29
พระราชบัญญัติ รถยนต .. ๒๕๒๒ ______________ ภูมิพลอดุลยเดช .. ใหไว วันทีพฤษภาคม .. ๒๕๒๒ เปนปที๓๔ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยรถยนต จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภา นิติบัญญัติแหงชาติ ทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนีมาตรา พระราชบัญญัตินี้เรียกวา พระราชบัญญัติรถยนต .. ๒๕๒๒มาตรา พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที๑๗ กันยายน .. ๒๕๒๒ เปนตนไป มาตรา ใหยกเลิก () พระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ () พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๔ () พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๕ () พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ () พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที) () พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๘ () พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที) พุทธศักราช ๒๔๗๙ () พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที) พุทธศักราช ๒๔๘๑ () พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที) พุทธศักราช ๒๔๘๑ (๑๐) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที๑๐) พุทธศักราช ๒๔๘๔ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม ๙๖ ตอนที๑๒ พฤษภาคม ๒๕๒๒

ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

พระราชบัญญัติ

รถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ______________

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๒

เปนปที่ ๓๔ ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยรถยนต จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒“

∗ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ (๒) พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๔ (๓) พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๕ (๔) พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (๕) พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒) (๖) พระราชบัญญัติรถยนตรแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๘ (๗) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๗) พุทธศักราช ๒๔๗๙ (๘) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๘) พุทธศักราช ๒๔๘๑ (๙) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๙) พุทธศักราช ๒๔๘๑ (๑๐) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๐) พุทธศักราช ๒๔๘๔

∗ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม ๙๖ ตอนที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๒๒

Page 2: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

(๑๑) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๑) พุทธศักราช ๒๔๘๔ (๑๒) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๒) พุทธศักราช ๒๔๙๔ (๑๓) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๓) พุทธศักราช ๒๕๐๒ (๑๔) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๔) พุทธศักราช ๒๕๐๓ (๑๕) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๕) พุทธศักราช ๒๕๐๖ (๑๖) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๖) พุทธศักราช ๒๕๑๒ (๑๗) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๐ ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๑๘) พระราชกําหนดแก ไขเพิ่ ม เติมพระราชบัญญั ติ รถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ พ.ศ. ๒๕๑๖ (๑๙) พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ (๒๐) พระราชบัญญัติรถยนตร (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๑๗ บรรดากฎหมาย กฎ ขอบังคับอ่ืนในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือ แยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “รถ” หมายความวา รถยนต รถจักรยานยนต รถพวง รถบดถนน รถแทรกเตอร และรถอืน่ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง(๑) “รถยนต” หมายความวา รถยนตสาธารณะ รถยนตบริการ และรถยนตสวนบุคคล “รถยนตสาธารณะ” หมายความวา (๑) รถยนตรับจางระหวางจังหวัด ซึ่งไดแก รถยนตรับจางบรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคน ที่ใชรับจางระหวางจังหวัด โดยรับสงคนโดยสารไดเฉพาะที่นายทะเบียนกําหนด (๒) รถยนตรับจาง ซึ่งไดแก รถยนตรับจางบรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคน หรือรถยนตสาธารณะอื่นนอกจากรถยนตโดยสารประจําทาง “รถยนตบริการ” หมายความวา รถยนตบรรทุกคนโดยสารหรือใหเชาซึ่งบรรทุกคนโดยสาร ไมเกินเจ็ดคน ดังตอไปนี้ (๑) รถยนตบริการธุรกิจ ซึ่งไดแก รถยนตที่ใชบรรทุกคนโดยสารระหวางทาอากาศยาน ทาเรอืเดินทะเล สถานีขนสง หรือสถานีรถไฟกับโรงแรมที่พักอาศัย ที่ทําการของผูโดยสารหรือที่ทําการของ ผูบริการธุรกิจนั้น

(๑) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๕) กําหนดใหรถใชงานเกษตรกรรมเปนรถตามกฎหมายวาดวยรถยนต โดยกําหนด

