกสารและแนวคิดทฤษฎ ี

ในบทนี้เปนการทบทวนผลงานวิจยั ตลอดจนแนวคดิและทฤษฎีที่เกีย่วของกับการวจิัยความสัมพันธระหวางการบริโภคน้ํามันแตละสาขาเศรษฐกิจกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยทําการตรวจผลงานวิจยัทัง้ภายในประเทศและตางประเทศ

ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

สําหรับการตรวจเอกสารผลงานวิจยัที่เกีย่วของไดทําการตรวจผลงานวจิัยภายในประเทศและตางประเทศ โดยไดรวบรวมผลงานวจิัยแลวจัดกลุมไดเปน 3 กลุม ดังนี ้

กลุมที่ 1 กลุมที่วิจัยถึงอุปสงค อุปทานของน้ํามันเชื้อเพลิงผานสมการการผลิตของประเทศไทย

กลุมที่ 2 กลุมที่อาศัยแนวคดิ ทฤษฏีความเจริญเติบโตของสํานักนีโอคลาสสิคหรือSolow

ที่แสดงถึงปจจัยอ่ืนๆ นอกเหนือจากทุนและแรงงาน ที่รูจักกนัวาสวนที่เหลือ (Solow residual) ที่มีสวนทําใหเกดิอัตราการขยายตัวของผลผลิต ไดแก ปจจยัพลังงานหรือน้ํามัน

กลุมที่ 3 กลุมที่วิเคราะหความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานและ/

หรือน้ํามันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ดวยวิธีการวเิคราะหเชิงปรมิาณทางเศรษฐมิติตางๆ กลุมที่ 1 กลุมที่วิจัยถึงอุปสงค อุปทานของน้ํามันเชื้อเพลิงผานสมการการผลิต ไดแก

งานวิจยัของนฤมล (2528) สิริมาศ(2537) และกิตติศักดิ(์2539)

นฤมล (2528) ไดศึกษาอุปสงคสําหรับน้ํามันเชื้อเพลิงนอกภาคการเกษตรในประเทศไทยในป 2528 โดยเฉพาะในสวนของการวิเคราะหสมการการผลิตในสาขาการผลิตไฟฟา ประปา และอุตสาหกรรม โดยใชสมการการผลิตชนิด คอบปดักลาส (Cobb Douglas Production Function) เพื่อแสดงความสมัพันธของการใชปจจัยการผลิตกับผลผลิต โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชน้าํมันในการผลิต

Page 2: Chapter 2

11

ในสาขาดังกลาวอาศัยวิธีกําลังสองนอยที่สุด(Ordinary least square:OLS) พบวาน้ํามันเตาเปนน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีความสัมพันธกับผลผลิตในสาขาการผลิตไฟฟา-ประปา มากกวาน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดอื่น และน้ํามันเบนซินเปนน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีความสัมพันธกับผลผลิตในสาขาอุตสาหกรรมมากกวาน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดอื่น

จากการศึกษา ทําใหทราบถึงการบริโภคน้ํามันเตาเปนน้ํามันเชื้อเพลิงทีม่ีความสัมพันธกับผลผลิตในสาขาการผลิตไฟฟา-ประปามากกวาน้ํามันประเภทอื่นๆ และน้ํามันเบนซินเปนน้ํามันที่มีความสัมพันธกับผลผลิตในสาขาอุตสาหกรรมมากกวาน้าํมันประเภทอืน่ๆ ผานการใชฟงกชันการผลิตแบบคอบป- ดักลาส (Cobb-Douglas) ซ่ึงคลายกับการศึกษาในครั้งนี้ โดยเนนวิเคราะหน้ํามนัเฉพาะภาคเศรษฐกิจที่มกีารบริโภคน้ํามันโดยรวมมากเปน 2 อันดับแรกของประเทศ โดยการศึกษาคร้ังนี้จะพจิารณาตางออกไป คือ ศึกษาเฉพาะภาคอุตสาหกรรม และคมนาคมขนสง อันเปนภาคการผลิตที่ใชน้ํามันประกอบกจิกรรมการผลิตในสัดสวนที่สูง

สิริมาศ (2537) ทําการศึกษาเรื่องอุปสงคสําหรับน้ํามันในประเทศไทย กรณีศึกษาในภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และสาขาคมนาคมขนสง ไดใชแนวคิด ฟงกชันการผลิต มาประยุกตกับการสรางสมการอุปสงคสําหรับน้ํามันของผูผลิต(Producer’s oil Demand) โดยใชขอมูลในชวงป พ.ศ. 2522-2534 จากการศึกษาพบวา อุปสงคน้าํมันมีความสมัพันธโดยตรงกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมในประเทศไทย และไดคาดประมาณการณวา อุปสงคสําหรับน้ํามันในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นประมาณเทาตวัใน 7 ปขางหนา และพบอีกวา ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ เนื่องจากในชวงที่ทําการศึกษาขณะนัน้ ราคาน้ํามันยังคงถูกควบคมุโดยรัฐบาล และในสวนของน้ํามันดีเซล พบวา มีการใชในสาขาคมนาคมขนสงมากที่สุด และมคีวามยืดหยุนตอราคาต่ํา โดยจดัวาน้ํามนัดีเซลเปนสินคาจําเปน

จากการศึกษาเรื่อง ความยืดหยุนตอราคาต่าํน้ํามันดีเซลในสาขาคมนาคมขนสง แสดงใหเห็นวา น้ํามันดีเซลเปนสินคาจําเปน ซ่ึงจะนํามาประกอบการศึกษาในการเนนใหเหน็ถึงความสําคัญของน้ํามันดีเซล ซ่ึงอยูในประเภทน้ํามันทีน่ํามาใชในการศึกษาครั้งนี้ ทั้งในฐานะที่เปนปจจยัการผลิตที่มีตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ

กิตติศักดิ์ (2539) ศึกษาปจจยัที่มีผลตออุปสงคและอุปทานของน้ํามันเชื้อเพลิงกับการทดแทนการนาํเขาของประเทศไทย การศกึษาไดใชขอมลูทุติยภูมิในชวงป พ.ศ. 2526-2537 วิเคราะหในเชงิปริมาณดวยวธีิกําลังสองนอยที่สุด (Ordinary least square: OLS) โดยใชสมการถดถอยเชิงซอนประกอบกับการวิเคราะหเชิงพรรณนา เพื่อวิเคราะหปริมาณและสัดสวนของ

Page 3: Chapter 2

12

โครงสรางของความตองการใช การผลิต และการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง ตลอดจนปรมิาณการทดแทนการนาํเขาน้ํามันเชื้อเพลิง พบวา ปจจัยที่มีผลกระทบตอปริมาณความตองการบริโภคน้ํามันมากที่สุด คือ ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ และปจจยัที่กระทบตอปริมาณการผลิตน้ํามัน คือ ขอจํากัดในการผลิตน้ํามันและการขยายจํานวนโรงกลั่นน้ํามันเพิ่มอีก 2 แหง ที่สนองความตองการน้ํามันภายในประเทศ

จากการตรวจเอกสาร ทําใหทราบถึงโครงสรางของความตองการใช การผลิต และการนําเขาน้ํามันเชือ้เพลิง ชนิดน้าํมันเชื้อเพลิงตางๆที่มีคุณลักษณะสําคัญแตกตางกันไปตามภาคการผลิต ตลอดจนปจจัยตางๆที่มผีลกระทบตอปริมาณการผลิตน้ํามันและความตองการบริโภคน้ํามันเชื้อเพลิงแยกตามชนิดน้ํามนัของประเทศไทย ผานการวเิคราะหดวยวิธีกําลังสองนอยที่สุด ซ่ึงจะแตกตางจากงานวิจยัในครั้งนีท้ี่ไดนําวิธีการวิเคราะหความสัมพันธเชิงดลุยภาพระยะยาว (Co-integration) และการปรับตัวในระยะสั้น (Error correction model: ECM) เขามาใชพจิารณาความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคน้ํามันกบัการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ

กลุมที่ 2 กลุมที่อาศัยแนวคดิ ทฤษฏีความเจริญเติบโตของสํานักนีโอคลาสสิคหรือSolow ที่แสดงถึงปจจัยอ่ืนๆ นอกเหนือจากทุนและแรงงาน ทีม่ีสวนทําใหเกดิอัตราการขยายตัวของผลผลิต ไดแก ปจจัยพลังงานหรือน้ํามัน เปนตน ไดแก งานวิจยั Kümmel, Henn and Lindenberger(2002) และ Ayres and Warr (2005) เปนตน

Kümmel,Henn and Lindenberger (2002) ทําการศึกษาเรือ่ง ทุน แรงงาน พลังงานและ ความคิดสรางสรรคที่ขึ้นอยูกับเวลา ในการสรางแบบจําลองการกระจายทางนวัตกรรม (Modelling innovation diffusion) ในชวงระยะเวลา 30 ป ที่ผานมา ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิในประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และ เยอรมนี ตกอยูในชวงเศรษฐกิจถดถอย (recession) เนื่องจากประสบกับวิกฤติการณพลังงาน จึงไดหนักลับมาทบทวนฟงกชันการผลิตใหมอีกครั้งที่ขึ้นอยูกบั ปจจัยทนุ แรงงาน พลังงานและคาพารามิเตอรเทคโนโลยีอีก 3 ปจจยัตามลําดับ และเมื่อเวลามีการเปลี่ยนแปลง ทําใหคาพารามิเตอรเหลานัน้เขามาอยูในแบบจําลองการกระจายทางนวัตกรรม ที่ถูกขับเคลื่อนจาก ความคิดสรางสรรค (Creativity)โดยอาศัยฟงกชันการผลิตทั้งในรูปแบบของคอบป-ดักลาสและลิเนียล เอกโปเนยีนเชยีล (Linearly exponential Production: LINEX)

