18
ภาษามือ : ภาษาของคนหูหนวก ราษฎร บุญญา 1 E-mail : [email protected] บทคัดยอ บทความนี้ประสงคจะอธิบายใหผูอานเขาใจคํานิยาม คนหูหนวก” (Deaf และ deaf) ในมุมมองทาง การแพทยและสังคม และเขาใจคํานิยาม ภาษามือวาเปนภาษาแมของคนหูหนวกรวมถึง ทราบความ แตกตางของภาษามือของประเทศตางๆ รูปแบบการใชภาษามือในประเทศไทย ซึ่งไดแก ภาษาทาทาง ภาษา มือครอบครัว ภาษามือตามไวยากรณภาษาไทย และภาษามือไทย ตลอดจนความหลายหลากของภาษามือ ไทยที่เกิดจากการใชที่แตกตางกันตามปจจัย อาณาบริเวณ เพศ และอายุ ความแตกตางเหลานี้กอใหเกิด ปญหาการใชภาษามือไทยมากกวาการใชภาษาพูดไทย และอาจมากกวาภาษามือในตางประเทศ อยางไรก็ดี ปญหาเหลานี้สามารถปรับปรุงและแกไขไดโดยการผลักดันเปนนโยบายของรัฐบาลใหทุกองคกรที่เกี่ยวของ สนับสนุนใหเด็กหูหนวก พอแม ผูปกครอง และลามภาษามือใชภาษามือไทยอยางถูกตอง คําสําคัญ : ภาษา ภาษามือ ภาษาศาสตรภาษามือ คนหูหนวก -------------------------------------------------------------------------- 1 อาจารยประจํา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล วารสารวิทยาลัยราชสุดา ที4 ฉบับที1 หนา 77

E-mail : [email protected] ” (Deaf deaf) · E-mail : [email protected] Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ภาษามือ : ภาษาของคนหูหนวก

ราษฎร บุญญา1

E-mail : [email protected]

บทคัดยอ บทความนี้ประสงคจะอธิบายใหผูอานเขาใจคํานิยาม “คนหูหนวก” (Deaf และ deaf) ในมุมมองทาง

การแพทยและสังคม และเขาใจคํานิยาม “ภาษามือ” วาเปนภาษาแมของคนหูหนวกรวมถึง ทราบความแตกตางของภาษามือของประเทศตางๆ รูปแบบการใชภาษามือในประเทศไทย ซ่ึงไดแก ภาษาทาทาง ภาษามือครอบครัว ภาษามือตามไวยากรณภาษาไทย และภาษามือไทย ตลอดจนความหลายหลากของภาษามือไทยที่เกิดจากการใชที่แตกตางกันตามปจจัย อาณาบริเวณ เพศ และอายุ ความแตกตางเหลานี้กอใหเกิดปญหาการใชภาษามือไทยมากกวาการใชภาษาพูดไทย และอาจมากกวาภาษามือในตางประเทศ อยางไรก็ดี ปญหาเหลานี้สามารถปรับปรุงและแกไขไดโดยการผลักดันเปนนโยบายของรัฐบาลใหทุกองคกรที่เกี่ยวของสนับสนุนใหเด็กหูหนวก พอแม ผูปกครอง และลามภาษามือใชภาษามือไทยอยางถูกตอง คําสําคัญ : ภาษา ภาษามือ ภาษาศาสตรภาษามือ คนหูหนวก -------------------------------------------------------------------------- 1 อาจารยประจํา วทิยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 77

Page 2: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

Sign Language: Language of the Deaf

Ras boonya E-mail : [email protected]

Abstract

This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical and social views; also to describe that “sign language” is the Deaf mother tongue. It also describes the differences of foreign sign languages and the use of sign languages in Thailand including gesture, Home Sign, Sign Thai (sign as Thai speaking language) and Thai Sign Language; and the variation of Thai Sign Language which is used differently according to regional, gender and age factors. These differences caused the problems for Thai Sign Language more than spoken languages and maybe more than the foreign sign languages. However these problems can be improved and solved by pushing forward to establish the government policy and every organization concerned to encourage the Deaf children, parents, and interpreters to use Thai Sign Language correctly. Keywords : Language, Sign Language, Sign Language Linguistics, Deaf / deaf

หนา 78 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 3: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

