13
ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 . ลอยลม ประเสริฐศรี เคาโครงการบรรยาย หัวขอที8 ตนทุนการผลิต ทบทวนตนทุนการผลิตในระยะสั้น สวนผสมของปจจัยที่ทำใหตนทุนต่ำสุด แนวทางการขยายการผลิต เปรียบเทียบตนทุนการผลิตระยะสั้นและระยะยาว Economies of Scale, Economies of Scope, Learning Curve บทสงทาย: ตัวอยางการคำนวณ วันอังคาร ที16 กรกฎาคม .. 2556 STUDENT Version 8.1 ทบทวนตนทุนการผลิตในระยะสั้น การวัดตนทุน ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร .ลอยลม ประเสริฐศรี ปจจัยใดควรนำมาคิดตนทุนและไมควรนำมาคิด: เพื่อใหไดตนทุนต่ำสุด เราตองตัดสินใหชัดเจนวา ปจจัยใดบางควรนำมาคิดเปนตนทุน และจะวัดอยางไร คาใชจายสำหรับการเชาเครื่องจักรหรือตึก ควรนับ เปนตนทุน แตถาบริษัทนั้นเปนเจาของเครื่องจักรหรือตึกนั้นเอง เราควรจะคำนวณตนทุนนี้หรือไม อยางไร? นักบัญชีมักคำนวณตนทุนจากคาใชจายในอดีต นัก เศรษฐศาสตรมักคำนวณตนทุนโดยมองไปขางหนา ตนทุนทางบัญชี: คาใชจายที่เกิดขึ้นจริง รวมคาเสื่อม ราคาของเครื่องจักร --> คิดเฉพาะตนทุนชัดแจง (explicit costs) ตนทุนทางเศรษฐศาสตร : ตนทุนของหนวยผลิตใน การใชปจจัยการผลิตโดยรวมตนทุนคาเสียโอกาส opportunity cost --> รวมตนทุนชัดแจงและไมชัดแจง (implicit costs) ตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity cost): มูลคาของทางเลือกอื่นที่ดีที่สุดซึ่งตองพลาดโอกาสไป เนื่องจากมาเลือก ทางเลือกปจจุบัน ตัวอยาง: บริษัทเปนเจาของตึก จึงไมเคยจายคาเชาใหตนเอง แปลวาตนทุนการใชพื้นที่มีคาเทากับศูนยหรือไม ? แตพื้นที่ดังกลาวอาจถูกใหเชากับผูอื่นได คาเชาที่เสียโอกาสไปเปนตนทุนคาเสียโอกาสของ การใชพื้นที่ตึกนั้น ควรตองถูกคิดเปนตนทุนทาง เศรษฐศาสตร สำหรับใชในการตัดสินใจทางธุรกิจ

EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

เคาโครงการบรรยาย

หัวขอที่ 8ตนทุนการผลิต

ทบทวนตนทุนการผลิตในระยะสั้น

สวนผสมของปจจัยที่ทำใหตนทุนต่ำสุด

แนวทางการขยายการผลิต

เปรียบเทียบตนทุนการผลิตระยะสั้นและระยะยาว

Economies of Scale, Economies of Scope, Learning Curveบทสงทาย: ตัวอยางการคำนวณ

วันอังคาร ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

STUDENT Version

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี2

8.1 ทบทวนตนทุนการผลิตในระยะสั้นการวัดตนทุน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

ปจจัยใดควรนำมาคิดตนทุนและไมควรนำมาคิด: เพื่อใหไดตนทุนต่ำสุด เราตองตัดสินใหชัดเจนวาปจจัยใดบางควรนำมาคิดเปนตนทุน และจะวัดอยางไรคาใชจายสำหรับการเชาเครื่องจักรหรือตึก ควรนับเปนตนทุน

แตถาบริษัทนั้นเปนเจาของเครื่องจักรหรือตึกนั้นเอง เราควรจะคำนวณตนทุนนี้หรือไม อยางไร?นักบัญชีมักคำนวณตนทุนจากคาใชจายในอดีต นักเศรษฐศาสตรมักคำนวณตนทุนโดยมองไปขางหนา