โดยพบวาใน 3 ประเทศดังกลาว จากคาความยืดหยุนของการผลิตเฉลี่ยของพลังงานมีสวน

แบงของตนทนุพลังงาน เกนิกวาสวนแบงตนทุนของปจจัยการผลิตโดยรวม และยงัไดใหขอสรุป

Page 4: Chapter 2

13

วา คาสวนที่เหลือ (Residual)ที่ถูกเรียกวาเปน “ความกาวหนาทางเทคนคิ” (Technical progress) ตามทฤษฎีความเจริญเติบโตของสํานักนโีอคลาสสิค ไดแยกหลักการเปน 2 ประเด็น คือ ประเด็นแรก ในการกระตุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในครั้งแรก ยอมตองอาศัยสต็อคทุนโดยพลังงานที่มากขึ้น โดยทีม่ีแรงงานคนเปนผูควบคุมการทํางานของสต็อคทุนในปริมาณที่เหมาะสมกัน สวนประเด็นที่สอง สําหรับองคประกอบที่ทําใหเกิดการปรับปรุงโครงสรางและประสิทธิภาพของสต็อคทุนดานพลังงาน ก็คือความคิดสรางสรรค (Creativity) เปนตัวขับเคลือ่น ถาพิจารณาในระยะสั้น (Short term) ประเด็นแรกจะสงผลกระทบตอการเติบโตทางเศรษฐกจิดวยขนาดทีม่ากกวา แตในความเปนจริงผลกระทบยอมกินเวลาที่ยาวนาน (long term) การปรับปรุงประสิทธิภาพขั้นพื้นฐานสามารถทําใหเกดิความกาวหนาทางเศรษฐกิจได กลาวคือ ขนาดของผลกระทบจากประเดน็ที่สอง จะมากกวาในประเดน็แรก

ประโยชนที่ไดจากงานศึกษานี้ ทําใหทราบวาวกิฤติการณพลังงานที่มผีลทําใหเศรษฐกิจเขา

สูระยะถดถอยนั้น ถามองในทางทฤษฎีความเจริญเติบโตของสํานักนีโอคลาสสิค ความคิดสรางสรรคที่ติดตามมาจากผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ 3 ประเทศไดรับนั้น มีผลกระทบในเชิงบวกที่ชวยใหเศรษฐกิจสามารถเจริญกาวหนาไดในระยะยาว ดังนั้นวกิฤติการณน้ํามันที่ประเทศไทยไดรับ เมื่อพิจารณาในแงของการใชความคิดสรางสรรคที่ไดมาจากวกิฤตการณ อาจมีผลทําใหฟงกชันการผลิตมีการเคลื่อนตัวที่สูงขึ้นจากเดิมก็เปนได โดยแอบแฝงมากับผลกระทบจากวิกฤติการณน้ํามนัในประเทศไทย

Ayres and Warr (2005) ศึกษาเรื่องระบบบัญชีการเจริญเติบโตในบทบาทของทุนเชิง

กายภาพ (Accounting for growth: the role of physical work) โดยตองการทดสอบเพือ่หาทางอธิบายความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาตั้งแต ค.ศ. 1900 มาจากความเชื่อวาการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะพลังงาน ยังคงเปนปจจัยสําคัญในการผลิตและตัวขับเคลื่อนใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว เนื่องจาก100 ปในอดีตของสหรัฐอเมริกายังไมสามารถอธิบายไดถึงปจจัยภายนอกที่เปน “ตัวทวีความกาวหนาทางเทคโนโลยี” (Solow residual)จึงไดนําพลังงานใหเปนปจจยัหนึ่งที่มีประโยชนตอการทาํงาน (Useful work) ในฟงกชันการผลิต มาใชรวมกนักบัปจจัยทนุและแรงงาน โดยใหอยูในรูปฟงกชันการผลิตแบบคอบป- ดักลาสภายใตเงื่อนไขที่สมมติ ใหฟงกชันการผลิตใหผลตอบแทนตอขนาดคงที่ (Constant Return to scale) และในรูปฟงกชันกาผลิตแบบลิเนียล เอกโปเนนเชียล (Linearly exponential production function: LINEX)

Page 5: Chapter 2

14

ดังนั้นในการศกึษานี้ จึงใชทฤษฎีความเจรญิเติบโตของสํานักคลาสสิค มาศึกษาในดานทุนเชิงกายภาพ (เทอรโมไดนามิก) ทฤษฎีความเจริญเติบโตของสํานักคลาสสิคโดยมาตรฐานนั้นจะเนนเฉพาะปจจัยทุนและแรงงานเปนตวัแปรอิสระในฟงกชันการผลิต (Solow:1956,1957) เพื่อใหไดผลผลิตเปนสินคาและบริการในรูปของเทอมทางการเงิน (Monetary terms) แตจากการอางถึงในงานของ Oeorgescu Roegen (1966) ในความเปนจริงยอมไมอาจเขาใจฟงกชันการผลิตได หากปราศจาการการนําวัตถุดิบและพลังงานเขามา Ayres and Warr จึงไดนํามาเปนเหตุผลเพื่อศึกษาถึง ความกาวหนาทางเทคโนโลยีของพลังงาน เนื่องจากพลังงานเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีขีดจํากัด ซ่ึงมีที่มาไดหลายทาง ไดแก การคนพบพลงังานทดแทนใหม การประหยัดตอขนาดจากประสบการณ หรือ การเรียนรูและปฏิบัติ (Learning by doing) ชวยใหตนทุนการผลิตสินคาและบริการลดลงได

กลุมที่ 3 กลุมที่วิเคราะหความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานและ/หรือ

น้ํามันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดวยวิธีการวิเคราะหเชิงปริมาณทางเศรษฐมิตติางๆ ไดแก งานวิจยัของ Zou and Chau (2005) Aqeel et al. (2001) Asafy-Adjaye (2000) Fatai et al. (2004) และ Chien-Chiang Lee(2005)

Asafu-Adjaye (2000) ไดทําการวิเคราะหความสัมพันธเชงิเหตุและผลระหวางการบรโิภคพลังงานและรายไดในประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และไทย โดยอาศัยเทคนิคโค-อินทิเกรชั่น (Co-integration) และ แบบจําลอง Error correction model (ECM) เพื่อตองการตรวจสอบความสัมพันธเชิงดุลยภาพระยะยาวและการปรับตัวในระยะสั้น ตามลําดบั สําหรับการทดสอบความสัมพันธเชิงดุลยภาพระยะยาวดวยเทคนิค โค-อินทิเกรชั่น ไดเพิ่มตัวแปรดานราคาเขามาพิจารณาในแบบจําลองเปน 3 ตัวแปร ทําใหการทดสอบดวยวิธีโค-อินทิเกรชั่น อาศัยการทดสอบที่ถูกเสนอโดย Johansen และ Juselius ในแบบจําลองลักษณะTrivariate model (พลังงาน , รายได และ ราคา) จากผลการศึกษา สรุปไดวาประเทศอินเดียและอินโดนีเซีย มีความสัมพันธเชิงเหตุและผลในแบบทิศทางเดียว (Unidirectional) โดยที่การบริโภคพลังงานเปนสาเหตุที่นําไปสูรายไดของทั้งสองประเทศดังกลาว ในขณะที่ประเทศไทยและฟลิปปนสกลับมีความสัมพันธเชิงเหตุและผลแบบสองทิศทาง (Bidirectional) แสดงวาการบริโภคพลังงาน รายได และราคา เปนสาเหตุซ่ึงกันและกันหรือมคีวามสัมพันธซ่ึงกันและกัน (Mutually causal) และยังพบวาผลกระทบทางดานราคามีนัยสําคัญทางสถิตินอย หรือไมมีนัยสําคัญทางสถิติตอหวงโซความสัมพันธเชิงเหตแุละผลระหวางการบริโภคพลังงานและรายได

Page 6: Chapter 2

15

ผลการศึกษาดงักลาวสามารถบอกเปนนัยถึงการวิเคราะหนโยบายทางดานพลังงานและเศรษฐกิจ ไดวาหากความสัมพันธเปนในลักษณะแบบสองทิศทาง หากระดับการเจรญิเติบโตทางเศรษฐกิจอยูในระดับที่สูงแลว ยอมนําไปสูความตองการบริโภคพลังงานในระดับทีสู่งตามมาและมีผลในทํานองกลับกัน ดังนัน้หากไมตองการใหการบริโภคพลังงานทีล่ดลงสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทีล่ดลงตามมา นโยบายอนุรักษพลังงานจึงควรมีจุดมุงหมายไมเนนเฉพาะเพียงแคการบริโภคพลังงานลงเพียงอยางเดียว ควรมีการผสมผสานนโยบายทางดานภาษีพลังงาน(Energy tax)และใหเงนิสนับสนุน(Subsidies) และพยายามสงเสริมใหอุตสาหกรรมปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีลดมลภาวะตางๆไปพรอมกัน

