13
ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 . ลอยลม ประเสริฐศรี เคาโครงการบรรยาย หัวขอที11 ตลาดผูกขาด ตลาดผูกขาดและอำนาจผูกขาด พฤติกรรมของผูมีอำนาจผูกขาด การวัดอำนาจผูกขาด ตลาดผูกขาดกับประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร การกำกับดูแลผูมีอำนาจผูกขาด วันอังคาร ที13 สิงหาคม .. 2556 กรณีศึกษาเรื่องตลาดผูกขาด การวิเคราะหเชิงสถิตกรณีตลาดผูกขาด STUDENT Version ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร .ลอยลม ประเสริฐศรี 2 11.1 ตลาดผูกขาดและอำนาจผูกขาด ลักษณะของตลาดผูกขาด Produce Firm Product Market (Region: อาณาเขต) Price Maker: Set its price, P High cost to entry No close substitute

EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

เคาโครงการบรรยาย

หัวขอที่ 11ตลาดผูกขาด

ตลาดผูกขาดและอำนาจผูกขาด

พฤติกรรมของผูมีอำนาจผูกขาด

การวัดอำนาจผูกขาด

ตลาดผูกขาดกับประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร

การกำกับดูแลผูมีอำนาจผูกขาด

วันอังคาร ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2556

กรณีศึกษาเรื่องตลาดผูกขาด

การวิเคราะหเชิงสถิตกรณีตลาดผูกขาดSTUDENT Version

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี2

11.1 ตลาดผูกขาดและอำนาจผูกขาด ลักษณะของตลาดผูกขาด

Produce

Firm Product

Market (Region: อาณาเขต)

Price Maker: Set its price, P

High cost to entry

No close substitute

Page 2: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี3

ที่มาของอำนาจผูกขาด

Market(Monopoly Firm)

Other Firms

Barri

ers

to e

ntry

การกีดกันทางดานเทคนิค (Technical barriers to entry)1

Economies of scale: ผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly)

ตัวอยางเชน กิจการไฟฟา ทอสงกาซ รถไฟฟาBTS

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี4

ที่มาของอำนาจผูกขาด

การกีดกันการเขาสูตลาดทางกฎหมาย (Legal barriers to entry)2

ลิขสิทธ์ิ หรือสิทธิบัตร: คุมครองผูเปนเจาของนวตกรรม เชน ยารักษาโรค, ลิขสิทธ์ิถายทอดกีฬา ฯลฯ

สัมปทานหรือใบอนุญาต: สินคาบาป (เหลา), แหลงรายได (สถานีโทรทัศน), สิ่งแวดลอม (เหมือง), คุมครองผูบริโภค (แพทย)

Page 3: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี5

ที่มาของอำนาจผูกขาด

การสรางอำนาจกีดกันดวยตัวผูผูกขาดเอง (Creation of barriers to entry)3

เปนเจาของวัตถุดิบ

ควบรวมกิจการ: ฮั๊ว

ความลับในการผลิต

การใชกลยุทธกีดกันคูแขง

State capture

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี6

ที่มาของอำนาจผูกขาด

การกีดกันดวยขนาดของเครือขาย (Network barriers to entry)4

Market: Operation System (OS)CP/MMP/MTRS-DOSProDOSDOSLinuxUnixFreeBSDโอเอส/2RISC OSBeOSAmigaPlan9NetWare

MorphOSZaurusVMSEPOCSolarisIRIXDarwinHPUXUNICOSMINIXAIXChrome OSIOSThaiOSSuriyan

Page 4: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

Competitive Profit Maximization:

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี7

11.2 พฤติกรรมของผูมีอำนาจผูกขาด การแสวงหากำไรสูงสุด (Profit Maximization)

maxQ>0{ }

π Q( ) = TR Q( )−TC Q( ) 1

Monopoly Profit Maximization:

PInverse Demand Function: P Q( )Inverse Demand Function: TR Q( ) = P ×QTotal Revenue : TR Q( ) = P Q( )×QTotal Revenue : TC Q( )Total Cost : TC Q( )Total Cost :