ตนทุนทางบัญชี: คาใชจายที่เกิดขึ้นจริง รวมคาเสื่อมราคาของเครื่องจักร --> คิดเฉพาะตนทุนชัดแจง (explicit costs)ตนทุนทางเศรษฐศาสตร: ตนทุนของหนวยผลิตในการใชปจจัยการผลิตโดยรวมตนทุนคาเสียโอกาส opportunity cost --> รวมตนทุนชัดแจงและไมชัดแจง (implicit costs)

ตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity cost): มูลคาของทางเลือกอื่นที่ดีที่สุดซึ่งตองพลาดโอกาสไป

เนื่องจากมาเลือก ทางเลือกปจจุบัน

ตัวอยาง: บริษัทเปนเจาของตึก จึงไมเคยจายคาเชาใหตนเองแปลวาตนทุนการใชพื้นที่มีคาเทากับศูนยหรือไม?แตพื้นที่ดังกลาวอาจถูกใหเชากับผูอื่นได

คาเชาที่เสียโอกาสไปเปนตนทุนคาเสียโอกาสของ

การใชพื้นที่ตึกนั้น ควรตองถูกคิดเปนตนทุนทางเศรษฐศาสตร สำหรับใชในการตัดสินใจทางธุรกิจ

Page 2: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี3

การวัดตนทุนและกำไร

กำไรปกติ (Normal profit): เปนกำไรขั้นต่ำทางบัญชี ที่เพียงพอจะชดเชยตนทุนคาเสียโอกาส และความเสี่ยงของเจาของกิจการได

ตนทุนจม (Sunk cost): เปนคาใชจาย ที่เมื่อจายไปแลว ไมสามารถหลีกเลี่ยง (Unavoidable) หรือกูคืนมาได เนื่องจากไมมีโอกาสที่จะนำไปใชทำอยางอื่น (No alternative use)ตนทุนจม ไมมีคาเสียโอกาส (Opportunity cost=0) ดังนั้น จึงไมควรนำมาใชตัดสินใจ ทางธุรกิจในอนาคต

ตัวอยาง: สมมติวา บริษัท สมโอ จะตองซื้อเครื่องจักรมูลคา 10 ลานบาท ซึ่งเครื่องจักรนี้มีไวใชผลิตอุปกรณสื่อสารประหยัดพลังงานเทานั้น ใชประโยชนอยางอื่นไมไดในข้ันตน ของการตัดสินใจวาจะซื้อหรือไมซื้อเครื่องจักร ยังไมถือเปน Sunk Cost เนื่องจาก ยังสามารถนำเงินไปใชทำอยางอื่นได เมื่อตัดสินใจซื้อเครื่องจักรแลว เงิน 10 ลานบาทนี้ถือเปน Sunk Cost เนื่องจาก ไมสามารถหลีกเลี่ยงได, เครื่องจักรทำประโยชนอยางอื่นไมได ดังนั้น หากตองการตัดสินใจวาจะดำเนินกิจการตอไป หรือจะปดกิจการ จะตองไมนำเงินจำนวนนี้มาคิด

เมื่อหนวยผลิตมีกำไรปกติ แสดงวา กำไรทางเศรษฐศาสตร มีคาเปนศูนย (Normal Profit--Economic Profit=0)

การมีกำไรปกติ แสดงวา การประกอบกิจการนี้ใหผลตอบแทนแกหนวยผลิต เทากับทางเลือกอื่น ๆ ที่ดีที่สุดแลว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี4

กำไร (Profit): กำไรทางบัญชี และกำไรทางเศรษฐศาสตร

implicit costs(Opportunity cost of own resources)

Economic Profit

Accounting Profit

How an Economist View a Firm

How an Accountant View a Firm

Tota

l Rev

enue

Tota

l Rev

enue

explicit costs(e.g. wage & raw

material)

explicit costs(e.g. wage & raw

material) Tota

l opp

ortu

nity

cos

t

Page 3: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี5

การคิดตนทุนทางบัญชีและตนทุนทางเศรษฐศาสตร

Items Accounting Profit Economic Profit

Total Revenue

Less Explicit costs:

Wages & salaries

Materials

Interest paid

Other payments

Less Implicit costs:

Foregone salary

Foregone rent

Foregone interest

Equals profit $30,000 -$35,000

$500,000 $500,000

$400,000 $400,000

$50,000 $50,000

$10,000 $10,000

$10,000 $10,000

0

0

0

$50,000

$10,000

$5,000

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี6

ประเภทของตนทุน

เราสามารถแบงประเภทของตนทุน โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดผลผลิต ดังนี้

TC = FC +TVCTC = rK +wL

1

ตนทุนรวม (Total Cost: TC) เปนผลรวมของตนทุนคงที่ (FC) และตนทุนผันแปร (TVC)

ตนทุนคงที่ (Fixed Cost: FC) เปนตนทุนที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของการผลิต

ตนทุนผันแปร (Variable Cost: VC) เปนตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของการผลิต

ตนทุนรวมเฉลี่ย (Average Total Cost: ATC) เทากับผลบวกของตนทุนคงที่เฉลี่ย (average fixed cost: AFC) และตนทุนแปรผันเฉลี่ย (average variable cost: AVC)

ATC = TCQ

= TFCQ

+ TVCQ

ATC = TCQ

= AFC + AVC2

ตนทุนสวนเพิ่ม (Marginal Cost: MC) เปนตนทุนที่เปลี่ยนไปจากการเพิ่มการผลิตอีกหนึ่งหนวย โดยเปนคาความชันของตนทุนรวม และตนทุนแปรผัน

MC = dTCdQ

= dTVCdQ 3

Page 4: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ความสัมพันธระหวาง MC, AVC และ ATC

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี7

เสนตนทุนประเภทตาง ๆCOST

Q0COST

Q0

FC

TVC

TC

MC AC

AVC

AFC

เมื่อ MC < AVC: AVC กำลังลดลงเมื่อ MC > AVC: AVC กำลังเพิ่มขึ้นเมื่อ MC < ATC: ATC กำลังลดลงเมื่อ MC > ATC: ATC กำลังเพิ่มขึ้นเมื่อ MC ตัดกับ AVC และ ATC ที่จุดต่ำสุด

ความสัมพันธระหวาง MP และ MC สมมติวา กรณีนี้ใหแรงงานเปนปจจัยผันแปรเพียงตัวเดียว และคาแรง (w) มีคาคงที่ จะไดวา TVC=wL:

MC = dTVCdQ

=d wL( )dQ

= w dLdQ

MC = wdQ dL

= wMPL

เมื่อ MPL ลดลง ทำให MC เพิ่มขึ้น

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี8

Problem 1: กำหนดให ฟงกชันการผลิต (Production Function)กำหนดโดย โดยที่ K=4, r=10 และ w=4 Q = K

12L

12

จงหา TPL, APL, MPL, TC, TFC, TVC, ATC, AFC, AVC, และ MC

Page 5: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ขอสมมติ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี9

8.2 สวนผสมของปจจัยที่ทำใหตนทุนต่ำสุดตนทุนการผลิตในระยะยาว

ในการผลิตใชปจจัยการผลิตสองปจจัย คือ ปจจัยแรงงาน (L) และ ปจจัยทุน (K)ราคาปจจัยการผลิตประกอบดวย คือ คาแรง (w) และดอกเบี้ย (r)

เสนตนทุนเทากัน (Isocost Line)เสนตนทุนเทากัน เปนเสนที่แสดงถึงสวนประสมของปจจัย L และ ปจจัย K ที่ทำใหตนทุนรวมคงที่ตนทุนรวม (Total Cost) เปนผลรวมของตนทุนจากปจจัยทั้งสอง

TC = wL + rK 4จัดรูปสมการที่ (4) ใหม:

K = 5

L

K

0

TC0

r

TC0

w

Slope of each Isocost Line = − wr

Directions of Increasing total cost

อธิบายเพิ่มเติม

เมื่อตนทุนรวมเพิ่มขึ้น ทำให Isocost ขยับไปดานขวาความชันของเสน Isocost แสดงการทดแทนกันระหวางทุนและแรงงาน โดยมีตนทุนรวมเทาเดิม

6

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี10

Cost-Minimizing Input Combination

L

K

0

TC0

r

TC0

wTC1w

TC1r

Q0

พิจารณา จุด G: เปนจุดที่สามารถผลิต Q0 แตปญหาคือสูญเสียทรัพยากรโดยเปลาประโยชน เนื่องจาก ใชปจจัยทุนและแรงงานมากเกินไปในการผลิต Q0 จุด G ดังกลาวนี้ จึงถือวา Technically Inefficient