1. บทนํา คนพิการแตละประเภทประสบปญหาความ

ยากลําบาก อันเนื่องมาจากความพิการที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับความสูญเสียที่เกิดขึ้น คนพิการทางการมองเห็นขาดการมองเห็นภาพ ไมสามารถบอกรูปราง ลักษณะและสีได คนพิการทางกาย ที่ขาหรือแขนขาด ไมสามารถใชขาหรือแขนในการเดินหรือยกของหนักไดอยางสะดวก คนพิการทางการไดยิน หรือ “คนหูหนวก” ขาด การรับรูที่ตองใชหูรับฟง อยางไรก็ตามในสภาวะแหงความเปนมนุษย คนพิการยังสามารถดําเนินชีวิต ทําความดี และทําประโยชนใหแกสังคมไดเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป โดยการใชส่ิงอื่นทดแทนสวนที่ขาดหายไป ดังเชน คนหูหนวกใชภาษามือในการสื่อสารแทนการพูดของคนทั่วไป บทความนี้มีประสงคใหผูอานไดเขาใจคํานิยาม “คนหูหนวก” และ “ภาษามือ” ประเภทของภาษามือ ภาษามือไทยในสังคมไทย ปญหาการใชภาษามือในประเทศไทย บทสรุปและขอเสนอแนะ 2. คํานิยาม ‘คนหูหนวก’ และ ‘ภาษามือ

คํานิยาม “คนหูหนวก” ในมุมมองทางการแพทยและสังคม James Woodward (1996) ไดแยกอธิบายคําวา “คนหูหนวก” ในภาษาอังกฤษออกเปน 2 คํา คือ Deaf ที่มีตัวอักษรตัวใหญ “D” และ deaf ที่มีตัวอักษรตัวเล็ก “d” คํานิยามทั้งสองคํ า ในภาษาอั งกฤษมีความหมายแตกต า งกัน(Woodward, 1975 cf. Padden, 1980 : 90) Deaf หมายถึง คนหูหนวกที่มีวัฒนธรรมคนหูหนวก มี

ภาษามือที่เปนภาษาของคนหูหนวกเหมือนภาษาพูดของคนที่มีการไดยิน สวน deaf หมายถึง คนหูหนวกที่ไมมีวัฒนธรรมคนหูหนวก ใชภาษาพูดที่ไดรับการฝกพูดจากแพทย หรือผูที่รักษาดานความผิดปกติของการไดยิน และสนับสนุนใหคนหูหนวกใชเครื่องชวยฟง ฝกพูดหรือผาตัดเพื่อรักษาความพิการทางการไดยิน ใหใชประสาทหูเทียม ในขณะที่คนหูหนวกที่มีวัฒนธรรมหูหนวก จะไดรับการสนับสนุนใหเรียนภาษามือเปนภาษาแรกของคนหูหนวกและเรียนวัฒนธรรมของคนหูหนวก Senghas และ Monaghan (2002 : 72) ไดเปรียบเทียบความแตกตางของคํานิยาม Deaf/deaf วาเหมือนกับคํานิยาม Hearing/hearing Hearing หมายถึง คนที่มีการไดยินที่อยูในสังคมและวัฒนธรรมปกติ สวน hearing หมายถึง คนที่มีการไดยินที่มีปญหาทางการไดยิน

คํานิยามของ “ภาษามือ” นักภาษาศาสตรและนักมานุษยวิทยาไดใหความหมายไววา “ภาษามือเปนภาษาของชุมชนคนหูหนวก เปนภาษาที่มีระบบทาทางการเคลื่อนไหวรางกาย สีหนา ทามือ และตําแหนงตาง ๆ ของรางกาย” (Stokoe 1960; Brennan, 1992; Liddell, 1980) ภาษามือเปนการแสดงท ามื อ เหมื อนกับการมองภาพสามมิ ติ (LeMaster & Monaghan, 2004 :141) William C. Stokoe นักภาษาศาสตรภาษามือไดจัดทําพจนานุกรมภาษามืออเมริกันเปนฉบับแรกของโลก “A Dictionary of American Sign Language on Linguistic principles” (Stokoe, Casterline &

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 79

Page 4: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

Croneberg, 1965) ซ่ึงเปนเครื่องมือสําคัญของคนหูหนวกอเมริกันที่ใชในการสื่อสารในชีวิตประจําวันจนกระทั่งเปนตัวอยางใหแกชาติอ่ืน ๆ 3. ประเภทของภาษามือ 3.1 ภาษามือในแตละประเทศไมเหมือนกัน

ภาษามือเปนภาษาที่มีวัฒนธรรมเหมือนกับภาษาพูด ภาษามือไทยเปนวัฒนธรรมของคนหูหนวกไทย ซ่ึงตางจากภาษาพูดไทยที่เปนวัฒนธรรมของคนที่มีการไดยิน คนหูหนวกใชสายตาในการมองภาพตาง ๆ มากกวาคนที่มีการไดยิน สวนใหญคนทั่วไปคิดวา ภาษามือของคนหูหนวกในแตละ