The competitive's profit maximization problem: The monopolist's profit maximization problem:

maxQ>0{ }

π Q( ) = TR Q( )−TC Q( ) 3

FOC:dπ Q( )dQ

= 0 : dTR Q( )dQ

−dTC Q( )dQ

= 0

d P ×Q( )dQ

=dTC Q( )dQ

P = MR Qc( ) = MC Qc( ) 2

FOC:dπ Q( )dQ

= 0 : dTR Q( )dQ

−dTC Q( )dQ

= 0

P Q( ) +Q dP Q( )dQ

⎡⎣⎢

⎤⎦⎥=dTC Q( )dQ

MR QM( ) = MC QM( ) 4

พิสูจนดวยกราฟ เพื่อแสดงวาปริมาณการผลิต ณ ระดับอื่น ๆ จะทำใหหนวยผลิตไดรับกำไรนอยกวาระดับที ่MR=MC ซึ่งเปนระดับที่ทำใหหนวยผลิตไดรับกำไรสูงสุด

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

P

Q0

MCPM

D

Q1

P1

Q2

P2

การแสวงหากำไรสูงสุด (Profit Maximization)

8

QM

MR

Page 5: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ตัวอยางที่ 1:

TR

TC

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี9

การแสวงหากำไรสูงสุด (Profit Maximization)

P Q( ) = 12 −QInverse Demand Fn:TR Q( ) = P Q( )×Q = 12Q −Q2

TC Q( ) = 12Q2Total Cost (Given):

maxQ>0{ }

π Q( ) = 12Q −Q2 − 12Q2⎡

⎣⎢⎤⎦⎥

maxQ>0{ }

π Q( ) = 12Q − 32Q2

FOC:Q0

TR,TC,π

QM

A

B π

Q0

P

DMR

4

PM = 8

MC

F

E

B

A

P

Q4 120

2

6

10

2 6 8 10

4

8

12

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

การแสวงหากำไรสูงสุด (Profit Maximization)

10

MC

AC

D

MR

PM = Total Revenue:

Total Cost :

Profit=TR-TC :

Consumer Surplus :

P Q( ) = 12 −Q,Given the inverse demand fn: MR Q( ) = 12 − 2Q

MC Q( ) =QTC Q( ) = 12Q2, AC Q( ) = TC Q( )

Q= 12Q,

ตัวอยางที่ 2:

Page 6: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี11

11.3 การวัดอำนาจผูกขาด

นิยาม: อำนาจผูกขาด (Market Power) หมายถึง ความสามารถของหนวยผลิตในการตั้งราคาสินคาสูง

กวาตนทุนสวนเพิ่ม เพื่อใหไดรับกำไร

The monopolist's profit maximization problem:

FOC:dπ Q( )dQ

= 0 : dTR Q( )dQ

−dTC Q( )dQ

= 0

P Q( ) +Q dP Q( )dQ

⎡⎣⎢

⎤⎦⎥=dTC Q( )dQ

maxQ>0{ }

π Q( ) = TR Q( )−TC Q( )⎡⎣⎢

⎤⎦⎥

P 1+ QPdPdQ

⎡⎣⎢

⎤⎦⎥= MC

P 1+1 PQdQdP

⎡⎣⎢

⎤⎦⎥= MC

P 1+ 1εd

⎣⎢

⎦⎥ = MC

P + P 1εd

= MC

P −MC = −P 1εd

5

6

การตั้งราคาแบบบวกกำไรจากตนทุน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี12

การตั้งราคาแบบบวกกำไรจากตนทุน

P = MC1+ (1 / εd )

5

P

Q0

MC

MRA

พิจารณา สมการที่ 5

MRB

DA

DB

ตัวอยางที่ 3: The general form of a constant

At every on such a curve, the price elasticityelasticity demand curve is .Q = aP−b

of demand equals . Suppose a monopolist has a constant marginal cost MC = $50

−b

(a) What is the optimal P when Q = 100P-2?

(b) What is the optimal P when Q = 100P-5?

Page 7: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

Discount Store: Tesco-Lotus, Big-C

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี13

การตั้งราคาแบบบวกกำไรจากตนทุน: กรณีตัวอยาง

Convenient Store: 7-Eleven, Family Mart

Convenient Store เปนรานคาปลีกขนาดเล็ก จำหนายสินคาอุปโภค

บริโภคที่มีความจำเปน

Discount Store เปนรานคาปลีกที่นำเอาหลักการ

ของรานซูเปอรมารเก็ต มาปรับใช ไมมีพนักงานขายมาคอยบริการ ลูกคาตองบริการตนเอง โดยมีอุปกรณชวยขาย ไดแก ตะกรา และรถเข็น จัดเตรียมไวให สินคาที่จำหนายเปนสินคาทั่วๆ ไป ซึ่งผูซื้อมักมีการวางแผนในการซื้อ จึงซื้อคราวละมากๆ

ตอชีวิตประจำวัน ตั้งอยูตามแหลงที่อยูอาศัยของชุมชนเพื่อบริการลูกคาที่พำนักอาศัยในบริเวณใกล