พิจารณา จุด E,F: เปนจุดที่ Technically Efficient แตไมเขาเงื่อนไขการผลิตดวยตนทุนต่ำสุด เนื่องจาก อยูบนเสนตนทุนเทากัน ที่สูงกวา ณ จุด A

ดังนั้น สวนผสมของปจจัยที่ทำใหตนทุนต่ำสุด (Least Cost Combination) เกิดขึ้น ณ จุด A ซึ่งเปนจุดสัมผัสระหวางเสน Isocost กับเสน Isoquant จะไดวา

−MRTSL ,K = − wr

ทำใหไดเงื่อนไข Least Cost Combination:

Page 6: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี11

Comparative Statics Analysis of Changes in Input Prices

L

K

0

ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น

C0

Q0

w0r

L1

K1A

คาแรงแพงขึ้น

w1 > w0( )

เมื่อคาแรงแพงขึ้น เสน Isocost จะชันขึ้น จาก C0 เปน C1

สวนประสมที่ไดตนทุนต่ำสุด เปลี่ยนจาก A เปน B ซึ่งจะพบวามีการใชปจจัยทุนมากขึ้น

L

K

0 C1Q0C0

wr0

L1

K1A

เมื่อดอกเบี้ยสูงขึ้น เสน Isocost จะชันนอยลง จาก C0 เปน C1

สวนประสมที่ไดตนทุนต่ำสุด เปลี่ยนจาก A เปน B ซึ่งจะพบวามีการใชปจจัยแรงงานมากขึ้น

r1 > r0( )

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี12

8.3 แนวทางการขยายการผลิตComparative Statics Analysis of Changes in Output

เสน Expansion Path:- เปนเสนที่เชื่อมจุด Least Cost Combination ของปจจัย L และ K เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขนาดการผลิต โดยที่ราคาปจจัยการผลิตคงที่

L

K

0 Q0Q1

Q2

L1

K1

L2

K2

L3

K3

สมมติวา บริษัทตองการขยายการผลิต โดยตองการผลิตเพิ่มจาก Q0=100 ตัน เพิ่มเปน Q1=200 ตัน และ Q2=300 ตัน ตามลำดับ

เมื่อราคาปจจัยคงที่ แตปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น จุดที่ทำใหเกิด Least Cost Combination เปนจุด A, B และ C ตามลำดับ เมื่อลากเสนเชื่อม จุด A, B และ C จะไดเสน Expansion Path โดยมีความชัน=K/L

ในกรณีนี้ จะสังเกตุไดวา ปจจัยที่ใช เปน Normal Inputs ดังนั้น เมื่อผลิตเพิ่มขึ้น จะตองใชปจจัยทั้งสองเพิ่มขึ้น เสน Expansion Path จึงมีความลาดชันเปนบวก

Page 7: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี13

การสรางเสนตนทุนรวมในระยะยาว

L

K

0 Q0Q1

Q2AB

C

L1

K1

L2

K2

L3

K3

Expansion Path

Q

Cost

0

สมมติวา บริษัทตองการขยายการผลิต โดยตองการผลิตเพิ่มจาก Q0=100 ตัน เพิ่มเปน Q1=200 ตัน และ Q2=300 ตัน ตามลำดับ แตระดับการผลิตดังกลาวตองใชตนทุน ดังนี้คือ C0=1,000 , C1=2,000 และ C3=3,000

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี14

8.4 เปรียบเทียบตนทุนการผลิตระยะสั้นและระยะยาวShort-run VS Long-run input demand

L

K

0 Q0Q1

Q2A

C

Long-runExpansion Path

B

ในระยะยาว เมื่อตองการขยายขนาดการผลิต จะมีการใชปจจัยรวมกันระหวางทุนและแรงงาน ตามเสน Expansion Path ซึ่งอยูภายใตเงื่อนไข Least Cost Combination