ลักษณะ ขนาด กําลังของเครื่องยนตและของรถดังกลาวไวดวย

Page 3: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

(๒) รถยนตบริการทัศนาจร ซึ่งไดแก รถยนตที่ผูประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการทองเที่ยวใชรับสงคนโดยสารเพื่อการทองเที่ยว (๓) รถยนตบริการใหเชา ซึ่งไดแก รถยนตที่จัดไวใหเชาซึ่งมิใชเปนการเชาเพื่อนําไปรับจางบรรทุกคนโดยสารหรือส่ิงของ ∗“รถยนตสวนบุคคล” หมายความวา (๑) รถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกินเจ็ดคน (๒) รถยนตนั่งสวนบุคลเกินเจ็ดคนแตไมเกินสิบสองคน และรถยนตบรรทุกสวนบุคคลที่มี น้ําหนักรถไมเกินหนึ่งพักหกรอยกิโลกรัม ซึ่งมิไดใชประกอบการขนสงเพื่อสินจางตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก “รถจักรยานยนต” หมายความวา รถที่เดินดวยกําลังเครื่องยนตหรือกําลังไฟฟา และมีลอ ไมเกินสองลอ ถามีพวงขางมีลอเพิ่มอีกไมเกินหนึ่งลอ และใหหมายความรวมถึงรถจักยานที่ติด เครื่องยนตดวย ∗∗ “รถจักรยานยนตสวนบุคคล” หมายความวา รถจักรยานยนตที่มิ ไดใช รับจางบรรทุก คนโดยสาร ∗∗ “รถจักรยานยนตสาธารณะ” หมายความวา รถจักรยานยนตที่ใชรับจางบรรทุกคนโดยสาร แตไมหมายรวมถึงรถจักรยานยนตที่มีพวงขางและรถจักรยานที่ติดเครื่องยนต “รถพวง” หมายความวา รถที่เคลื่อนที่ไปโดยใชรถอ่ืนลากจูง “รถบดถนน” หมายความวา รถที่ใชในการบดอัดวัสดุบนพื้นใหแนน และมีเครื่องยนต ขับเคลื่อนในตัวเอง หรือใชรถอ่ืนลากจูง “รถแทรกเตอร” หมายความวา รถที่มีลอหรือสายพาน และมีเครื่องยนตขับเคลื่อนในตัวเอง เปนเครื่องจักรกลขั้นพื้นฐานในงานที่เกี่ยวกับการขุด ตัก ดัน หรือฉุดลาก เปนตน หรือรถยนตสําหรับลากจูงซึ่งมิไดใชประกอบการขนสงสวนบุคคลตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก “เจาของรถ” หมายความรวมถึงผูมีรถไวในครอบครองดวย ∗ “ผูตรวจการ” หมายความวา ขาราชการสังกัดกรมการขนสงทางบก ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมแตงตั้งใหเปนผูตรวจการตามพระราชบัญญัตินี้ ∗∗∗ “นายทะเบียน” หมายความวา ขาราชการซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมแตงตั้งใหเปน นายทะเบียน

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ ∗∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐

Page 4: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

∗ “อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมการขนสงทางบก “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

∗∗ มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งนายทะเบียนและผูตรวจการ กับออกกฎกระทรวงกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้ (๑) ลักษณะ ขนาด หรือกําลังของเครื่องยนตและของรถที่จะรับจดทะเบียนเปนรถประเภทตางๆ เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ขนาด หรือกําลังของเครื่องยนตและของรถสําหรับรถประเภท ดังกลาว และการแกไขเพิ่มเติมทะเบียนรถและใบคูมือจดทะเบียนรถที่ไดเปลี่ยนแปลงแลว(๒) (๒) เครื่องอุปกรณสําหรับรถและการใชเครื่องอุปกรณดังกลาว เชน โคม เครื่องมองหลัง แตร เครื่องระงับเสียง ทอไอเสีย เครื่องสัญญาณไฟ เครื่องปดน้ําฝน และเครื่องอุปกรณอ่ืนที่จําเปน(๓) (๓) เครื่องสื่อสาร และการใชเครื่องสื่อสารระหวางรถกับศูนยบริการหรือสถานที่อ่ืน(๔) (๔) แผนปายทะเบียนรถ เครื่องหมายประเภทรถ และเครื่องหมายอื่น รวมทั้งวิธีแสดง แผนปายและเครื่องหมายดังกลาว(๕) (๕) สีและเครื่องหมายสําหรับรถยนตสาธารณะ(๖) (๖) น้ําหนักบรรทุกอยางมาก และจํานวนคนโดยสารอยางมากสําหรับรถยนตสวนบุคคลและรถยนตสาธารณะ(๗)

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๔) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๗) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗)

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๓๗) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๓๙) กําหนดลักษณะ ขนาด และกําลังของเครื่องยนตและของรถ ๗ ประเภท คือ รถยนตสาธารณะ รถยนตบริการ รถยนตสวนบุคคล รถจักรยานยนต รถพวง รถบดถนน รถแทรกเตอร และ