เคียง ซึ่งผูซื้อ มักซื้อเมื่อสินคาขาดและจำเปนตองใช และซื้อครั้งละเล็กนอยแคพอไดใช

แสดงวา อัตราการบวกกำไรจากตนทุนสวนเพิ่มประมาณรอยละ 11

แสดงวา อัตราการบวกกำไรจากตนทุนสวนเพิ่มประมาณรอยละ 25

ผลวิจัยพบวา คา Ed ของลูกคากลุมนี้ ประมาณ -10 ผลวิจัยพบวา คา Ed ของลูกคากลุมนี้ ประมาณ -5

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี14

การวัดอำนาจผูกขาด: Lerner Index

Lerner Index เปนดัชนีที่ใชวัดอำนาจผูกขาด ถาหากคาของ Lerner Index ยิ่งสูง ยิ่งแสดงวามีอำนาจผูกขาดมาก

Abba P. Lerner

ตัวอยางที่ 4: Apple’s Lerner Index

พิจารณา สมการที่ 6

P −MCP

= − 1εd

6

Non-3G 16GB iPad

MC = $229.35P = $499

≈ $79 − $21.77$79

≈ $600 − $187.51$600

Lerner Index:

Lerner Index:

Lerner Index:

≈ $499 − $229.35$499

P = $79

iPod Shuffle

MC = $21.77

MC = $187.51P = $600

16GB iPhone 4

Page 8: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

CBD

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี15

11.4 ตลาดผูกขาดกับประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร

ตลาดแขงขันสมบูรณ VS ตลาดผูกขาด

q0

p

Q0

p

D=ARM

Pc Pcdi=ARi=MRi

Individual Firm in Competitive MKT Monopoly FirmMCi

ACi

qc

MCM

Qc

E0

MRM

QM

PM

ตลาดแขงขันสมบูรณ ตลาดผูกขาด

P=MC MR=MC

ราคาถูกกวา: PC<PM ราคาแพงกวา: PM>PC

ผลิตมากกวา: QC>QM ผลิตนอยกวา: QM<QC

เงื่อนไขดุลยภาพ:

ราคาขาย:

ปริมาณการผลิต:

Welfare Effects: -(B+C)

Consumer Surplus: -(D+B)

Producer Surplus: D-C

B is consumption distortion

C is production distortion

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี16

11.5 การกำกับดูแลผูมีอำนาจผูกขาด การกำกับดูแล: กรณีมีการผูกขาดปกติ

หลักการ: “ดังท่ี่ทราบแลววาตลาดผูกขาด เปนตลาดที่ไรประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร โดยมีแนวโนมที่จะผลิตนอยกวาความเปนจริง ในราคาที่สูงเกินไป ภาครัฐจึงจำเปนตองกำกับดูแล”

P

Q0

D=ARM

MCM

MRM

QM

PM

กรณี ไมมีกลไกการกำกับดูแล:

==> ตั้งราคาที่ PM และ ใหบริการ ณ ระดับ QM

กรณี กำกับดูแล: คุมราคาที่ PC , บริการเพิ่มเปน QC

==> ปญหาคือไมมีขอมูลที่สมบูรณในการกำหนดราคา

กรณี กำกับดูแล: คุมราคาที่ P2 , บริการเพิ่มเปน Q2

==> เสนรายรับสวนเพิ่ม (MR2) คือ P2AB

==> MR2 ตัดกับ MC ที่จุด A (ผูผลิต ผลิตเทากับ Q2)

==> คนตองการสินคามากถึง Q3

==> ขาดแคลนสินคาเทากับ Q2Q3

==> ไรประสิทธิภาพ เพราะผลิตนอยกวาที่ควรจะเปน

Page 9: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี17

การกำกับดูแล: กรณีมีการผูกขาดโดยธรรมชาติอธิบาย: การกำกับดูแลกิจการ P

Q0

อธิบาย: Natural MonopolyP

Q0MR D = AR D = AR

AC

MC

QM

AC1 QM( )

P2 = PM

ACPF

MC

QC

PC

MRQM

กรณี ไมมีกลไกการกำกับดูแล: (ผูผูกขาดแสวงหาคาเชา)

==> ตั้งราคาที่ PM และ ใหบริการ ณ ระดับ QM

กรณี กำกับดูแล: คุมราคาที่ PC , บริการเพิ่มเปน QC

==> ปญหาคือขาดทุน (ผูประกอบการอยูไมได)