ประโยชนที่ไดจากการตรวจเอกสาร ทําใหทราบถึงความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานและรายไดของประเทศไทย ในลักษณะแบบสองทิศทาง ตลอดจนทราบถึงแนวทางในการนํานโยบายดานพลังงานและเศรษฐกิจมาปรับใช หากผลการศึกษาในครั้งนี้ใหผลในลักษณะดังกลาว แตอยางไรก็ตามงานศึกษาของAsafu-Adjaye เปนการศึกษาในภาพรวมเทานัน้ โดยมิไดพิจารณาในสวนของสาขาเศรษฐกจิที่อาจใหลักษณะความสัมพันธที่แตกตางไปจากการวิเคราะหในภาพรวม ดังนัน้ความแตกตางของงานวิจยันี้ คือ การพิจารณาแยกเปนสาขาเศรษฐกิจทีม่ีการบริโภคน้ํามันในสัดสวนที่สูงภายในประเทศไทยดวย

Fatai et al. (2004) ศึกษาแบบจําลองความสัมพันธเชิงเหตแุละผลระหวางการบริโภคพลังงานและผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ในนวิซีแลนด ออสเตรเลีย อินเดยี อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และไทย โดยการทดสอบไดใชการประยกุตการทดสอบเชิงเหตุและผล (Standard Granger causality) ,วิธีTY(TY approach)และ วิธีการADL (ADL approach) พบวา ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด อินเดียและอินโดนีเซีย มีความสัมพันธในทิศทางเดียวจากการบริโภคพลังงานขั้นสุดทายไปยังผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Unidirectional) ทั้งในภาคเศรษฐกิจรวม และแยกภาคการผลิต ไดแก ภาคอุตสาหกรรมและธรุกิจ ในขณะทีป่ระเทศไทยและฟลิปปนสกลับใหความสัมพันธเปนแบบสองทิศทาง (Bidirectional) และผลวิเคราะหที่ไดวา ใหผลลัพธที่แตกตางกันระหวางประเทศพัฒนาแลว เชน ออสเตรเลียและนวิซีแลนดมีการบริโภคพลังงานคอนขางต่ํา เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจประเทศที่กําลังพัฒนาอยางเอเชีย และประเทศแถบเอเชียจะมีการบริโภคพลังงานอยางเขมขนไปเพื่อการผลิตในภาคอุตสาหกรรมมากกวาประเทศนวิซีแลนดและออสเตรเลีย ที่กําหนดใหเปนกลุมประเทศที่พัฒนาแลวในงานศึกษานี้ และนโยบายการอนุรักษพลังงานในประเทศพัฒนาแลวอยางออสเตรเลียและนวิซีแลนด ไมมนีัยสําคัญที่กระทบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะที่ประเทศไทยและฟลิปปนส เมื่อรัฐบาลมีการนํา

Page 7: Chapter 2

16

นโยบายประหยัดพลังงานมาใช ปรากฏวามีนัยสําคัญทางสถิติที่กระทบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวาประเทศพฒันาแลว

ประโยชนที่ไดจากการตรวจเอกสารฉบับนี้ ทําใหทราบถึงทิศทางความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานและการเจรญิเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยตางมีผลกระทบตอกัน (Bidirectional) ที่ช้ีเปนนัยวานโยบายการอนุรักษพลังงานมีนัยสําคัญทางสถิติ ซ่ึงอาจสงผลทั้งดีและไมดตีอการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยที่มีการบริโภคพลังงานเขมขน(Energy intensive) โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมก็เปนได

จากงานวิจยัของ Asafy-Adjaye (2000) และFatai et al. (2004) ตางใหขอสรุปที่ตรงกันวาสําหรับประเทศไทย มีความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแบบสองทิศทาง(Bidirectional relationship) หรือตางมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน

Chien-Chiang Lee(2005) ศึกษาถึงความสมัพันธเชิงเหตแุละผล(Causality relationship)ระหวางการบริโภคพลังงานและผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศของ 18 ประเทศกําลังพัฒนารวมถึงไทยดวย สรุปวา การบริโภคน้ํามันจะมีผลตออัตราการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ และไดอางถึงผลงานวิจัยของ Masih and Masih (1988) ที่ไดใหผลสรุปในลักษณะเดยีวกัน โดยแบงการพิจารณาใหเปนการบริโภคพลังงานเปนแบบไมจํากัด กบัการจํากัดการบริโภคพลังงาน วาลักษณะใดจะมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวากัน ดงันั้น อัตราการบริโภคพลังงานถือเปนเครื่องชี้นําการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และหัวใจสําคญัในการพยุงเศรษฐกิจ กลาวคือการบริโภคพลังงานที่สูงขึ้นในระยะสั้นจะสงผลใหเศรษฐกิจในอนาคตสูงขึ้น ดังนัน้ถารัฐบาลใชนโยบายที่จํากัดการบริโภคน้ํามันแลว อาจสงผลเสียตอเศรษฐกิจได เนื่องจากการเขามาควบคุมแทรกแซงหรือบิดเบือนการใชพลังงานของรัฐบาล ทั้งในดานการจํากัดปริมาณการใชพลังงานหรือการกระทําของรัฐบาลใดๆ กต็ามที่ขัดกับตลาดแขงขันเสรีก็จะสงผลเสียตอเศรษฐกิจไดในระยะยาว เนื่องจากผลสรุปที่ไดจากการศึกษา แสดงใหเห็นวาเศรษฐกิจจะเจริญเติบโตได พลังงานก็เปนปจจัยหลักซึ่งถือวาเปนปจจยัทุนอีกชนิดหนึ่งที่เกื้อหนุนตอการเพิ่มกําลังผลิต ถารัฐบาลเขามาบิดเบือนธุรกิจที่ใชพลังงาน ซ่ึงเขาใจวาพลังงานมีไมจํากัดโดยไดคาดการณไวลวงหนาเพื่อวางแผนเพิ่มกาํลังการผลิตไปแลว แตเมือ่ถึงเวลาดังกลาวนั้น หากรัฐบาลกลับเขามาจํากัดใชปริมาณการใชน้ํามนั ดังกลาวยอมทําใหธุรกิจไดรับความเดือดรอนเมื่อไมมีพลังงานใชเพียงพอกับการผลิตไดตามเปาหมายที่วางไว ยอมอาจสงผลกระทบตออัตราการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจไดในระยะยาว

Page 8: Chapter 2

17

จากการตรวจเอกสารฉบับนี้ ทําใหทราบถึงทิศทางความสัมพันธวาการบริโภคพลังงานใน18 ประเทศกําลังพัฒนารวมทั้งประเทศไทยดวย การบริโภคน้ํามันจะมผีลตออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ หากรัฐบาลดําเนินนโยบายดานพลังงานเพือ่ลดการใชพลังงานยอมอาจกระทบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว ประกอบกับสถานการณพลังงานของประเทศไทยไดนํานโยบายลดใชพลังงานมาใช ถือวาเปนขอเสนอแนะทีน่าสนใจตอการประกอบการวิเคราะหเชิงพรรณนา ในสวนของการนํานโยบายดานพลังงานมาใช

Zou and Chau (2005) ศึกษาผลกระทบระหวางการบริโภคน้ํามันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะสั้นและระยะยาวในประเทศจีน ไดใชวธีิการทดสอบความสัมพันธเชิงเหตุและผลของแกรนเจอร (Granger causality tests)และใช Unit root ทดสอบความนิ่งของขอมูล (Stationary) จากนั้นจึงทดสอบดวยวิธีโค-อินทิเกรชั่น และ แบบจําลอง Error Correction (ECM)ในการวิเคราะหความสัมพันธดุลยภาพในระยะยาวและการปรับตัวในระยะสั้น โดยผลที่ไดจากการวิเคราะหดังกลาว จะใชเปนเครื่องบงชี้ถึงการบริโภคน้ํามันที่เปนปจจัยการผลิตอันมีประโยชนตอการนําไปใชในการพยากรณความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศจนีทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เนื่องจากชวงปที่ศึกษาเปนชวงปที่จีนเริ่มเปดประเทศ (Open economy) ผลที่ไดจากการศึกษา พบวา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิของจีนจะสงผลกระทบตอการบริโภคน้ํามันเพียงเล็กนอย แตการบริโภคน้ํามันกลับสงผลกระทบ (Great effect) ตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศจีนอยางยิ่ง โดยเฉพาะในภาคอตุสาหกรรม เนื่องจาก จนีจดัวาเปนประเทศหนึ่งที่ถูกใชเปนฐานการผลิตในภาคอตุสาหกรรมอยางมาก แตอยางไรก็ตามในการใชการบริโภคน้ํามันเพื่อใชเปนเครื่องพยากรณที่ช้ีถึงความเจริญเตบิโตทางเศรษฐกจิของประเทศจีนสามารถนํามาพยากรณความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดดีเฉพาะในระยะสั้น

จากการตรวจเอกสาร สามารถนําหลักการและขั้นตอนในการวิเคราะหความสัมพันธในระยะสั้นและระยะยาว ดวยเทคนิคในทางเศรษฐมิติ ดังกลาวมาประยกุตกับงานวิจัยนีด้วย โดยทีจ่ะแยกวิเคราะหเปนรายสาขาการผลิตที่ประเทศไทยมีการบริโภคน้ํามันเปนสัดสวนทีสู่ง ซ่ึงแตกตางจากงานของ Zou and Chau ที่ไมไดแสดงการวิเคราะหเปนรายสาขาการผลิต

Aqeel et al. (2001) ศึกษาความสัมพันธระหวางการบริโภคพลังงานและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศปากสีถาน ไดแยกวิเคราะหออกเปนรายสาขาการผลิตที่ใชพลังงานในกระบวนการผลิต จากการศึกษาทิศทางความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคพลังงานประกอบดวย ปโตรเลียม แกสและพลังงานไฟฟา กับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศ

Page 9: Chapter 2

18

ปากีสถาน โดยอาศัยการทดสอบความสัมพันธเชิงเหตแุละผลของเกรนเจอร(Granger causality) และเทคนิคโค- อินทิเกรชัน (Co- integration) เพื่อดูความเหมาะสมของสมการ โดยผลการศึกษาพบวา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เปนสาเหตุใหเกิดการบริโภคพลังงานโดยรวม โดยศึกษารายละเอียดแยกเปนประเภทของพลังงาน ช้ีใหเห็นวา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนําไปสูการบริโภคปโตรเลียมที่เติบโตขึ้น ในขณะทีก่ารบริโภคกาซและการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจตางไมมีความสัมพันธเชิงเหตุและผล และการบริโภคพลังงานไฟฟา นําไปสูการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจโดยไมมีผลสะทอนกลับ ทายที่สุด การบรโิภคพลังงานยงัเปนสาเหตุโดยตรงที่ทําใหเกิดการจางงาน ทําใหไดขอสังเกตจากการศึกษาในเรื่องนโยบายอนุรักษพลังงานวา นโยบายที่เนนในเรื่องการบริโภคปโตรเลียมไมอาจทําใหเกิดผลตอความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิได แตนโยบายการเติบโตดานพลังงานทีเ่นนกรณีการบริโภคแกส และพลังงานไฟฟา เมื่อนําไปปรับปรุงใหถูกทางแลว การเติบโตในสวนการบริโภคแกสและพลังงานไฟฟา จะเปนตัวที่เขาไปกระตุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดและยังทําใหเกดิการขยายโอกาสการจางงานในประเทศปากีสถานอีกดวย

จากการศึกษาทําใหไดขอสรุปที่นาสนใจวา นโยบายอนรัุกษพลังงานอาจไมเหมาะสมกับการบริโภคพลังงานบางชนิด เชน ปโตรเลียม ที่จะทําใหเศรษฐกิจเติบโต แตนโยบายพลังงานที่ปรับปรุงใหมใหเปนนโยบายที่เนนการเตบิโตในเรื่องการบริโภคพลังงานบางชนิดอาจใหผลตอความเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจที่สงผลตอไปยังโอกาสในการจางงานของประชาชนภายในประเทศที่มากขึ้นตามไปดวย ซ่ึงสามารถนํามาประยุกตประกอบการวิเคราะหเชิงพรรณนากับงานวจิัยนี้ได

จากงานวิจยัภายในประเทศ ทําใหทราบถึงสถานการณ โครงสรางการผลิต การบริโภคน้ํามันในภาพรวมและรายสาขาเศรษฐกิจของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนกระทั้งปจจบุัน ที่มีประโยชนกแกการนํามาใชประกอบการวเิคราะหเชิงพรรณนาได

สวนงานวิจยัตางประเทศ ทาํใหทราบถึงแนวทางและเทคนิควิธีวิเคราะหที่ใชในการ

วิเคราะหถึงผลกระทบและความสัมพันธอยางเปนเหตุเปนผล (Causality relationship) ดวยการทดสอบความนิ่งของขอมูลอนุกรมเวลา (Time series) ดวย Unit root test ตามวิธีการของ Dickey and Fullerในเบื้องตน จากนัน้จึงทําการศึกษาความสัมพนัธระยะยาวดวยวิธีโค- อินทีเกรชั่น (Co-ingration) วิเคราะหความสมัพันธเชิงเหตแุละผล ที่นิยมใชกันคือ วิธีของแกรนเจอร (Granger) และความสัมพันธที่มีการปรับตัวในระยะสั้นดวย Error correction model (ECM) ในการเขาสูภาวะดุลยภาพระยะยาว ตลอดจนไดทราบถึง นโยบายอนุรักษพลังงานที่อาจใหทัง้ผลดีและผลเสียตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดผานการวิเคราะหความสัมพนัธเชิงเหตแุละผล

Page 10: Chapter 2

19

แนวคิดทฤษฏี

ในการวิจัยคร้ังนี้ไดนําทฤษฎีและแนวคิดทางเศรษฐศาสตรมาประยุกตใชในการวิเคราะหประกอบดวย ทฤษฎีการผลิต ทฤษฎีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของสํานักนีโอคลาสสิค แนวคิดฟงกชันการผลิตค็อบ- ดักลาส (Cobb-Douglas Production function) และแนวคิดความกาวหนาทางดานเทคนคิ ทฤษฎีการผลติ (Theory of Production)

แนวคิดเก่ียวกับฟงกชนัการผลิตแบบคอบป-ดักลาส (Cobb – Douglas Production function)

แนวคดิเกีย่วกบัฟงกชันการผลิต (Production function) เปนแนวคิดทีแ่สดงถึงความสัมพันธระหวางปจจยัการผลิตกับผลผลิต สามารถนํามาวิเคราะหถึงที่มาของการเพิ่มผลผลิตในระบบเศรษฐกิจ หรือการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ฟงกชันการผลิตเปนการแสดงถึงความสัมพันธระหวางปริมาณผลผลิตที่มากที่สุดที่ผลิตไดจากปจจัยการผลิตชนิดตางๆ ที่ใชในการผลิตผลผลิตนั้น และยังแสดงถึงความสัมพันธระหวางปจจัยการผลิตชนดิตางๆนั้นดวย (รัตนา, 2544: 442)

ปจจัยทางเศรษฐกิจเปนปจจยัที่ทําใหเกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยสามารถอธิบายไดดวยความสัมพันธระหวางปริมาณผลผลิตกับปจจัยการผลิตที่แสดงอยูในรูปสมการทางคณิตศาสตร ดงันี้

Y = f (X1 ,X2,…,Xn)

โดยที่ Y เปนจํานวนผลผลิต และ Xi เปนปริมาณของปจจัยการผลิตชนิดตางๆที่ใชในการผลิตตั้งแตชนดิที่ i = 1,2,3,..., n

ดังนั้น ฟงกชันการผลิตจึงหมายถึง ความสัมพันธระหวางปริมาณปจจยัที่ใชในการผลิตกับผลผลิตที่ผลิตออกมาในชัว่ระยะเวลาหนึ่ง

Page 11: Chapter 2

20

ถากําหนดให

Y = f (X1 ,X2)

ความสัมพันธดังกลาวเปน กระบวนการผลิตซ่ึงผูประกอบการใชปจจัยผันแปรเพยีงสองอยาง คือ X1 ,X2 และใชปจจยัคงที่หนึ่งอยางหรือมากกวานั้นเพื่อที่จะผลิตผลผลิต(Y) ในฐานะที่เปนฟงกช่ันของปริมาณของปจจัยผันแปร(X1 ,X2)

ระดับของปจจยัการผลิตและผลผลิตนั้นจะเปนการหมุนเวยีน (Rate of flow) ตอหนวยของเวลา ระยะเวลาที่การหมุนเวียนของระดับปจจยัและผลผลิตที่กําหนดใหนีจ้ึงขึน้อยูกับขอจํากัดทั่วๆไป 3 ประการ (พงศักดิ์, 2546) กลาวคอื

1.ระยะเวลาสัน้อยางมากจนกระทั่งผูประกอบการไมสามารถเปลี่ยนระดับของปจจัยการผลิตซ่ึงคงที่ได

2.ระยะเวลาสัน้อยางพอเพยีงจนกระทัง่ไมสามารถจะเปลี่ยนแปลงรูปรางของฟงกชันการผลิตไปตามการปรับปรุงดานเทคนิคได

3. ระยะเวลานานพอที่จะเปดโอกาสใหกรรมวิธีทางดานเทคนิคที่จําเปนสําเร็จลุลวงไปได

สําหรับปจจัยการผลิตทางเศรษฐกิจ ที่ทําใหเกิดการเจรญิเติบโตทางเศรษฐกิจ ประกอบดวยปจจัยการผลิตชนิดตางๆ ที่แสดงอยูในรูปฟงกชันการผลิต (Production function) ดังนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532)

Q = f (K,L,R,E,T)

กําหนดให Q = ปริมาณผลผลิตในชวงระยะเวลาหนึ่งขึ้นอยูกับการใชปจจัยการผลิต

K = ทุน

L = แรงงาน

R = ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ

E = พลังงาน

Page 12: Chapter 2

21

T = เทคโนโลย ี

แบบจําลองที่รูจักกนัโดยทัว่ไป ไดแก ฟงกชันการผลิตคอบป- ดักลาส (The Cobb-Douglas production function : C-D)

มีรูปแบบทั่วไป ดังนี ้

bii X...b3

3Xb22Xb1

1AXY =

กําหนดให Y = ปริมาณของผลผลิต

X1, X2, X3 ,…, Xi = ปริมาณของปจจัยการผลิตชนิดที่ i = 1 ,2,3…n

A = คาคงที่

b1 ,b2, b3, …,bi = คาสัมประสิทธิ์การผลิตของปจจัย Xi หรือคาความยดืหยุนของผลผลิตจากปจจัย X1, X2, X3…, Xi

คุณสมบัติที่สําคัญของฟงกชันการผลิตชนิดคอบป- ดักลาส มีดังนี้

1. คาของพารามิเตอร b1 และ b2 ช้ีใหเหน็ถึง degree of homogeneity กลาวคือ ถา b1 + b2 > 1 จะแสดงผลตอบแทนตอขนาดเพิ่มขึ้น (increasing returns to scale) ถา b1 + b2 = 1 แสดงผลตอบแทนตอขนาดคงที่ (constant returns to scale) และถา b1 + b2 < 1 แสดงผลตอบแทนตอขนาดลดลง (decresing returns to scale)