ในระยะสั้น:- ปจจัยทุนคงที่ ( ) หากตองการขยายขนาดการผลิตจะมีการปรับเปลี่ยนได

เฉพาะปจจัยแรงงาน (L) เทานั้น

K

เงื่อนไขดุลยภาพในระยะสั้น จึงไมเปนไปตามหลัก Least Cost Combinationที่จุด D บนเสน Isoquant (Q0) ไมอยูภายใตเงื่อนไขตนทุนการผลิตต่ำสุด ที่จุด B บนเสน Isoquant (Q1) เปนอยูภายใตเงื่อนไข Least Cost Combination ท้ังในระยะสั้นและระยะยาว

ที่จุด C บนเสน Isoquant (Q2) ไมอยูภายใตเงื่อนไขตนทุนการผลิตต่ำสุด สรุป ในระยะสั้น หนวยผลิตจะผลิตสินคาดวยตนทุนรวมที่สูงกวา ในระยะยาว

Page 8: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี15

Relationship between the Long-run and the Short Total Cost Curves

L

K

0 Q

Cost

0Q0

Q1A

Long-runExpansion Path

TC

L1 L2

K1

K2 C

rK1

CA

Q0 Q1

C0C1 C2

C0

C1

พิสูจน ในระยะสั้น หนวยผลิตจะผลิตสินคาดวยตนทุนรวมที่สูงกวา ในระยะยาวพิจารณาจุด A: ในการผลิต Q0 หนวยผลิตจะใชตนทุนรวมทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเทากัน

คือ เทากับ C0

พิจารณาจุด C, F: ในการผลิต Q1 ในระยะสั้น หนวยผลิตจะใชตนทุนรวม เทากับ C2 (จุด F อยูบนเสน C2) ในระยะยาว หนวยผลิตจะใชตนทุนรวม เทากับ C1 (จุด C อยูบนเสน C1)

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี16

ความสัมพันธระหวาง SAC, LAC และ SMC, LMC

Q

Cost

0

SAC1 SAC2

SAC3

SAC1(Q), when K=K1

SAC2(Q), when K=K2

SAC3(Q), when K=K3

A D

C

1 million 2 million 3 million

B$35

$110

$50$55

Q

Cost

0

SAC1 SAC2

SAC3

SAC1(Q), when K=K1

SAC2(Q), when K=K2

SAC3(Q), when K=K3

A D

C

1 million 2 million 3 million

B$35

$110

$50$55

Q

Cost

0

A C FSAC1

SAC2

SAC3AC(Q)SMC1

SMC2

SMC3

GB D

E

1 million 2 million 3 million

ตนทุนเฉลี่ยในระยะสั้นและระยะยาว ตนทุนเฉลี่ย ตนทุนสวนเพิ่ม ในระยะสั้นและระยะยาว

ตนทุนเฉลี่ยระยะสั้นเกิดจากปจจัยทุนที่แตกตางกัน

เสนตนทุนเฉลี่ยระยะสั้นแตละเสนสูงกวาในระยะยาว

ยกเวนที่ จุด B ซึ่งเปนจุดที่อยูภายใตเงื่อนไข Least Cost (ยอนกลับไปดู สไลดที่ 14)

เสน LAC เปนเสนเชื่อมตอจุดต่ำสุดของ SAC ตาง ๆเสน SMC แตละเสนผานจุดต่ำสุดของ SACจุด B เปนจุดที่ตนทุนทุกชนิด ทุกประเภทเทากัน

Page 9: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี17

8.5 Economies of Scale, Economies of Scope, Learning CurveEconomies of Scale

ความประหยัดเนื่องจากขนาดการผลิต (Economies of scale) ระดับการผลิตที่เมื่อทำการผลิตในปริมาณมากขึ้นแลวทำใหสามารถลดตนทุนการผลิตได

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี18

Economies of Scale

Q

Cost

0

LAC(Q)

LMC(Q)

A

เมื่อ LMC < LAC: ความสัมพันธระหวาง LMC กับ LAC

เมื่อ LMC > LAC: เมื่อ LMC = LAC: ในกรณีพิเศษ เมื่อ LAC คงที่ คาของ LMC กับ LAC เทากัน