ประเทศเหมือนกัน เพราะการใชภาษามือดูแลวเหมือน ๆ กับภาษาใบ แตที่จริงแลว ภาษามือในแตละประเทศมีความแตกตางกันมาก ภาษามือในประเทศไทย เปนภาษามือไทยที่ตางจากภาษามือประเทศอื่น ๆ เชน คําศัพทในภาษามือไทย “พอ” ไมเหมือนกับคําศัพทในภาษามือออสเตรเลีย “พอ” (ภาพที่ 3.1) เชนเดียวกับ ภาษาพูดไทย ภาษาพูดจีน และภาษาพูดอิตาลีใชคํ าศัพทต างกันในคําที่มีความหมายเหมือนกัน เปนตน

ภาพที่ 3.1 การเปรียบเทียบคาํ “พอ” ระหวางภาษามือไทยและภาษามือออสเตรเลีย 3.2 ภาษามือที่ใชในประเทศไทย

ภาษามือในประเทศไทยมีหลายลักษณะ อาจแบงหมวดหมูภาษามือในประเทศไทยเปน 4 ประเภท คือ ภาษาทาทาง ภาษามือครอบครัว ภาษามือตามไวยากรณภาษาไทย และภาษามือไทย

3.2.1 ภาษาทาทาง (Gesture) เปนการส่ือสารโดยการ เคลื่ อนไหวของร า งกายที่ ไมจําเปนตองพูดก็สามารถเขาใจความหมายได คนหูหนวกใชภาษาทาทางในการสื่อสารคลายกับคนที่มีการไดยิน เชน คนหูหนวกออสเตรเลียทําทา “การยักไหล” (ซ่ึงแปลวา การแสดงปฏิเสธ) “ดี” “ตกลง” เพื่ อ ส่ือสารกับคนออสเตรเลียดวยกัน (ภาพที่ 3.2.1(1)) (Schembri, 1996:1)

ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา 2544. © ศูนยเทคโนโลยทีางการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ.

Bernal & Wilson 1998. © BRIAN BERNAL & LYN WILSON.

หนา 80 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 5: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

หรือคนหูหนวกไทยสื่อสารกับคนที่มีการไดยินไทยโดยใชทาทางเลียนแบบกริยา “กิน” “อ่ิม” “นอน” หรือเมื่อส่ือสารกับคนหูหนวกตางชาติ (ภาพที่ 3.2.1(2))

คนหูหนวกใชภาษามือของชาติตางๆ เพื่อส่ือสารกับเจาของภาษา เชนเดียวกันกับคนที่มีการ

ไดยินที่ใชภาษาของเจาของภาษาเพื่อส่ือสารกับเจาของภาษา อยางไรก็ดี คนหูหนวกบางชาติที่ใชภาษามืออเมริกันได ก็อาจใชภาษามือเมริกันเพื่อใชส่ือสารกับคนหูหนวกอื่น

การยักไหล ดี ตกลง

ภาพที่ 3.2.1(1) ภาษาทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางคนหูหนวกและคนที่มีการไดยนิชาวออสเตรเลีย

กิน อิ่ม นอน

ภาพที่ 3.2.1(2) ภาษาทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางคนหูหนวกและคนที่มีการไดยนิชาวไทย

Schembri 1996. © ADAM SCHEMBRI

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 81

Page 6: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

3.2.2 ภาษามือครอบครัว (Home sign) เปนภาษามือที่คิดและใชกันภายในครอบครัว เพื่อการส่ือสารระหวางพอแมที่มีการไดยินกับลูกหูหนวก (Mylander & Goldin-Meadow, 1991; Goldin-Meadow & Mylander: 1994) พอแมของลูกหูหนวกบางคนใชภาษามือที่ได รับการฝกอบรมสําหรับสื่อสารกับลูก เชน ภาษามือ “ถา/หาก” (ภาพที่ 3.2.2) ใชทามือตามดวยการสะกดนิ้วมือ “ถ” (ประกอบดวย ต + 1) เปนตน

ภาพที่ 3.2.2 ภาษามือครอบครัว “ถา/หาก”

3.2.3 ภาษามือตามไวยากรณภาษาไทย (Signed Thai) เปนการใชภาษามือที่คัดลอกคําตอคําจากประโยคภาษาไทยสําหรับการสื่อสารระหวางครูที่มีการไดยนิและนักเรยีนหหูนวก (Branson, Miller & Sri-on, 2005) ครูที่มีการไดยินเปนผูคิดทาภาษามือตามประโยคภาษาไทย เพื่อสอนใหเดก็หูหนวกฝกเขียนภาษาไทยไดถูกตองตามหลักไวยากรณ เชน ฉัน ไป โรงเรียน “ฉันไปโรงเรียน” และ คุณ กิน ขาว แลว หรอื ยัง “คุณกินขาวแลวหรือยงั” (ภาพที่