2. ผลิตภาพเพิม่ (the marginal physical productivity) ของปจจัยจะเปนบวกเสมอ แตจะมีขนาดลดลง เมือ่ปริมาณของปจจัยเพิ่มขึ้น

3. อัตราการทดแทนกันของปจจัยสวนเพิ่ม (the marginal rate of substitution ) คือ2X1b1X2b

ดังนั้นจะไดคาความยืดหยุนแหงการทดแทนกันมีคาเทากับหนึ่ง

Page 13: Chapter 2

22

นอกจากนี้ ฟงกชันการผลิตชนิดนี้ ยังสามารถเขียนในรปูสมการเสนตรงไดโดยการแปลงคาลอการิทึมทั้งสองขางของสมการ (Dobble-Log Transfomation) เขียนไดดังนี ้

2211 lnlnlnln XbXbAY ++=

ซ่ึงเปนประโยชนในการประมาณคาดวยวิธีทางเศรษฐมิติ และคาคาดประมาณของ b1 และ b2 ดวยวิธีการดังกลาว จะใหความยืดหยุนของผลผลิตตอการใชปจจยัการผลิต เชน b1 คือ คาความยืดหยุนของผลผลิตตอปจจัยX1 b2คือ คาความยืดหยุนของผลผลิตตอปจจัยX2 ตามวิธีการ Growth Accounting ของ Solow

แนวคิดความกาวหนาทางดานเทคนิด ถากําหนดให X1และ X2 เปนปจจัยการผลิตประเภททนุและแรงงาน ตามลําดับ ความกาวหนาทางเทคนิค แบงออกได 3 ประเภท 1. ความกาวหนาทางดานเทคนิคที่เปนกลาง (Neutral Technical Progress) นั่นคือ Y = A(t)f(X1 ,X2) ในที่นี้ จะกําหนดใหความกาวหนาทางเทคนิคจะมีผลกระทบตอปจจยัการผลิตทั้งหลายเทากัน 2. ความกาวหนาทางดานเทคนิคที่เพิ่มพูนใหกับทนุ (Capital Augmenting Technical Progress) นั่นคือ Y = f [A(t)X1 ,X2] 3. ความกาวหนาทางดานเทคนิคที่เพิ่มพูนใหกับแรงงาน (Labor Augmenting Technical Progress) นั่นคือ Y = f [X1 , A(t)X2]

Page 14: Chapter 2

23

ในแตละประเภทของความกาวหนาทางดานเทคนิคจะมผีลทําใหการเคลื่อนยายฟงกชันการผลิตผลผลิตที่ไดมาจากสวนผสมของปจจัยการผลิตที่กําหนดใหจะเพิม่ขึ้นตลอดเวลา (ประเจดิ, 2527: 138) ในการศึกษาเกี่ยวกับความกาวหนาทางดานเทคนิคก็คือ การพิจารณาถงึอัตราการเจริญเติบโต (Rate of Growth) ของผลผลิตตลอดระยะเวลาจะมีมากกวาอัตราการเจริญเติบโตซึ่งพิจารณาไดวาเปนผลอันเนื่องมาจากการเพิม่ขึ้นของปจจยัการผลิต (Nicholson, 1978:214-216) สมมติวาฟงกช่ันการผลิต อยูในรูป Y = A(t)f(X1 ,X2) (1) ในที่นี้ X1 เปนปจจัยทนุ และ X2 เปนปจจัยแรงงาน และ A(t) ในฟงกชันการผลิตจะแสดงถึงปจจัยทุกชนิด (นอกเหนอืจากปจจยั X1และ X2) ซ่ึงจะเขามาเปนตัวกาํหนด Y การเปลี่ยนแปลงของ A ตลอดระยะเวลาจะแสดงถึงความกาวหนาทางเทคนิค หรือในการศึกษาครั้งนีจ้ะกําหนดใหเปนปจจยัน้ํามนั จึงแสดงในฐานะที่เปนฟงกชันของเวลา t โดยการดฟิเฟอเรนเชียลของสมการ(1) เทียบกับเวลา จะได ( ) [ ]

dtxxdfAxxf

dtdA

dtdY 21

21,, +⋅=

( ) ⎥⎦

⎤⎢⎣

⎡⋅

∂∂

+⋅∂∂

⋅+⋅=dt

dxxf

dtdx

xf

xxfY

tY

dtdA 2

2

1

121,

( ) ( ) dtdx

xxfx

f

dtdx

xxfx

f

Adt

dA

Ydt

dY2

21

21

21

1

,,⋅

∂∂

+⋅∂

+=

( ) ( ) 2

2

21

2

21

1

21

1

1 ,, xdt

dx

xxfx

xf

xdt

dx

xxfx

xf

Adt

dA

Ydt

dY⋅⋅

∂∂

+⋅⋅∂∂

+= (2)

Page 15: Chapter 2

24

( ) ( ) 2121

2

221

1

1 ,, xxAY Gxxf

xxfG

xxfx

xfGG ⋅⋅

∂∂

+⋅⋅∂∂

+=

Y

dtdY

GY = , Adt

dAGA =

( ) Y

xxY

xxfx

xf 1

121

1

1 .⋅

∂∂

=⋅∂∂ = ความยืดหยุนของผลผลิตเมื่อคํานึงถึง x1 หรือ EY,X1

( ) Y

xxY

xxfx

xf 2

221

2

2 .⋅

∂∂

=⋅∂∂ = ความยืดหยุนของผลผลิตเมื่อคํานึงถึง x1หรือ EY,X2

(3)

2211 ,, XxYXxYAY GEGEGG ++=

สมการ(3) จะแสดงใหเห็นวาอัตราการเจริญเติบโตของผลผลิตสามารถแบงออกเปนความเจริญเติบโตของผลผลิตอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงปจจัยการผลิต X1 ,X2 ( , )และความเจริญเติบโตของผลผลิตอันเนื่องมาจากปจจัยอ่ืนๆ ซ่ึงก็คอื การเปลี่ยนแปลงของ A ( )ถากําหนดการกะประมาณคาตางๆใหกับ E

1xG

2xG

AG

Y,X1,EY,X2 และอัตราการเจริญเตบิโตของ , และ

ผลลัพธที่ไดยอมแสดงอัตราการเจริญเติบโตของผลผลิตอันเปนผลจากความเจริญเตบิโตของปริมาณปจจยัการผลิตตางๆดังกลาว

AG1x

G

2xG

สําหรับตัวแปรอัตราการเจริญเติบโตของผลผลิตอันเนื่องมาจากปจจัยอ่ืนๆ( ) ตามที่ Solow ทําการศึกษาไว ไดถูกเรียกวา Residual growth หรือ Solow residual หรือสวนที่เหลือของความเจริญเตบิโตของปจจัยที่เหลือซ่ึงไมสามารถอธิบายไดดวยปจจัยการผลิตทั่วไป เชน ทุนและแรงงาน ซ่ึงตัวแปรดังกลาวไดถูกตีความหมายตางๆมากมาย ตามมุมมองของนักเศรษฐศาสตรสาขาตางๆ ในที่นี้จะยึดเอามุมมองSolow residualตามกลุมนักเศรษฐศาสตรพลังงานมาเปนหลักในการศึกษา ซ่ึงจะกลาวในหวัขอตอไป

AG

Page 16: Chapter 2

25

ทฤษฎีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Theories of Economic Growth) ทฤษฎีและแนวคิดทางเศรษฐศาสตรที่เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตหรือปจจัยตางๆในการพัฒนาเศรษฐกิจ และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

แบบจําลองความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิของ Solow (Solow Growth Model) สําหรับนักเศรษฐศาสตรนีโอคลาสสิคที่เขียนแบบจําลองความเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจภาคเศรษฐกิจเดียว (The Neoclassical one-sector model of growth)ที่นาสนใจ คือ Solow (1956) Solow ไดสรางทฤษฎีโดยอาศัยฟงกชันที่สําคัญ ไดแก ฟงกชันการผลิตเฉลี่ย และฟงกชันการออมเฉลี่ย และอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการลงทุนกับการออม ความสัมพันธของอัตราคาเสื่อมราคาและอัตราการเพิ่มขึน้ของประชากรที่มีตอการลงทุน ความสัมพันธระหวางการออมกับการเติบโตของอตัราสวนของทุนตอแรงงานและแนวคิดเกีย่วกับสภาวะความเจริญเติบโตที่ทรงตัว (Steady –state growth) โดยการปรับปรุงทฤษฎีการเจริญเติบโตของ Harod-Domar growth model ใหอัตราสวนทุนตอผลผลิต (Capital-output ratio) มีการผันแปรแทนที่จะคงที่ (ดิษฐวัฒน,2548) Solow ไดสรางแบบจําลองความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิภาคเศรษฐกจิเดียว โดยไมคํานึงถึงภาคการเงิน มีขอสมมติ สมการ และขอสรุปที่สําคัญ ดังนี้ ขอสมมติ ไดแก 1. ระบบเศรษฐกิจมีการผลิตสินคาทั้งประเทศเพียงสินคาชนิดเดยีว (One good economy)โดยไมแยกประเภทสินคาบรโิภคหรือสินคาทุน 2. สมการการผลิตเปนแบบ “Well behaved” production function คือ ทุนและแรงงานเปนปจจัยที่ทดแทนกันไดสมบูรณ