Economies of Scale

Diseconomies of Scale

พิจารณาจาก: คาของ LAC ทีล่ดลงเมื่อผลิตมากขึ้น

พิจารณาจาก: คาของ LAC ท่ีเพิ่มขึ้นเมื่อผลิตมากขึ้น

Increasing returns to scaleสามารถใชเครื่องจักรที่ออกแบบพิเศษ

Lumpiness in investmentScale ที่ใหญขึ้น ชวยใหผูบริหารจัดกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพกวาเดิม

ไดสวนลด ปริมาณ และดอกเบี้ยถูกลง

ขนาดพื้นที่ที่กวางไป ทำใหประสิทธิภาพการทำงานของแรงงานลดลง

การบริหารซับซอนขึ้น ตรวจสอบการทำงานยากขึ้น

สวนลดปริมาณไมเพิ่มขึ้นอีก และความจำกัดของอุปทานปจจัย อาจทำใหคาปจจัยแพงขึ้น

Page 10: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี19

Economies of Scope ความประหยัดจากขอบเขตการผลิต (Economies of Scope) เกิดขึ้นเมื่อการผลิตสินคาหลายชนิดพรอมๆ กันแลวมีตนทุนรวมถูกกวา แยกกันผลิต

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี20

การวัด Economies of Scale และ Economies of Scope ความประหยัดเนื่องจากขนาดการผลิต (Economies of scale) สามารถวัดไดจาก cost-output elasticity, EC

EC คือเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของตนทุน

การผลิต ซึ่งเกิดจากการเพิ่มผลผลิตอีก 1 เปอรเซ็นต

6EC = dLTCdQ

× QLTC

=

ถา EC = 1, LMC = LAC

ถา EC < 1 เกิดเมื่อ LMC < LAC

ถา EC > 1 เกิดเมื่อ LMC > LAC

-ตนทุนเพิ่มในสัดสวนเดียวกับผลผลิตที่เพิ่มขึ้น-ไมมีทั้ง economies หรือ diseconomies of scale

- เปนกรณี Economies of scale (LAC กำลังทอดลง)

- เปนกรณี Diseconomies of scale- ทั้ง LMC และ LAC กำลังทอดขึ้น

เหตุผลที่ม ีความประหยัดจากขอบเขตการผลิต (Economies of Scope) เนื่องจาก หนวยผลิตสามารถใชปจจัยชุดเดียวกัน ในการบริหารจัดการ เชน ใชหนวยการเจาหนาที่หรือฝายบัญชีรวมกัน จึงสามารถใชประโยชนจากปจจัยตาง ๆ ไดอยางเต็มที่เพิ่มขึ้น

ความประหยัดจากขอบเขตการผลิต สามารถวัดไดจาก

TC Q1,Q2( ) < TC Q1,0( ) +TC 0,Q2( )

7

Page 11: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี21

Learning by Doingการเรียนรูดวยการปฏิบัติ (Learning by Doing) เมื่อเกิดการผลิตมากขึ้น ทำใหผูผลิตเกิดกระบวนการเรียนรู จนมีความชำนาญ ทำใหผลผลิตตอหนวยเพิ่มสูงขึ้น ตนทุนจึงลดลง

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี22

Learning by Doing VS Economies of Scale

Q

Cost

0

LAC1LAC2

A BC

Page 12: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

K

L0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี23

8.6 บทสงทาย: ตัวอยางการคำนวณ

(ก) การผลิตดังกลาวมี Returns to scale แบบใด อธิบาย

Q K,L( )= 2K12 ⋅L

12จากฟงกชันการผลิต:

ให จะไดวาm > 0,Q mK,mL( )= 2 mK( )

12 ⋅ mL( )

12

= 2 m( )12+12 K

12L

12

= 2m1K12L

12

นั่นคือ แสดงวา เปน Constant Return to Scaler = 1

(ข) คำนวณฟงกชัน MRTS ในรูปของ K และ L

MRTSLK = − MPLMPK

= − ∂Q ∂L∂Q ∂Kจากสูตร:

MRTSLK = − MPLMPK

= − ∂Q ∂L∂Q ∂K

(ค) หาคา ln ของ K/L จากนั้นคำนวณคา σ

σ = ∂ln K / L( )∂lnMRTSLK

=∂ln K / L( )∂ln K / L( ) = 1

MRTSLK = −

22K

12L

12−22

22K

12-22L

12

= −K LL K

= − KL

Q0

L

K αQ0

αL

αK αβQ0

αβL

αβK

Q = 2 K .Lตัวอยาง (ชยันต, 2550): กำหนดให โรงงานผลิตสินคาแหงหนึ่ง ทำการผลิตดวยฟงกชันการผลิต คือ โดยที่ Q คือ จำนวนผลผลิตรวม, K คือ จำนวนปจจัยทุน และ L คือ จำนวนปจจัยแรงงาน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี24

ตัวอยางการคำนวณ

(ง) กำหนดให K = 100 หนวยในระยะสั้น คาแรง = $4 และคาเชาเครื่องจักร = $1 จงคำนวณคาของ TC, AC, AFC, AVC, MC ในรูปของ Q [แนะนำ: ใชฟงกชันการผลิตใหเปนประโยชน]

Q = 2 K .LQ2 = 4KL

L = Q2

4K= Q2

4 100( ) =Q2

400--------------(1)

TC = wL + rK --------------(2)TC = 4( ) Q2

400⎛⎝⎜

⎞⎠⎟+ 1( ) 100( ) = 100 + Q2

100--------------(3)

AC = TCQ

= 100Q

+ Q2

100Q= 100Q

+ Q100 --------------(4)

AFC = 100Q

--------------(5)

MC = ∂TC∂Q

= 2Q100

= Q50

--------------(7)

AVC = Q100

--------------(6)

(จ) สมมติวาระยะยาวคาแรงงาน คือ w=10 บาท/วัน และคาเชา เทากับ r=10 บาท/วัน จะทำใหมีการใชสัดสวนของ K และ L อยางไร

min 10L +10K

s.t. 2 K .L =Q⎧⎨⎪

⎩⎪

⎫⎬⎪

⎭⎪The Lagrangian Function:⊥ L,K ,λ( ) = 10L +10K + λ Q − 2 K .L( )

∂⊥∂L

= 0 : 10 − λ KL = 0 ⇒λ K

L = 10 ------(1)∂⊥∂K

= 0 : 10 − λ LK = 0 ⇒λ L

K = 10 ------(2)∂⊥∂λ

= 0 : 2 K .L =Q ------(3)

(1)/(2):KL

LK

= 1 ⇒ KL= 1 ⇒ K = L ------(4)

แทน (4) ใน (3): 2 L*.L* =Q ⇒ L* = Q2

ดังนั้น L* =K* = Q2 ------(5)

Q = 2 K .Lตัวอยาง (ชยันต, 2550): กำหนดให โรงงานผลิตสินคาแหงหนึ่ง ทำการผลิตดวยฟงกชันการผลิต คือ โดยที่ Q คือ จำนวนผลผลิตรวม, K คือ จำนวนปจจัยทุน และ L คือ จำนวนปจจัยแรงงาน

Page 13: EC311-8 Cost Theory STecon.tu.ac.th/archan/Loylom/EC311-1-2556/EC311-1-2556_ST...Total Revenue Less Explicit costs: Wages & salaries Materials Interest paid Other payments Less Implicit

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี25

ตัวอยางการคำนวณ

(ฉ) ตอเนื่องจากขอ (จ) ถาบริษัทตองการผลิตสินคา 100 หนวย บริษัทนี้จะตองใช K และ L ปริมาณเทาใด

จากสมการที่ (5) เราทราบวา L* =K* = Q2

แทน Q=100 จะไดวา L* =K* = 1002

= 50

นั่นคือ ตองใชปจจัยทุนและแรงงาน อยางละ 50 หนวย

(ช) ตอเนื่องจากขอ (จ) ตนทุนการผลิตรวม (LTC) และเฉลี่ย (LAC) จะเปนเทาใด

ตนทุนการผลิตรวม (LTC):

LTC = 10L* +10K *

LTC = 10Q2+10Q

2LTC = 10Q

LAC = LTCQ

= 10QQ

= 10

Q = 2 K .Lตัวอยาง (ชยันต, 2550): กำหนดให โรงงานผลิตสินคาแหงหนึ่ง ทำการผลิตดวยฟงกชันการผลิต คือ โดยที่ Q คือ จำนวนผลผลิตรวม, K คือ จำนวนปจจัยทุน และ L คือ จำนวนปจจัยแรงงาน