3.2.3(1) และ 3.2.3(2)) บางครั้งมีการออกเสียงคํา และพูดไปพรอมกับทําภาษามือ เพื่อเปนการสื่อสารกับคนหหูนวก หรือคนหูตงึ

3.2.4 ภาษามอืไทย (Thai Sign Language) เปนภาษาแรกของคนหูหนวกไทย Woodward (1996) พบวา ภาษามือไทยไดรับอิทธิพลจากภาษามืออเมริกัน คดิเปนรอยละ 52 เพราะเมื่อ 50 ปกอน ค รูที่ มี ก ารได ยิ นได เ รี ยนภาษามื ออ เมริ กันที่มหาวิทยาลัย Gallaudet ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา และกลับมาสอนใหคนหูหนวกไทยเรียนภาษามือ ทําใหไดรับอิทธิพลจากภาษามืออเมริกันมาดวย

สําหรับคนหูหนวกไทยในชุมชนทั่วไปใชภาษามือไทยไมเหมือนกับภาษามือตามไวยากรณภาษาไทยในโรงเรียนสอนเด็กหูหนวก เชน ภาษามือ โรงเรียน+ไป “ฉันไปโรงเรียน” และ ขาว กิน แลว+สีหนาดวยเลิกคิ้วหมายถึง “คุณกินขาวแลวหรือยัง” (ภาพที่ 3.2.4(1) และ 3.2.4(2))

ในป พ.ศ. 2496 คุณหญิง กมลา ไกรฤกษ ไดจัดทําแบบสะกดอักษรนิ้วมือประดิษฐ (ภาพที่ 3.2.4(3)) คุณมานฟา สุวรรณรัต ซ่ึงเปนคนหูหนวกเปนหัวหนาโครงการวิจัยภาษามือไทยของสมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย เปนผูนําในการจัดทําปทานุกรมภาษามือไทย เลม 1(2529) และเลมขยายเพิ่มเติม (2533) (ภาพที่ 3.2.4(4)) และตอมากระทรวงศึกษาธิการไดออกประกาศรับรองภาษามือไทยเปนภาษาประจําชาติของคนหูหนวกไทยเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.2542 (ภาพที่ 3.2.4(5))

หนา 82 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 7: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ภาพที่ 3.2.3(1) ภาษามือตามไวยากรณภาษาไทย ฉัน ไป โรงเรียน “ฉันไปโรงเรียน”

ภาพที่ 3.2.3(2) ภาษามือตามไวยากรณภาษาไทย คุณ กิน ขาว แลว หรือ ยัง “คุณกินขาวแลวหรือยัง”

ภาพที่ 3.2.4(1) ภาษามือไทย โรงเรียน+ไป หมายถึง “ฉันไปโรงเรียน”

ภาพที่ 3.2.4(2) ภาษามือไทย ขาว กิน แลว+สีหนาดวยเลิกคิ้ว หมายถงึ “คุณกินขาวแลวหรือยัง”

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 83

Page 8: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

และใหใชปทานุกรมภาษามือไทย เลม 1(2529) และเลมขยายเพิ่มเติม (2533) รวมทั้ง แบบสะกดอักษรนิ้วมือประดิษฐของคุณหญิง กมลา ไกรฤกษ เปนหนังสือภาษามือ ปจจุบันคนหูหนวกในชุมชน หรือสมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย และนักศึกษาหูหนวกในวิทยาลัยราชสุดาไดใชภาษามือไทยดังกลาว

อยางไรก็ดี ยังมีภาษามือไทยของคนหูหนวกและผูที่มีการไดยินที่บานคอ จังหวัดนครพนมที่ใชกันมานานกวา 70 ป ซ่ึง เรียกวา ภาษามือบานคอ เปนภาษามือพื้นเมือง (Indigenous Sign

language) (Nonaka, 2007) (ภาพที่ 3.2.4(6))

ภาพที่ 3.2.4(3) แบบสะกดอกัษรนิว้มือประดิษฐโดยคณุหญิงกมลา ไกรฤกษ (พ.ศ.2496)

จาก http://www.geocities.com/nadtthai/tslbooksth.html

ภาพที่ 3.2.4(4) ปทานุกรมภาษามือไทย เลม 1 (พ.ศ. 2529) และเลมขยายเพิ่มเติม (พ.ศ. 2533)

หนา 84 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 9: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ภาพที่ 3.2.4(5) ประกาศรับรองภาษามือไทยเปนภาษาประจําชาติของคนหูหนวกไทย

. Nonaka 2007. © ANGELA M. NONAKA.