Page 17: Chapter 2

26

3. การผลิตเปนแบบ Constant return to scale คือ การเพิ่มขึ้นของปจจยัการผลิตทําใหไดผลผลิตในสัดสวนเดียวกนั βα LKY = โดยที่ βα , คือ คาความยืดหยุนของผลผลิตปจจัยทนุ และแรงงาน ตามลําดับ 4. การคาดการณเกีย่วกับอนาคตถูกตอง (Perfect foresight) และคาจาง ราคา ดอกเบี้ย มีความยืดหยุน (Flexible) 5. อัตราการเพิ่มของประชากรหรืออัตราการเพิ่มของแรงงานจะคงที่ และถูกกําหนดจากภายนอก โดยที่

LL∆ = n

6.มีจางงานเตม็ที่ในสวนของทุนและแรงงาน 7.ไมมีความกาวหนาทางเทคนิค

จากขอสมมติฐานดังกลาว สามารถแสดงการเจริญเติบโตจากฟงกชันการผลิต (Production function) ในแบบคอบป- ดักลาส (Cobb-Douglas function) ไดดังนี ้ βα LKY = (1) จากนั้นทาํการใสล็อกการิทึม (Take natural logarithm) ในฟงกชันการผลิต จะได LKY lnlnln βα += (2) ทําการหาอนุพนัธทางคณิตศาสตร (Differential) เทียบกับเวลาจะได

Page 18: Chapter 2

27

dt

Lddt

Kddt

Yd lnlnln βα += (3)

โดยที่

dtdY

YYYd

⋅=1ln

ทําใหอยูในรูปของการเปลี่ยนแปลงจะได YY

dtdY

∆==•

ดังนั้น YY

YY

dtYd ∆

==

ln (4)

ทํานองเดียวกนักับ dt

Yd ln ถาให

KK

KK

dtKd ∆

==

ln (5)

และ LL

LL

dtLd ∆

==

ln (6)

ทําการแทนคา (4) (5) และ(6) ในสมการที่ (3) จะได

LL

KK

YY

•••

+= βα

หรือ

LL

KK

YY ∆

+∆

=∆ βα (7)

แนวคิดความสัมพันธระหวางการบริโภคน้ํามันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ความสัมพันธระหวางการบริโภคน้ํามันและการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ ไดรับความสนใจจากนักเศรษฐศาสตรพลังงาน เพื่อพิสูจนสมมติฐานที่วา การบรโิภคน้ํามันเปนแหลงที่มาของความเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจอีกปจจยัหนึ่ง ทําใหวิธีวิเคราะหทางเศรษฐมิติถูกนาํมาใชเพื่อพิสูจน

Page 19: Chapter 2

28

สมมติฐานดังกลาวนี้ ปจจัยพลังงานและ/หรือน้ํามันไดถูกนํามาใชเปนปจจยัการผลิตอีกอันหนึ่งนอกเหนือจากปจจัยการผลิตพื้นฐานหลักๆ โดยทั่วไป คือ ปจจัยแรงงานและทุน ซ่ึงจะเห็นไดจากงานวิจยัดานเศรษฐศาสตรพลังงาน ไดแก งานวิจยัของ Lennart Hjalmarsson and Finn R. Forsund (1974) Kümmel and Lindenberger(2002) และChien-Chiang Lee (2005)

จากตัวแปร หรือSolow residualในสมการ(3) จากหัวขอแนวคิดความกาวหนาทางเทคนิคที่ไดกลาวมาแลวนัน้ Kümmel (1985,2002) และ Lindenberger (2002)ไดวิจารณถึงคา Solow residualที่เหลืออยูในแบบจําลองความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของนีโอคลาสสิคหรือSolow ไววา เมื่อเศรษฐกจิเจริญเติบโตในระยะยาว (Long term economic growth) คาสวนที่เหลืออยู (Solow residual) ที่มีขนาดใหญ นาจะมาจากปจจยัพลังงานหรือน้ํามันที่ไมไดถูกนํามาใชในการวิเคราะห ดังนั้นในบรรดาคาสวนที่เหลืออยู พลังงานหรือน้ํามันจงึนาจะเปนอีกปจจัยการผลิตขั้นตน ที่มีความสําคัญในฟงกชันการผลิตรวม (Aggregate production function) ที่ควรนําเขามารวมอธิบายในแบบจําลองความเจริญเติบโตของสํานักนโีอคลาสสิคดวย

AG

ดังนั้น ความหมายของตัวแปร ที่ถูกตีความหมายวาเปนปจจัยน้ํามัน จึงไมไดมี

ความหมายเฉพาะวาเปนปจจัยการผลิตในฟงกชันการผลิตเพียงอยางเดียว แตยังมีความหมายที่ครอบคลุมตามนิยามของSolow residual ที่มีความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจยัน้าํมันมาเกี่ยวของดวย เนื่องจากที่มาของความเจรญิเติบโตทางเศรษฐกิจตามแนวคิดของSolowนั้น มาจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิในระยะยาว นอกเหนือจากการบริโภคน้ํามันเพื่อกิจกรรมการผลิตเพียงอยางเดยีว เมื่อระยะเวลาผานไปยอมมเีทคโนโลยี นวัตกรรมตางๆที่แฝงมากับการบริโภคน้ํามันเพื่อการผลิต หรือประสิทธิภาพที่เกดิจากการบริโภคน้ํามันในภาคการผลิตรวมอยูดวย

AG

จากการศึกษาผลงานที่เกี่ยวของ สามารถสรางแบบจําลองที่เหมาะสมได โดยอาศยัแนวคิดของนักเศรษฐศาสตรสํานักนีโอคลาสสิคเกี่ยวกับแบบจาํลองความเจรญิเติบโต เปนพื้นฐานในการศึกษา โดยสรางฟงกชันผลผลิตรวม (Aggregate Production Function:Y) ซ่ึงขึ้นอยูกับ ปจจยัการผลิต เชน ทุน (K) แรงงาน(L) ตัวแปรที่แสดงถึงผลิตภาพของปจจัยการผลติรวม (Total Factor Productivity:TFP) และตวัแปรอื่นๆ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติซ่ึงก็คือ น้ํามัน(E)

Page 20: Chapter 2

29

การนําปจจยัน้าํมัน เขามาพิจารณาในฟงกชันการผลิตแบบคอบป-ดักลาส สามารถพบไดจากงานวิจยัของ R.U. Ayres and B.Warr (2005), Kümmel and Linderberger (2002) และL.Hjalmarsson et.al. (1974) เปนตน สามารถนํามาประยกุตเขากับการศึกษา ไดดังนี ้

Y = AK b1L b2 E b3 ; A = คาคงที่ (1) เมื่อใส Naturul logatithm และทําการ Differentiate เทียบกับเวลา จะได

YdY = A

dA + 1b KdK + 2b L

dL + 3b EdE (2)

จากสมการที่ (2) เปนแบบจําลองที่มีอัตราการเจริญเติบโตของทุน แรงงาน และพลังงาน

น้ํามัน เปนตวักําหนดอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ เพื่อใหสอดคลองกับขอมูลที่นํามาใชในการวิเคราะหและไดใชสมมติฐานของHick ที่ใหการกาวหนาของเทคโนโลยีเปนแบบที่เปนกลาง (Hick Neutral Technology Progress) (Kümmel (1985, 2002) ทําใหคาคงที่ในแบบจําลองแสดงถึงคาประมาณของคาเฉลี่ยของความกาวหนาทางเทคโนโลยีในแตละป (Annual Average Technological) แนวคดินี้ ไดปรับสมการการผลิตแบบคอบป- ดักลาส (Cobb-Douglas)ใหอยูในรูปฟงกชันการผลิตรวม (Aggregate Production function) แทน (Lindenberger,2002)

ความสัมพันธดังกลาวขางตน สามารถนํามาเขียนในรูปของสมการคณิตศาสตร ไดดังนี ้ Y = f (K, L, E, t) (3) โดยที่ Y คือ ปริมาณผลผลิตรวมในประเทศ K คือ ปจจัยทนุที่ใชในการผลิต L คือ ปจจัยแรงงานที่ใชในการผลิต E คือ ตัวแปรอื่นๆที่มีผลกระทบตอผลผลิต ในที่นี้ กําหนดใหเปนปจจัยน้ํามนัที่ใชในภาคการผลิต t คือ เวลาที่ t

Page 21: Chapter 2

30

ปรับใหอยูในรูปของการเปลี่ยนแปลง

dtdY

=

dtdK

KY

∂∂ +

dt

dLLY∂∂ +

dt

dEEY∂∂ + t

Y∂∂ (4)

จัดรูปใหม จะได

YdY = b0+ 1b K

dK + 2b LdL + 3b E

dE (5)

หรือ จัดใหอยูในรูปอัตราการเจริญเติบโต

YG = 0b + + +K1 L2 E3Gb Gb Gb (6)

โดยที ่

= อัตราความเจรญิเติบโตของผลผลิตหรือผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศเบื้องตน หรือ การเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ

YG

= อัตราความเจรญิเติบโตของปจจัยทนุ หรือการขยายตวัของปจจัย ทุน

KG

= อัตราความเจรญิเติบโตของปจจัยแรงงาน หรือการขยายตัวของ ปจจัยแรงงาน

LG

= อัตราความเจรญิเติบโตของปจจัยน้ํามัน หรือ การเจริญเติบโต ในการบริโภคน้ํามันเพื่อการผลิต

EG

b1, b2, b3 = คาสัมประสิทธิ์ของปจจัยการผลิตหรือ ความยืดหยุนของผลผลิต ตอปจจัยทนุ ปจจัยแรงงานและการบริโภคน้ํามันเพื่อการผลิต (Elasitcity of output with respect to inputs) ตามลําดับ

0b = คาคงที่

Page 22: Chapter 2

31

ดังนั้น ความสัมพันธ ที่แสดงในสมการที่ (6) จะถูกนําไปประยุกตใชเพือ่วิเคราะหความสัมพันธระหวางการบริโภคน้ํามันในสาขาเศรษฐกิจที่สําคัญและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