กรณี กำกับดูแล: คุมราคาที่ PF , บริการเพิ่มเปน QF

==> ผูขายอยูได, ผูบริโภคไดรับบริการเพิ่ม ในราคาที่ถูกลง

Economies of Scale

เสน AC ทอดลงตลอด; เสน MC ต่ำกวา

Barriers to Entry

โครงสรางตนทุน ไมเอื้อใหมีผูผลิตมากกวา 1 ราย

QM

2

AC2QM

2⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

PM

AC1 QM( )

AC2 QC( )

QF

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี18

11.6 การวิเคราะหเชิงสถิตกรณีตลาดผูกขาดการแสวงหากำไรสูงสุด: กรณีมีโรงงานมากกวาหนึ่งแหง

นิคมอมตะซิตี้ จ.ชลบุรี

โรงงานแหงที่ 1

นิคม 304 จ.ปราจีนบุรี

โรงงานแหงที่ 2

บริษัทผูผลิตเสื้อดูดซับกลิ่นกาย

How a monopolist would allocate production across the plants.

ปริมาณการผลิต: Q1 ปริมาณการผลิต: Q2

ตนทุนการผลิต: TC1 ตนทุนการผลิต: TC2

ปริมาณผลผลิตรวม =

กำไร:

Page 10: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

พิสูจน: Profit-Maximizing กรณี Multi-Plants:

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี19

การแสวงหากำไรสูงสุด: กรณีมีโรงงานมากกวาหนึ่งแหง

π = PQT −TC1 Q1( )−TC2 Q2( )FOC:

เงื่อนไข: Profit-Maximizing กรณี Multi-Plants:

MR = MC1 = MC2 7

P

Q0MR

D = AR

MC1 MC2

MR=MCT: กำหนดปริมาณการผลิตรวม

เปนปริมาณการผลิต ณ MR=MC1=MC2 ดวย

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี20

การแสวงหากำไรสูงสุด: กรณีมีโรงงานมากกวาหนึ่งแหง

ตัวอยางที่ 5: Suppose a monopolist faces

The monopolist has two plants. The first has

and the second plant’s marginal cost curve

demand curve given by P = 120 − 3Q.

a MC curve given by MC1 = 10 + 20Q1,

is given by MC2 = 60 + 5Q2.

ขั้นตอนที่ 1: หาตนทุนสวนเพิ่มรวม (MCT)

ขอควรระวัง: เปนการรวมกันในแนวนอน (Horizontal Sum of MC1&MC2) เพราะฉะนั้น หามรวมสมการ MC โดยตรง

ตองจัดรูปสมการ MC ใหอยูในเทอมของ Q กอน:

จัดรูปใหมใหอยูในเทอม MCT:

ขั้นตอนที่ 2: หารายรับสวนเพิ่ม (MR)

P = 120 − 3QInverse Demand Fn:

P ×Q = 120Q − 3Q2Total Revenue (TR):

Marginal Revenue (MR):

ขั้นตอนที่ 3: หา Profit-Maximizing Q&P:

MR = MCT

Page 11: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี21

การแสวงหากำไรสูงสุด: กรณีมีโรงงานมากกวาหนึ่งแหง

ขั้นตอนที่ 4: หาปริมาณการผลิตของแตละโรงงาน:

เราทราบวา QT=7 นำไปแทนใน MCT:

นำ MCT =78 แทนในปริมาณการผลิตแตละโรงงาน:

สรุป: ผูผูกขาดจะทำการผลิตทั้งหมด 7 หนวย โดยแบงผลิตในโรงงานแหงที่หนึ่ง จำนวน 3.4 หนวย และผลิตในโรงงานแหงที่สอง จำนวน 3.6 หนวย