ภาพที่ 3.2.4(6) ภาษามือบานคอที่จังหวดันครพนม 4. ภาษามือไทยในสังคมไทย

ความหลายหลากของภาษามือไทย ตามปจจัยที่แตกตางกัน คือ อาณาบริเวณ เพศ และอายุ 4.1 อาณาบริเวณ

อาณาบริเวณ (Regional variation) เปนภาษาของคนที่อาศัยในอาณาบริเวณที่แตกตางกันและใชภาษาที่แตกตางกัน (Valli & Lucas, 1995:165) ภาษามือไทยในภูมิภาคตางๆ แตกตาง

กัน เหมือนกับภาษาทองถ่ินในภาษาพูดไทย เพื่อใหผูอานเขาใจชัดเจนยิ่งขึ้น จึงไดยกตัวอยางคําศัพทภาษามือ 4 คํา ในภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง และภาคใต ไดแก “ผักคะนา” “ผักบุง” “หองอาบน้ํา” และ “วิทยุ” โดยนํามาจากรายงานวิชาภาษาศาสตร เบื้องตนของกลุมนักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 2 ของวิทยาลัยราชสุดาที่ผูเขียนสอน

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 85

Page 10: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ในภาคการศึกษาที่ 2 ป พ.ศ. 2548 ดังปรากฏใน ภาพที่ 4.1.1 – 4.1.4 4.1.1 “ผักคะนา”

ภาพที่ 4.1.1(1) ภาษามือภาคเหนือของ “ผักคะนา”

ภาพที่ 4.1.1(2) ภาษามือภาคกลางของ “ผักคะนา”

ภาพที่ 4.1.1(3) ภาษามือภาคอีสานของ “ผักคะนา”

ภาพที่ 4.1.1(4) คําภาษามือภาคใตของ “ผักคะนา”

หนา 86 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 11: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

จากภาพที ่ 4.1.1(1-3) พบวาภาษามือ “ผักคะนา” ของภาคเหนือ ภาคกลางและภาคอีสานคลายคลึงกัน โดยภาษามือ “ผักคะนา” เปนคําผสมที่ประกอบดวย ภาษามือที่มคีวามหมาย “ตนไม” กับภาษามือที่มีความหมาย “เขม/แข็งแรง” เมื่อผสมเปน

ภาษามือแลว ก็จะมีความหมายวา “ผักคะนา” ซ่ึงแตกตางจากภาษามือ “ผักคะนา” ของภาคใต ภาพที่ 4.1.1(4) เปนคําผสมที่ประกอบดวยภาษามือที่มีความหมาย “ผัก” กับภาษามือที่มีความหมาย “เขม/แข็งแรง”

4.1.2 “ผักบุง”

ภาพที่ 4.1.2(1) ภาษามือภาคเหนือของ “ผักบุง” ภาพที่ 4.1.2(2) ภาษามอืภาคกลางของ “ผักบุง”

ภาพที่ 4.1.2(3) ภาษามือภาคอีสานของ “ผักบุง”

ภาพที่ 4.1.2(4) ภาษามือภาคใต ของ “ผักบุง”

จากภาพที ่ 4.1.2 (1-2) พบวาคําภาษามือ

“ผักบุง” ในภาคเหนือ และภาคกลาง มีความคลายคลึงกัน เพราะใชมือ 2 ขาง ทําทามือ “1” แลว

เล่ือนมือออกไป แตกตางกบัภาษามือ “ผักบุง” ในภาคอีสาน (ภาพที่ 4.1.2 (3)) และภาคใต (ภาพที่ 4.1.2 (4)) ภาคอีสานใชภาษามือที่มีความหมาย “ฉีก”

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 87

Page 12: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

กับภาษามือที่มีความหมาย “วงรี” สวนภาคใต ใชมือ 2 ขางทําทามือ “1” เหมอืนกับภาษามอืภาคเหนือ

(ภาพที่ 4.1.2(1)) และภาคกลาง (ภาพที่ 4.1.2(2)) แตตางกันที่มีการพลิกฝามือดวย

4.1.3 “หองอาบน้ํา”

ภาพที่ 4.1.3(1) ภาษามือภาคเหนือของ “หองอาบน้ํา”

ภาพที่ 4.1.3(2) ภาษามือภาคกลางของ “หองอาบน้ํา”

ภาพที่ 4.1.3(3) ภาษามือภาคอีสานของ “หองอาบน้ํา”

ภาพที่ 4.1.3(4) ภาษามือภาคใตของ “หองอาบน้ํา”

หนา 88 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 13: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

จากภาพที่ 4.1.3(1-3) พบวา ภาษามือ “หองอาบน้ํา” ของภาคเหนือ ภาคกลางและภาคอีสาน มีความคลายคลึงกัน เปนคาํผสมประกอบดวยภาษามือที่มีความหมาย “กลอง/หอง” กับภาษามือ

“อาบน้ํา” แตกตางกับกบัภาษามือ “หองอาบน้ํา” ของภาคใต (ภาพที่ 4.2.3(4)) ที่ใชภาษามือ “หอง + อาบน้ําดวยขันน้ํา”