แนวคิดแบบจําลองสําหรับการวิเคราะหความสัมพันธเชงิเหตุและผล (Causality relationship)

การวิเคราะหในรูปแบบสมการถดถอยในแบบจําลองสมการการผลิตรวมสามารถวัดระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรในสมการถดถอย แตไมสามารถบอกถึงทิศทางความสัมพันธระหวางการเจริญเติบโตของการบริโภคน้ํามันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจหรือช้ีความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางตัวแปรดังกลาว

การหาทิศทางความสัมพันธเชิงเหตุและผลตามวิธีของGranger เปนแนวทางที่ชวยในการตรวจสอบอิทธิพลที่ตัวแปรตางๆมีตอกันและกัน โดยทดสอบวากลุมคาในอดีต (Lagged Values) ของตัวแปรภายใน (Endogenous)ตางๆ จะมีความสามารถในการอธิบายพฤติกรรมของตัวแปรEndogenous อยางมีนัยสําคัญหรือไม

การกําหนดคาํจํากัดความของ Causality นี้ Granger (1980) เห็นวาควรจะเปนคําจํากัดความที่สามารถใชในการทดสอบ หรือใชในทางปฏิบัติได ซ่ึงในงานของ Granger ไดกําหนดคาคําจํากัดความของ Causality (กนกวรรณ, 2544) ไวโดยมีรายละเอียดดังนี ้

กําหนดให Xt , Yt เปนตัวแปรที่ตองการศึกษา โดยที ่ 1) tt YX , เปนขอมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) ในอดีตของ X และ Y ตามลําดับ 2) tt YX , เปนขอมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) ในอดีตและปจจุบันของ X และ Y ตามลําดับ 3) ( ZX t

2σ ) เปนคาความแปรปรวนนอยที่สุด (Minimum Mean Square Error) ของ Xt

เมื่อกําหนดคา Z คือ คาของ tX และ / หรือ tY Granger จะเลือกวิธีการคํานวณทีจ่ะทําใหไดคาความแปรปรวน หรือความผิดพลาดจากการพยากรณนอยที่สุด หรือเรียกวาใชหลักความสามารถในการพยากรณ (Predictability) เปนตัวกําหนด Causality ระหวางตัวแปร

Page 23: Chapter 2

32

รูปแบบของ Causality รูปแบบของ Causality ที่อาจจะเกิดขึน้ มีดังนี ้ 1. Y cause X หรือ Y มีอิทธิพลตอ X ถา ( )ttt YXY ,2σ < ( )tt XX2σ นั่นคือ การ

เพิ่มขอมูลในอดีตของ Y ในสมการถดถอย X จะทําใหความผิดพลาดของการพยากรณลดลง

2. Y cause X ในลักษณะของ Instantaneously หรือ Y มีอิทธิพลตอ X ภายในชวงเวลานั้น ถา ⎟

⎠⎞⎜

⎝⎛

ttt YXX ,2σ < ( )ttt YXX ,2σ นั่นคือ การเพิ่มขอมูลในปจจุบันของ Y เขาไปจะ

สามารถพยากรณคา X ไดดกีวา ซ่ึงคําจํากัดความทั้ง 2 ขอขางตน สามารถใชในการเปลี่ยนการอธิบายโดยให X cause Y หรือ X มีอิทธิพลตอ Y ได 3. ความสัมพันธสะทอนกลับ (Feedback relationship) เกิดขึ้นถา X cause Y และ Y cause X นั่นคือ ( )ttt YXX ,2σ < ( )tt XX2σ และ ( )ttt XYY ,2σ < ( )tt YY2σ 4. X และ Y เปนอิสระตอกนั (Independent) ถา ⎟

⎠⎞⎜

⎝⎛

ttt YXX ,2σ = ( )ttt YXX ,2σ = ( )tt XX2σ

⎠⎞⎜

⎝⎛

ttt XYY ,2σ = ( )ttt XYY ,2σ = ( )tt YY2σ

ดังนั้นรูปแบบความสัมพันธเชิงเหตุและผล ที่สามารถเกิดไดจึงมีดังนี ้

1) X และ Y ตางเปนอิสระจากกนั (Independent) หรือไมเปนสาเหตุซ่ึงกันและกัน(Non Causality between X and Y)

2) X เปนสาเหตุของ Y (Unidirectional Causality from X to Y)

Page 24: Chapter 2

33

3) Y เปนสาเหตุของ X (Unidirectional Causality from Y to X)

4) X และ Y ตางเปนสาเหตุซ่ึงกันและกนั (Bidirectional Causality หรือ Feedback X and Y)

เนื่องจากการทดสอบสมมติฐานจะเกีย่วของกับสัมประสิทธิ์มากกวา 1 ตัว ดังนัน้ จะใชตวัสถิติ F ในการทดสอบ

( )( ) knq

UR FknSSE

qSSESSEF −≈

−−

= ,//

โดย คือ Sum of Squared Errors ของ Restricted Model RSSE

คือ Sum of Squared Errors ของ Unrestricted Model USSE

q คือ จํานวนของParameter Restrictions

n คือ จํานวน Observations

k คือ จํานวน Parameters ที่ถูกประมาณคาใน Unrestricted Model

ในการศึกษาครั้งนี้ จะพจิารณาวิธีทดสอบ Causality 2 วธีิ ไดแก วิธีแบบจําลองการปรับตัวในระยะสั้นเพือ่เขาสูดุลยภาพระยะยาว (Error Correction Model: ECM) ในกรณทีีพ่บวาตวัแปร2 ตัวมีความสัมพันธในระยะยาวตอกัน (Cointegrated) และในกรณีที่ไมพบวามCีointegrated สามารถเลือกใชวิธีการ Granger Causality ในการทดสอบ ซ่ึงจะกลาวถึงรายละเอียดตอไปในบทที่ 4

วิธีการวิจัย

ในบทนี้เปนการแสดงถึง ลักษณะและแหลงที่มาของขอมูลวิธีการที่ใชในการวิเคราะหขอมูลตลอดจนแนวทางในการสรางแบบจําลองที่จะใชในการวิจัยเมื่ออาศัยวิธีทางเศรษฐมิติมาเกี่ยวของ

Page 25: Chapter 2

34

ขั้นตอนในการวิจัย

ขั้นตอนในการวิจัยสามารถแบงออกเปน 2 ขั้นตอนดวยกัน ดังนี ้

1. การเก็บรวบรวมขอมูล ขอมูลที่ใชในการศึกษาเปนขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ลักษณะเปนขอมูลอนุกรมเวลา (Time series data) ในชวงป พ.ศ. 2513- 2547 ครอบคลุม 35 ป ไดแก ขอมูลเกีย่วกับผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเบื้องตน สต็อคทุน (Capital stock) จํานวนแรงงาน และ ปริมาณการบริโภคน้ํามัน ทั้งในภาพรวมและสาขาเศรษฐกิจ จะทําการเก็บรวบรวมจากแหลงตางๆ ดังนี้

1. สํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ2. สํานักงานสถิติแหงชาต ิ3. ธนาคารแหงประเทศไทย 4. กรมธุรกิจพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

นอกจากนี้ยังไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงอ่ืนๆ อาทิ วารสาร บทความและเอกสารงานวิจยัที่ไดมีผูศึกษาไว ตลอดจนเวบไซตที่มีการเก็บสถิติดานพลังงาน เพื่อประกอบการวิจัยในครั้งนี ้

2. วิธีการวิเคราะหขอมูล ประกอบดวยการวิเคราะห ใน 2 ลักษณะ กลาวคือ

2.1 การวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Method) เปนการนําขอมูลมารวบรวมประกอบการศกึษา โครงสรางการบริโภคน้าํมันทั้งในภาคเศรษฐกิจรวมและแยกภาคเศรษฐกิจรายสาขาที่มีการบริโภคน้ํามันในสัดสวนที่สูง ไดแก สาขาคมนาคมขนสงและอุตสาหกรรม ดวยตารางและแผนภาพ ซ่ึงเกี่ยวกับสภาพการผลิต และวิกฤติการณน้ํามันตางๆที่กอใหเกิดปญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ อันนาํไปสูการออกนโยบายดานพลังงานตางๆเพื่อแกปญหา ตลอดจนนําผล

Page 26: Chapter 2

35

ที่ไดจากการศกึษาเชิงปริมาณมาประยุกตเขากับแนวคิด ทฤษฏีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของSolow เพื่ออธิบายใหทราบถงึผลของการบริโภคน้ํามันตอความเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ

2.2 การวิเคราะหเชิงปรมิาณ (Quantitative Method) โดยใชวิธีการของสมการถดถอย (Regression Analysis) เพื่อตอบวัตถุประสงคในการวิจัยขอที่ 2 โดยจะแบงการทดสอบเปน 2 สวน คือ

2.2.1 การทดสอบความนิ่งของขอมูล (Stationary) ดวยการทดสอบ Unit root ตามดวยการพิจารณาความสัมพนัธเชิงดุลยภาพในระยะยาวและระยะสั้น ดวยวิธีโค- อินทิเกรชั่น (Co-integration) และสรางแบบจาํลอง Error correction model (ECM) การปรับตัวในระยะสั้นเขาสูดุลยภาพระยะยาว เมื่อทราบถึงความสัมพันธในระยะยาวของตัวแปรดังกลาวแลว โดยนําไปประยกุตใชหาความสัมพนัธเชิงเหตแุละผลตอไป ตามลําดับ