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๕) กําหนดลักษณะ ขนาด และกําลังของเครื่องยนตและของรถใชงานเกษตรกรรมเพิ่มเติม (๓) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ซ่ึงกําหนดเครื่องอุปกรณสําหรับรถและการใชเครื่องอุปกรณดังกลาว สําหรับ

รถยนต รถพวง รถจักรยานยนต รถพวงของรถจักรยานยนต รถบดถนนหรือรถแทรกเตอร และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๕) กําหนดเครื่องอุปกรณสําหรับรถและการใชเครื่องอุปกรณของรถใชงานเกษตรกรรม (๔) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ .ศ . ๒๕๓๙) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๓ (พ .ศ . ๒๕๔๒) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๙

(พ.ศ. ๒๕๔๕) (๕) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๕ (พ.ศ. ๒๕๓๙) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๐

(พ.ศ. ๒๕๔๑) (๖) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๓ (พ .ศ . ๒๕๒๗) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ .ศ . ๒๕๒๗) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖

(พ.ศ. ๒๕๓๗) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๓๙) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๗ (พ.ศ. ๒๕๔๕) ซ่ึงกําหนดลักษณะ ขนาด หรือกําลังของเครื่องยนต เครื่องอุปกรณที่จําเปน การมีและการใชเครื่องสื่อสาร เครื่องหมายแสดงการใชเครื่องสื่อสาร สี และเครื่องหมาย อายุการใชงาน และอัตราคาจางบรรทุกคนโดยสารสําหรับรถยนตรับจาง (Taxi-Meter) ในเขตกรุงเทพมหานคร

Page 5: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

(๗) เงื่อนไขในการใชลอยางตัน(๘) (๘) ประเภท ขนาด และน้ําหนักของรถที่จะไมใหเดินบนทางที่มิใชทางหลวง (๙) เงื่อนไขในการใชรถที่ลออยางอื่น นอกจากลอยางเดินทางที่มิใชทางหลวง (๑๐) ประเภทรถที่ตองกําหนดอายุการใชในเขตที่กําหนด (๑๑) ประเภทรถที่หามใชเดินในเขตที่กําหนด (๑๒) การงดรับจดทะเบียนรถประเภทใดประเภทหนึ่งในเขตที่กําหนด(๙) (๑๓) จํานวนรถยนตรับจางระหวางจังหวัด จังหวัดตนทางและจังหวัดปลายทางสําหรับ รถยนตดังกลาว ∗ (๑๔) อัตราคาจางบรรทุกคนโดยสารหรือคาบริการอื่น สําหรับรถยนตสาธารณะและ รถจักรยานยนตสาธารณะ(๑๐) ∗ (๑๕) เครื่องแตงกาย เครื่องหมาย ประวัติคนขับรถ บัตรประจําตัวคนขับรถ และการแสดง บัตรประจําตัวคนขับรถยนตสาธารณะ รถยนตบริการธุรกิจ รถยนตบริการทัศนาจร และรถจักรยานยนตสาธารณะ(๑๑) ∗ (๑๕/๑) ขอกําหนดวาดวยความปลอดภัยในการรับจางบรรทุกคนโดยสาร (๑๖) หลักสูตรและอุปกรณการสอนและการฝกหัดขับรถของโรงเรียนฝกหัดขับรถ(๑๒) (๑๗) คาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้(๑๓) (๑๘) กิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

(๗) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๒๔) (๘) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๒๖) ซ่ึงบังคับ “รถยนต” ซ่ึงมีน้ําหนัก ๓,๐๐๐ กิโลกรัมขึ้นไป ใหใชลอยางตันได แตยาง

ตันตองทานน้ําหนักตัวรถและน้ําหนักบรรทุกรวมกันเฉลี่ยลอหนึ่งไดไมตํ่ากวา ๑๒๐ กิโลกรัม ๑ เซนติเมตร ของสวนกวางของยางตัน (๙) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ใหงดรับจดทะเบียนรถยนตรับจางและรถยนตรับจางสามลอ และหามรถยนตรับจาง

สามลอเดินในเขตที่กําหนด ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ (๑๐) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ยกเลิกการควบคุมอัตราคาจางบรรทุกคนโดยสารสําหรับรถยนตสาธารณะ ดูกฎ