4.1.4 “วิทยุ”

ภาพที่ 4.1.4(1) ภาษามือภาคเหนือของ “วิทย”ุ

ภาพที่ 4.1.4(2)ภาษามือภาคกลางของ “วิทย”ุ

ภาพที่ 4.1.4(3) ภาษามือภาคอีสานของ “วิทย”ุ

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 89

Page 14: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ภาพที่ 4.1.4(4) ภาษามือภาคใตของ “วิทย”ุ

จากภาพที่ 4.24(1-4) พบวา ภาษามือของทัง้ 4 ภาค มีความแตกตางกัน ภาษามือของ “วิทย”ุ ในภาคเหนือ (ภาพที่ 4.2.4(1)) เปนคําผสมประกอบดวยภาษามือทีแ่สดงรูปกลองกบัภาษามือ “วิทย”ุ หรือ “ว” ที่อยูใกลตําแหนงหูของผูทําภาษามือ ภาษามือของ “วิทย”ุ ในภาคกลาง (ภาพที่ 4.2.4(2)) เปนคําผสมประกอบดวยภาษามือทีม่ีความหมาย “ที่เปดระดับเสียงของวิทย”ุ กบัภาษามือที่มีความหมาย “ทําใหเกิดเสียง” ภาษามือของ “วิทย”ุ ในภาคอีสาน (ภาพที ่4.2.4(3)) เปนคําผสมประกอบดวยภาษามือที่มีความหมาย “เครื่องชวยฟง” กับภาษามือ “วิทย”ุ หรือ “ว” ที่อยูกลางลําตัวของผูทําภาษมอื สวนภาษามือของ “วิทย”ุ ในภาคใต (ภาพที่ 4.2.4(4)) เปนคําผสมประกอบดวยภาษามอืที่มีความหมาย “ไดยนิเสียง” กับภาษามือที่มีความหมาย “ลําโพง”

สรุปไดวาภาษามือในแตละทองถ่ิน มีทั้งที่เหมือนและทีแ่ตกตางกัน เชนเดียวกนักับภาษาพูดไทย เชน ภาษาไทยภาคกลาง “พูด” ภาคอีสาน “เวา” ภาคเหนือ “อู” และภาคใต “แหลง” ซ่ึงทั้ง 4 คํามีความหมายเดยีวกัน แตออกเสียงตางกัน (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2542 : 70)

4.2 เพศ เพศ (Gender variation) Valli & Lucas

(1995:165) ระบุวาภาษาของเพศชายใชตางจากภาษาของเพศหญิง Sutton-spence & Woll (1999 : 25-26) ระบุเชนกันวา ภาษามือของคนหูหนวกเพศชายและเพศหญิงในโลกมีความแตกตางกัน อันเนื่องมาจากการจัดการศึกษาในโรงเรียนที่แยกชายและหญิง ภาษามือของคนหูหนวกเพศชายและหญิงมีความแตกต าง ในด านสีหน า และการเคลื่อนไหวของรางกาย ผูเขียนมีขอสังเกตวา คนหูหนวกไทยเพศชายและหญิงใชภาษามือตางกัน ดาน สีหนาและการเคลื่อนไหวของมือ ตัวอยางเชน เพศชายใชภาษามือในการสนทนาหรือการบอกเลาอยางเขมแข็งกวาเพศหญิง ในขณะที่เพศหญิงใชภาษามือในการสนทนาหรือการบอกเลานุมนวลและรวดเร็วมากกวาเพศชาย จากรายงานของนักศึกษาในรายวิชา ปญหาและการใชภาษามือไทย ของกลุมนักศึกษาปริญญาตรีปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ป การศึกษา 2549 ของวิทยาลัยราชสุดาที่ผูเขียนสอน พบวาเพศชายที่เปนกะเทยใชภาษามือคลายเพศหญิง เกยใชภาษามือคลายเพศชายหรือใกลเคียงภาษามือ

หนา 90 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 15: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ของเพศหญิง และเพศหญิงที่เปนทอมใชภาษามือคลายภาษามือของเพศชาย 4.3 อายุ

อายุ (Age variation) ภาษาของคนสูงอายุใชตางจากภาษาของคนที่มีอายุนอยหรือวัยรุน (Valli & Lucas, 1995:165) จากการศึกษาและสังเกตการใชภาษามือไทยของคนหูหนวกที่มีอายุแตกตางกันโดยกลุมนักศึกษาระดับปริญญาตรีปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 ในรายวิชา ปญหาและการใชภาษามือไทยในปจจุบัน ของวิทยาลัยราชสุดา พบวา ภาษามือของคนหูหนวกผูใหญและคนหูหนวกวัยรุนมีความแตกตางกัน เพราะสังคม และ