2.2.2 การทดสอบความสัมพันธเชงิเหตุและผล (Causality test) ตามวิธีการของ

Engle and Granger, วิเคราะห Variance Decomposition และImpulse Response Functions โดยลําดับ เพื่อใหทราบถึงทิศทางความสัมพันธระหวางการเจริญเติบโตของการบริโภคน้าํมันและการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเบื้องตนซึ่งเปนตัวสะทอนความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ วามผีลในแบบทิศทางเดียว (Unidirectional causality) หรือแบบสองทิศทาง (Bidirectional causality) ตลอดจนไดทราบถึงขนาดอิทธิพลและแนวโนมทิศทางเมือ่เกิดความผันผวนขึ้นระหวางการเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจและการบริโภคน้ํามันจากผลวิเคราะหดังกลาว

แบบจําลองที่ใชในการวิจัย

จากการศึกษาแนวคดิ ทฤษฎีและผลงานที่เกี่ยวของ สามารถนํามาสรางแบบจําลองทางเศรษฐมิติเพื่อใชในการวิจยั โดยอาศัยแนวคิดของนักเศรษฐศาสตรสํานักนีโอคลาสสิคเกี่ยวกับแบบจําลองความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิของ Solow เปนพื้นฐานในการศึกษา ดวยฟงกชันผลผลิตรวมของประเทศ (Aggregate Production Function: Y) ที่ขึ้นอยูกับ ปจจยัการผลิต ดังตอไปนี้ คือ ทุน (K) แรงงาน (L) และ ปจจัยน้ํามัน (E) ในที่นี้ปจจัยน้าํมัน ถือวาเปนตัวแปร Residual Growth หรือ Solow Residual ตามมุมมองของนักเศรษฐศาสตรพลังงาน ที่เชื่อวาเปนที่มาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทีไ่มสามารถอธิบายไดดวยปจจัยทนุ และแรงงาน

Page 27: Chapter 2

36

1. แบบจําลองความสัมพันธสมการการผลิตรวมในรูปอัตราการเจริญเติบโต

ในการศึกษาครั้งนี้ มุงที่จะศกึษาถึงความสมัพันธระหวางปจจัยน้ํามันกับผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศเบื้องตน หรือการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ นอกเหนอืจากปจจยัการผลิตพื้นฐานหลักๆ โดยทั่วไป คือ ปจจัยทุน และแรงงาน โดยจะพจิารณาความสมัพันธระหวางอัตราการเจริญเติบโตของปจจัยการผลิตทั้งสามชนิดที่มีตอความเจริญเตบิโตในภาคเศรษฐกิจรวมและรายสาขาเศรษฐกิจ ไดแก สาขาคมนาคมขนสงและ อุตสาหกรรม

ดังนั้น ฟงกชันการผลิตแบบคอบป-ดักลาส ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คอื Yit = AKit b1Lit b2 Eit

b3eu (1)

โดยกําหนดให Yit = ผลผลิตสาขาเศรษฐกิจที่ i

(โดยที่ i = 1, 2, 3 และกําหนดให 1 คือ ระดับภาคเศรษฐกิจรวมหรือระดับประเทศ,

2 คือ สาขาคมนาคมขนสง, 3 คือ สาขาอุตสาหกรรม) Kit = ปจจัยทนุสาขาเศรษฐกิจที่ i Lit = ปจจัยแรงงานสาขาเศรษฐกจิที่ i Eit = ปจจัยน้ํามันสาขาเศรษฐกิจที่ i b1, b2, b3 = คาสัมประสิทธิ์ของปจจัยการผลิตในสาขาเศรษฐกิจที่ i A = คาคงที่ e = คาคงที่ออยเลอร (Euler’s constant) u = คาความคลาดเคลื่อน t = เวลาที่ t

แปลงสมการการผลิตแบบ Cobb-Douglasใหอยูในรูปสมการการผลิตรวม (Aggregate Production function) และเขยีนใหอยูในรปูแบบจําลองการเจริญเติบโต โดยแบงศกึษาออกเปนสาขาเศรษฐกจิตางๆ ดังนี ้

itYG = 0b +itKG1b +

itLG2b + itEG3b + µ (2)

Page 28: Chapter 2

37

เมื่อ

iYG = อัตราความเจรญิเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมหรือการเจริญเติบโตทาง

เศรษฐกิจภายในประเทศสาขาเศรษฐกิจที่ i

iKG = อัตราความเจรญิเติบโตของปจจัยทนุหรือการขยายตวัของปจจัย

ทุน ในสาขาเศรษฐกิจที่ i

iLG = อัตราความเจรญิเติบโตของปจจัยแรงงานหรือการขยายตัวของ

ปจจัยแรงงาน ในสาขาเศรษฐกิจที่ i

iEG = อัตราความเจรญิเติบโตของปจจัยน้ํามัน หรือการเจริญเติบโต

ในการบริโภคน้ํามันเพื่อการผลิต ในสาขาเศรษฐกิจที่ i

1b , 2b และ 3b = คาความยืดหยุนผลผลิตตอปจจัยทนุปจจยัแรงงานและการบริโภคน้ํามัน เพื่อการผลิต(Elasitcity of output with respect to inputs) ตามลําดับ

0b = คาคงที่ (Constant term)

µ = คาความคลาดเคลื่อน (Error term)

t = เวลาที่ t

2. แบบจําลองสําหรับการวเิคราะหความสัมพันธเชิงเหตุและผล (Causality relationship)

รูปแบบความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการเจริญเตบิโตของการบริโภคน้ํามันและความเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได 4 แนวทาง คือ

1. การเจริญเตบิโตในการบรโิภคน้ํามันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเปนอิสระตอกัน

2. การเจริญเตบิโตในการบรโิภคน้ํามันมีผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

3. การเจริญเตบิโตทางเศรษฐกิจมีผลตอการเจริญเติบโตในการบริโภคน้ํามัน

Page 29: Chapter 2

38

4. การเจริญเตบิโตในการบรโิภคน้ํามันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจตางมีผลกระทบตอกัน

การนําวิธีของ Granger มาใชในการศึกษาความสัมพันธเชงิเหตุและผลระหวางการเจริญเติบโตในการบริโภคน้ํามันกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จากขอมูลอนุกรมเวลาของตัวแปรทั้งสองตัว สามารถหาขอสรุปไดจากการทดสอบสมมติฐานหลัก 2 สมมติฐาน คือ

1) การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมีผลตอการเจริญเติบโตในการบริโภคน้ํามัน

สามารถทดสอบไดจากสมการ

(1) t

n

jjtYj

m

iitEitE GGaG 1

111 µβα +++= ∑∑

=−

=−

2) การเจริญเติบโตในการบริโภคน้ํามันมีผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

สามารถทดสอบไดจากสมการ

(2) t

l

jitEi

k

jjtYjtY GGbG 1

111 ωλγ +++= ∑∑

=−

=−

กําหนดให

EtG = การเจริญเติบโตในการบรโิภคน้ํามัน ณ เวลาปจจุบัน (t)

YtG = การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ณ เวลาปจจุบัน (t)

itEG − = การเจริญเติบโตในการบรโิภคน้ํามันในอดีต (t-1) เมื่อ i =1,2,3,…,m ใน สมการที่ (1) และ i = 1,2,3,…,l ในสมการที่ (2)

jtYG − = การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในอดีต(t-j) เมื่อ j =1,2,3,…,n ในสมการที่ (1) และ j = 1,2,3,…,k ในสมการที่ (2)

1a , = คาคงที่ 1b

Page 30: Chapter 2

39

t1µ , t1ω = คาความคลาดเคลื่อน (Error term)

iα = คาสัมประสิทธิ์ในการเจรญิเติบโตในการบริโภคน้ํามันในอดตี

เมื่อ i =1,2,3,…,m

jβ = คาสัมประสิทธิ์ของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในอดีต เมื่อ j = 1,2,3,…,n

jγ = คาสัมประสิทธิ์ของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในอดีต เมื่อ j = 1,2,3,…,k

iλ = คาสัมประสิทธิ์ในการเจรญิเติบโตในการบริโภคน้ํามันในอดตี เมื่อ i =1,2,3,…,l สําหรับการทดสอบความสัมพันธเชิงเหตแุละผลระหวางตัวแปรการเจริญเติบโตในการบริโภคน้ํามัน( ) และการเจรญิเติบโตทางเศรษฐกิจ( ) ตามรูปแบบของGranger เราสามารถนําขอมูลการบริโภคน้ํามัน และผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาคงที่ ป พ.ศ. 2531 ซ่ึงอยูในรูปอัตราการเจริญเติบโต (Growth form) มาใชเปนตัวแปรเพื่อทดสอบความสัมพันธเชิงเหตแุละผลในเชิงประจักษแทนได เนื่องจาก Gujarati (2003: 697) ไดอธิบายไววาตวัแปรทีใ่ชในการศึกษาความสัมพันธเชิงเหตุและผล (Granger causality test) สามารถใชตัวแปรที่อยูในรูปของ Growth form ได เมื่อตวัแปรที่ใชในการศึกษามีมูลคาของตัวมันเองในเวลากอนหนา

EtG YtG

ดวยเหตุผลดังกลาว ในการพิจารณาความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางการบริโภคน้ํามันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีรูปแบบสมการที่มาจากแบบจําลองความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของนีโอคลาสสิคหรือ Solow ซ่ึงเปนลักษณะขอมูลอนุกรมเวลา (Time series) จึงสามารถนําตัวแปรในรปูของ Growth form มาใชในการศึกษาความสัมพันธดังกลาวได