กระทรวง ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๓๗) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๐ (พ.ศ. ๒๕๔๖) กําหนดอัตราคาจางบรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคนที่จดทะเบียนในเขตจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร และดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๓๙) กําหนดอัตราคาจางบรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคนที่จดทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานคร

(๑๑) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๔) (๑๒) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๙ (พ.ศ. ๒๕๒๖) (๑๓) ดูกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมตามกฎหมายวาดวยรถยนต พ.ศ. ๒๕๔๖

Page 6: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๖ ในสวนที่เกี่ยวกับการจัดสรรเงินตามมาตรา ๔๑ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ดวย(๑๔) กฎกระทรวงนั้นเมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได

หมวด ๑ การจดทะเบียน เครื่องหมาย และการใชรถ

∗มาตรา

๖ หามมิใหผูใดใชรถที่ยังมิไดจดทะเบียน หามมิใหผูใดใชรถที่จดทะเบียนแลว แตยังมิไดเสียภาษีประจําปสําหรับรถนั้นใหครบถวน ถูกตองภายในเวลาที่กําหนด ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกรถที่นําเขามาเพื่อใชในราชอาณาจักรชั่วคราว โดยที่ผูนําเขาไมมีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร แตตองปฏิบัติตามขอตกลงที่รัฐบาลไทยทําไวกับ รัฐบาลของประเทศที่ผูนําเขามีสัญชาติ

มาตรา ๗ รถที่จะจดทะเบียนไดตอง (๑) เปนรถที่มีสวนควบและมีเครื่องอุปกรณสําหรับรถครบถวนถูกตองตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง(๑๕) และ ∗∗ (๒) ผานการตรวจสภาพรถ(๑๖) จากนายทะเบียน หรือจากสถานตรวจสภาพที่ไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก ในเวลาที่ขอจดทะเบียนแลว ในกรณีที่ขอจดทะเบียนเปนรถยนตสาธารณะ รถยนตบริการธุรกิจ หรือรถยนตบริการทัศนาจร รถนั้นตองมีลักษณะ ขนาด หรือกําลังของเครื่องยนตและของรถตามที่กําหนดในกฎ

(๑๔) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๓) กําหนดหลักเกณฑวิธีการจัดสรรเงินภาษีประจําปรวมทั้งเงินเพิ่มและคาธรรมเนียม ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๗ (๑๕) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๒๕) กําหนดอุปกรณและสวนควบสําหรับรถใชกาซเปนเช้ือเพลิง กฎกระทรวงกําหนด

สวนควบและเครื่องอุปกรณของรถยนตที่ใชกาซธรรมชาติอัดเปนเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๗ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๔๑) กําหนดอุปกรณและสวนควบสําหรับรถ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) กําหนดอุปกรณและสวนควบสําหรับรถยนตสามลอสําหรับคนพิการเพิ่มเติม

∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐ (๑๖) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๓๑) กําหนดหลักเกณฑการตรวจสภาพรถ

Page 7: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

กระทรวง(๑๗) และผูขอจดทะเบียนตองแจงสถานที่เก็บรถยนตสาธารณะ หรือรถยนตบริการซึ่งมีลักษณะตามที่กําหนดในกฎกระทรวงดวย(๑๘)

มาตรา ๘ รถดังตอไปนี้ใหไดรับยกเวนไมตองจดทะเบียน (๑) รถสําหรับเฉพาะพระองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ∗ (๒) รถของกรมตํารวจที่จดทะเบียนและมีเครื่องหมายตามระเบียบที่อธิบดีกรมตํารวจกําหนด (๓) รถของสํานักพระราชวังที่จดทะเบียนและมีเครื่องหมายตามระเบียบที่ เลขาธิการ พระราชวังกําหนด (๔) รถที่เจาของแจงการไมใชรถตามมาตรา ๓๔ (๕) รถที่ผูผลิตหรือประกอบเพื่อจําหนาย หรือผูนําเขาเพื่อจําหนาย ผลิต ประกอบหรือนําเขา และยังมิไดจําหนายใหแกผูอ่ืน