A Monopolist does not have a supply curveShifts in Market Demand

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี22

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุปสงค

P

Q0

P

Q0

MC MC

D1

MR1

D2

MR2Q* =Q1 =Q2

P1

P2

ณ เสน D1: ผลิต Q1 และขายในราคา P1

ณ เสน D2: ผลิต Q2 = Q1 และขายในราคา P2

สรุป: ผูผูกขาดขายสินคาจำนวนเทากัน ณ ระดับราคาที่แตกตางกัน จึงไมมีเสน Supply

D1

MR1Q1

P1

ณ เสน D2: ผลิต Q2 และขายในราคา P2

ณ เสน D1: ผลิต Q1 และขายในราคา P1

เดิม

ตอมา: มีความตองการสินคาชนิดนี้เพิ่มขึ้น

Page 12: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

The Effect of a TaxShifts in Marginal Cost

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี23

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงตนทุน

P

Q0

MCD

MR

Q1

ณ MC: ผลิต Q1 และขายในราคา P1

ณ MC+t: ผลิต Qt และขายในราคา Pt

เดิม กอนการเก็บภาษี

ตอมา: มีการเก็บภาษีจากผูขาย

P

Q0

MC0

D

MR

Q1

P1P1

ณ MC0: ผลิต Q1 และขายในราคา P1

เดิม

ณ MC1: ลดการผลิตเปน Q2 และขายราคา P2

ตอมา: สมมติวาตนทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี24

11.7 กรณีศึกษาเรื่องตลาดผูกขาดBotox Patent Monopoly

Dr. Alan Scott, the inventor of Botox. Courtesy: AFP

ประมาณป 2513 Dr.Scott กับ Dr.Schantz พยายามทดลองหาสารพิษที่ออกฤทธิ์ทำใหกลามเนื้อรอบดวงตาเปนอัมพาตชั่วคราว และพบวา botulinum toxin สามารถนำมาใชรักษาอาการตาเหล ตาเขในคนได

นอกจากการรักษาอาการดังกลาวแลว ตัวยาดังกลาวยังมีผลขางเคียงทำใหรอยยนจากการขมวดคิ้วจางลง

ตอมาจึงมีการศึกษาคุณสมบัติของ botulinum toxin ในแงที่เกี่ยวกับความสวยความงาม และตีพิมพรายงานครั้งแรก ป 2535 ขอคนพบนี้ทำให Dr.Scott กลายเปนเจาของสิทธิบัตร และจำหนาย “Botox” เชิงพาณิชย ภายใตชื่อ บริษัท Allergan

วิธีเสริมความงามดวยการฉีด Botox ไดรับความนิยมอยางแพรหลาย ในหมูดารานักแสดง นางแบบ หรือผูที่ตองการลบริ้วรอยบนใบหนา แตการฉีด Botox เปนวิธีการลบรอยแบบชั่วคราวเทานั้น ทุกๆ 120 วันตองกลับมาฉีดใหม จากกระแสตอบรับของตลาด ทำใหรายไดของบริษัท Allergan เติบโตอยางรวดเร็ว ในป 2547 บริษัทมียอดขาย 800 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเปน 1.3 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป 2550 และจากการที ่บริษัท Allergan ไดรับสิทธิบัตรการผลิตสาร Botox ทำให บริษัท Allergan มีอำนาจผูกขาดคอนขางมาก

Page 13: EC311-11 Monopoly STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC... · HPUX UNICOS MINIX AIX Chrome OS IOS ThaiOS Suriyan. Competitive Profit Maximization: ลิขสิทธิ์ของ

จากกรณีศึกษาขางตน สมมติวา บริษัท Allergan เปนบริษัทที่แสวงหากำไรสูงสุด โดยสามารถผลิตตัวยา Botox ในหองแล็ป ดวยตนทุนสวนเพิ่ม เทากับ $25 จากนั้น นำตัวยาดังกลาวขายใหแก คลินิกเสริมความงาม ในราคา $400 ตอโดส

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี25

Botox Patent Monopoly

ขั้นตอนที่ 1: หาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคาP −MC

P= − 1

εdจากเงื่อนไข

จะไดวา εd = − PP −MC

แทนคา εd = − 400400 − 25

≈ −1.067

ขั้นตอนที่ 2: หาสมการอุปสงคแบบผกผัน

P = a + bQ

สมมติวา สมการอุปสงคเปนเสนตรง

εd = − PQ× dQdP

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟= − P

Q× 1b

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

แทนคา εd = − 400400 − 25

= − 4001

× 1b

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

จะไดวา b = 375

นำไปแทนในสมการอุปสงค จะไดวา

400 = a + 375 1( )จะไดวา a = 775

ดังนั้น สมการอุปสงค คือ P = 775 − 375Q

ขั้นตอนที่ 3: หาสมการรายรับสวนเพิ่ม

TR = P ×Q = 775Q − 375Q2

MR = dTRdQ

= 775 − 750Q

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี26

Botox Patent Monopoly

ขั้นตอนที่ 4: หา Profit-Maximizing Q&P:

จากเงื่อนไข MR = MC

775 − 750QM = 25

QM = 775 − 25750

= 1

PM = 775 − 375QM

PM = 775 − 375 1( ) = 400

ขั้นตอนที่ 5: หา CS, Profit, DWL:

P

Q0

MRD

775

AVC = MC25

400 EM

2

EC

C.S = Area Aπ = Area B

DWL = Area C

1