ส่ิงแวดลอมที่ตางกัน ตัวอยางเชน ภาษามือของคนหูหนวกผู ใหญที่มีอาชีพเปนครูสอนภาษามือในวิทยาลัยราชสุดา จะมีความแตกตางจากคนหูหนวกผูใหญที่อาศัยอยูในชุมชน ผูเขียนทําวิจัยภาษามือของเด็กหูหนวก พบวา ภาษามือของเด็กหูหนวก “ตนไม” มีความคลายคลึงกับภาษามือ “ตนไม” ของคนหูหนวกหนุมสาวและผูใหญ (ภาพที่ 4.3) ภาพนี้ไดแสดงเคลื่อนไหวทางทามือ เปลี่ยนตําแหนงของมือขางซายที่ตั้งกับมือและแขนขางขวาเปนทามือ 0-5 และการพลิกฝามือก็แตกตางกันเล็กนอย

ภาพที่ 4.3 ภาษามือคําวา “ตนไม” ของเด็ก หนุม และผูใหญ

5. ปญหาการใชภาษามือไทยในประเทศไทย ผูเขียนมีประสบการณในการใชภาษามือตางประเทศ เชน ภาษามือออสเตรเลีย จากชุมชนคนหูหนวกชาวออสเตรเลีย นานกวา 3 ป เมื่อนํามาเปรียบกับการใชภาษามือไทยในประเทศไทย พบวา มีการใชภาษามือแตกตางกัน โดยคนหูหนวกชาวออสเตรเลียใชภาษามือพรอมกับการสะกดนิ้วมือในเวลาเดียวกัน ในขณะที่คนหูหนวกไทยใชภาษามือ

อยางเดียว ในชีวิตของผูเขียนที่ผานมามากกวา 25 ป ไดส่ือสารกับพอแม ครูและเพื่อน ๆ ทั้งที่เปนคนหูหนวกและคนที่มีการไดยิน ผูเขียนพบวาภาษามือไทยมีปญหาและอุปสรรค หลายดาน คือ ไมมีคําศัพทภาษามือไทยเฉพาะดาน ทําใหใชเวลามากในการอธิบายความหมายของคําศัพท ปจจุบันคําศัพทในภาษามือไทยนั้นยังมีไมเพียงพอ คนหูหนวกไมสามารถเขาใจภาษามือที่เปนนามธรรมและ

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 91

Page 16: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

ลึกซึ้งมากๆ ได ลามภาษามือในประเทศไทยที่มีอยูก็ยังไมเพียงพอ ภาษามือที่ใชก็มีความแตกตางกัน คนหูหนวกบางกลุมทําภาษามือและตามดวยพูด บางคนทําภาษามือตามไวยากรณภาษามือไทย เมื่อคนหูหนวก 2 กลุมนี้สนทนากันอาจไมเขาใจกันทั้งหมด 6. บทสรุปและขอเสนอแนะ

ภาษามือไทย เปนภาษากลางที่ใชส่ือสารระหวางคนหูหนวกไทย หรือระหวางคนหูหนวก กับคนที่มีการไดยิน ภาษามือมีความสําคัญตอการพัฒนาความรูความสามารถของคนหูหนวกไทย แต

ถาหากภาษามือไทยยังอยูในภาวะที่ไมสมบูรณพรอม การพัฒนาศักยภาพของคนหูหนวกไทยจึงตองตกอยูในภาวะที่ตองใชความพยายามอยางมาก ดังนั้นจึงควรมีการพัฒนาภาษามือในทุกระดับตั้งแตระดับนโยบายของรัฐบาล การวิจัยภาษามือของหนวยงานและผูที่ เกี่ยวของ ตลอดจนการฝกฝน อบรม ครู พอแม ผูปกครองเด็กหูหนวกและลามภาษามือ เพราะทุกสวนลวนเปนแรงผลักดันศักยภาพของคนหูหนวกไทยที่สําคัญยิ่ง