∗∗มาตรา ๙ รถดังตอไปน้ีใหไดรับยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียม เวนแตคาธรรมเนียมแผนปายทะเบียนรถ (๑) รถดับเพลิง (๒) รถพยาบาลที่มิใชเปนรถสําหรับรับจาง (๓) รถของกระทรวง ทบวง กรม เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด สุขาภิบาล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และราชการสวนทองถิ่นที่เรียกชื่ออยางอื่น ทั้งนี้ เฉพาะรถที่มิไดใชในทางการคาหรือหากําไร (๔) รถบดถนนของรัฐวิสาหกิจ (๕) รถแทรกเตอรของรัฐวิสาหกิจ (๖) รถของสภากาชาดไทย (๗) รถของบุคคลในคณะผูแทนทางการทูต คณะผูแทนทางกงสุล องคการระหวางประเทศ หรือทบวงการชํานัญพิเศษแหงสหประชาชาติ ซึ่งประจําอยูในประเทศไทย (๘) รถใชงานเกษตรกรรมตามลักษณะและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

(๑๗) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๕ (พ.ศ. ๒๕๒๗) และเชิงอรรถ (๒) (๑๘) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๔ (พ.ศ. ๒๕๑๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๔๗๓ ขอ ๒๐ ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๗

Page 8: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

∗มาตรา

๑๐ ผูใดประสงคจะขอจดทะเบียนรถ ใหยื่นคําขอตอนายทะเบียนแหงทองที่ที่ตนมีภูมิลําเนา เวนแตเจาของรถมีความประสงคจะนํารถไปใชในทองถิ่นอื่น ใหยื่นคําขอตอนายทะเบียนทองถิ่นนั้นได ในกรณีที่ผูขอเปนคนตางดาวและไมมีภูมิลําเนาในราชอาณาจักร ใหยื่นคําขอตอนายทะเบียนแหงทองที่ที่ตนมีถิ่นที่อยู การขอจดทะเบียนและการออกใบคูมือจดทะเบียนรถใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

∗∗มาตรา ๑๐/๑ ใหอธิบดีนําหมายเลขทะเบียนซึ่งเปนที่ตองการหรือเปนที่นิยมตามที่กําหนดในกฎกระทรวงออกเปดประมูลเปนการทั่วไป และใหถือวาราคาสูงสุดที่มีผูเสนอเปนอัตราคาธรรมเนียมพิเศษสําหรับการใชหมายเลขทะเบียนนั้น การเปดประมูลและการจดทะเบียนรถตามหมายเลขทะเบียนดังกลาว ใหเปนไปตาม หลักเกณฑ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนด เงินคาธรรมเนียมพิเศษที่ไดจากการประมูลตามมาตรานี้ ใหนําเขากองทุนตามมาตรา ๑๐/๒

∗∗มาตรา ๑๐/๒ ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในกรมการขนสงทางบก เรียกวา “กองทุน เพื่อความปลอดภัยในการใชรถใชถนน” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนทุนสนับสนุน และสงเสริมดานความปลอดภัยในการใชรถใชถนน และใหความชวยเหลือผูประสบภัยอันเกิดจากการใชรถใชถนน ประกอบดวย (๑) เงินคาธรรมเนียมพิเศษที่ไดจากการประมูลตามมาตรา ๑๐/๑ (๒) เงินหรือทรัพยสินที่มีผูมอบใหเพื่อสมทบกองทุน (๓) ดอกผลและรายไดจากกองทุน (๔) เงินและทรัพยสินอื่นที่ตกเปนของกองทุน ใหมีคณะกรรมการกองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใชรถใชถนน ประกอบดวย ปลัดกระทรวงคมนาคมเปนประธานกรรมการ ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ผูแทนกระทรวงสาธารณสุข ผูแทน สํานักงานตํารวจแหงชาติ ผูแทนกรมบัญชีกลาง ผูแทนสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร และผูทรงคุณวุฒิที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจํานวนสองคนเปนกรรมการ และอธิบดีกรมการขนสงทางบกเปนกรรมการและเลขานุการ เพื่อทําหนาที่บริหารกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคของ กองทุน การดํารงตําแหนงและการปฏิบัติหนาที่กรรมการ การบริหารกองทุนและการใชจายเงนิกองทนุใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๕ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

Page 9: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๙ ใหคณะกรรมการกองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใชรถใชถนนเสนองบแสดงฐานะ ทางการเงินภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีตอสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน เพื่อใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูสอบบัญชี และประเมินผลการใชจายเงินและทรัพยสินของ กองทุน โดยใหแสดงความคิดเห็นเปนขอวิเคราะหวาการใชจายดังกลาวเปนไปตามวัตถุประสงคและไดผลตามเปาหมายเพียงใด และเมื่อสํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดตรวจสอบรับรองงบการเงินแลว ใหทําบันทึกรายงานผลเสนอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