เอกสารอางอิง กลุมนักศึกษาปริญญาตรีปที่ 2. (ภาคการศึกษาที่ 2 ป2548). รายงานกลุมของนักศึกษา เร่ือง ภาษามือภาค ตางๆ. ผูสอนโดยอาจารยราษฎร บุญญา ในวิชา ภาษาศาสตรเบื้องตน. วิทยาลัยราชสดุา มหาวิทยาลัยมหิดล. กลุมนักศึกษาปริญญาตรีปที่ 3. (ภาคการศึกษาที่ 1 ป 2549). รายงานกลุมของนักศึกษา เร่ือง ภาษามือของ กะเทย เกย และทอม. ผูสอนโดยอาจารยราษฎร บุญญา ในวิชาปญหาและการใชภาษามือไทยใน ปจจุบัน. วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. กลุมนักศึกษาปริญญาตรีปที่ 3. (ภาคการศึกษาที่ 1 ป 2549). รายงานกลุมของนักศึกษา เร่ือง ภาษามือของคน หูหนวกวัยรุนและผูใหญ. ผูสอนโดยอาจารยราษฎร บุญญา ในวิชา ปญหาและการใชภาษามือไทยใน ปจจุบัน. วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. มานฟา สุวรรณรัต และ C. Reilly. (2529). ปทานุกรมภาษามือไทย เลม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนา พานิช จํากัด. มานฟา สุวรรณรัต และ O. Wrigly. (2533). ปทานุกรมภาษามือไทย ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทย วัฒนาพานิช จํากัด. สมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย. (n.d.). http://www.geocities.com/nadtthai/tslbooksth.html ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษากรมการศึกษานอกโรงเรียน. (2544). รายการวีดิทัศนเพื่อการศึกษาชุดคูมือ ภาษามือไทย (ประกอบหนังสือภาษามือไทย เลม 1). กรุงเทพฯ: ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ.

หนา 92 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1

Page 17: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ (2542). ภาษาในสังคมไทย : ความหลากหลาย การเปล่ียนแปลง และการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Bernal, Brian & Wilson, Lyn. (1998). The VSDC Dictionary of Auslan: English to Auslan. Victoria, Australia: VSDC Services for Deaf Children. Brennan, M. (1992). The visual world of BSL: An introduction. In D. Brien (Ed.),

Dictionary of British Sign Language/English (pp. 1-133). Branson, J., Miller, D., & Sri-on, J. (2005). A history of the education of deaf people in

Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. Goldin-Meadow, S., & Mylander, C. (1994). Chapter 13: The development of morphology

without a conventional language model. In V. Volterra and C. J. Erting (Eds.), From gesture to language in hearing and deaf children (pp.165-177). Washington, DC: Gallaudet University Press.

LeMaster, B.,& Monaghan, L.(2004).Chapter 7:Variation in sign languages. In A. Duranti (ed.), A companion to linguistic anthropology (pp. 141-165). MA, USA: Blackwell Publishing.

Liddell, S. K. (1980). American Sign Language Syntax. The Hague: Mouton. Mylander, C., & Goldin-Meadow, S. (1991). Home sign systems in Deaf children: The

development of morphology without a conventional language mode. In P. Siple and S. D. Fischer (Eds.), Theoretical issues in sign language research (pp.41-63). Chicago. The University of Chicago Press.

Nonaka, A. M. (2007). Emergence of an indigenous sign language and a speech/sign community in Ban Khor, Thailand. Unpublished Ph.D. thesis. University of California, Los Angeles

วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1 หนา 93

Page 18: E-mail : dui2543@hotmail.com ” (Deaf deaf) · E-mail : dui2543@hotmail.com Abstract This paper describes the definitions of “Deaf/deaf” in English, which are from the medical

Padden, C. (1980). The Deaf community and the culture of Deaf People. In C. Baker and R. Battison (Eds.), Sign Language and the Deaf community: Essays in honor of William C. Stokoe (pp. 89-103). National Association of the Deaf.

Senghas, R. J., & Monaghan, L. (2002). Signs of their times: Deaf communities and the culture of language. Annual Review of Anthropology 31: 69-97.

Stokoe, W. C. (1960). Sign Language structure: An outline of visual communication systems of the American Deaf. Studies in Linguistics: Occasional Paper 8. Buffalo, New York: University of Buffalo, Linguistics Department.

Stokoe, W. C., Casterline, D. C., & Croneberg, C. G. (1965). A dictionary of American Sign Language on linguistic principles. Silver Spring, Md.: Linstok Press.

Schembri, A. (1996). The structure and formation of signs in Auslan (Australian Sign Language). NSW: North Rocks Press.

Suwanarat, M., & Reilly, C. (1986). Thai Sign Language Dictionary Book One. Bangkok: National Association of the Deaf in Thailand.

Sutton-Spence, Rachel and Woll, Bencie. (1999) The Linguistics of British Sign Language : An Introduction. United Kingdom: Cambridge University. Suwanarat, M. & Wrigley, O. (1991). Thai Sign Language Dictionary (Revised and

Expanded Edition). Bangkok: National Association of the Deaf in Thailand. Valli, C., & Lucas, C. (1995). Linguistics of American Sign Language: An introduction (2nd ed.). Washington, DC: Gallaudet University Press. Woodward, J. (1996). Modern standard Thai Sign Language, influence from ASL, and its

relationship to original Thai sign varieties.Sign Language Studies (Vol.92,fall):227- 52.

หนา 94 วารสารวิทยาลัยราชสุดา ปที่ 4 ฉบับที่ 1