∗มาตรา

๑๐/๓ ใหนายทะเบียนมีอํานาจอนุญาตใหเจาของรถนําหมายเลขทะเบียนที่ออกใหสําหรับรถคันหนึ่งมาใชกับรถอีกคันหนึ่ง หรือนําหมายเลขทะเบียนที่ยังไมเคยออกใหสําหรับรถคันใดมาใชกับรถที่จดทะเบียนแลวได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีประกาศกําหนด

มาตรา ๑๑ รถที่จดทะเบียนแลว ตองมีและแสดงแผนปายและเครื่องหมายครบถวนถูกตองตามที่กําหนดในกฎกระทรวง(๑๙)

มาตรา ๑๒ รถใดที่จดทะเบียนแลว หากปรากฏในภายหลังวารถนั้นมีสวนควบหรือ เครื่องอุปกรณสําหรับรถไมครบถวนถูกตองตามที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๐) หรือเพิ่มส่ิงใดสิ่งหนึ่งเขาไปซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายแกรางกายหรือจิตใจของผูอ่ืน หามมิใหผูใดใชรถนั้นจนกวาจะจัดใหมีครบถวนถูกตองหรือเอาออกแลว ในกรณีที่นายทะเบียนเห็นวาเจาของรถไมอาจจัดใหมีครบถวนถูกตองหรือเอาออกได ใหนายทะเบียนสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนรถนั้น เจาของรถมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตออธิบดีภายในสิบหาวันนับแตวันที่ทราบคําสั่งของ นายทะเบียน คําวินิจฉัยของอธิบดีใหเปนที่สุด

มาตรา ๑๓ รถใดที่จดทะเบียนแลว หากมีการเปลี่ยนแปลงสีของรถให ผิดไปจากที่ จดทะเบียนไว เจาของรถตองแจงนายทะเบียนภายในเจ็ดวันนับแตวันเปลี่ยนแปลง การแจงตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ (๑๙) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๕ (พ .ศ . ๒๕๒๙) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๗ (พ .ศ . ๒๕๔๐) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๐

(พ.ศ. ๒๕๔๑) (๒๐) ดูเชิงอรรถ (๒) และ (๑๕)

Page 10: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๐ มาตรา ๑๔ รถใดที่จดทะเบียนแลว หามมิใหผูใดเปลี่ยนแปลงตัวรถหรือสวนใดสวนหนึ่งของรถใหผิดไปจากรายการที่จดทะเบียนไวและใชรถนั้น เวนแตเจาของรถนําไปใหนายทะเบียนตรวจสภาพกอน ∗ในกรณีที่นายทะเบียนเห็นวารถที่เปลี่ยนแปลงตามวรรคหนึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายในเวลาใชใหส่ังเจาของรถแกไขและนํารถไปใหตรวจสภาพกอนใช การตรวจสภาพดังกลาวนายทะเบียนจะสั่งใหเจาของรถนํารถไปใหตรวจสภาพ ณ สถานตรวจสภาพที่ไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบกก็ได และใหนํามาตรา ๑๒ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถา นายทะเบียนเห็นวารถนั้นปลอดภัยในเวลาใช ใหแกไขเพิ่มเติมรายการในทะเบียน และใบคูมือ จดทะเบียนรถนั้นดวย

∗∗ มาตรา ๑๕ ในกรณีที่นายทะเบียนหรือผูตรวจการเห็นวารถใดในขณะที่ใชมีลักษณะที่เห็นไดวานาจะไมปลอดภัยในการใช ใหมีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหเจาของรถนํารถนั้นไปใหนายทะเบยีน หรือสถานตรวจสภาพที่ไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบกตรวจสภาพภายในเวลาที่กําหนดได

∗มาตรา

๑๕ ทวิ การตรวจสภาพรถตามมาตรา ๗(๒) มาตรา ๑๔ วรรคสอง มาตรา ๑๕ หรือมาตรา ๓๖ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขตามที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๑)

มาตรา ๑๖ ในการยายรถไปไวตางทองที่ใหเจาของรถแจงตอนายทะเบียนภายในสิบหาวันนับแตวันยาย การแจงตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา ๑๗ ในการโอนรถที่จดทะเบียนแลว ผูโอนและผูรับโอนตองแจงตอนายทะเบียน ภายในสิบหาวันนับแตวันโอน ในกรณีที่ผูรับโอนจะนํารถตามวรรคหนึ่งออกนอกราชอาณาจักรภายในสิบหาวันนับแตวันโอน ตองไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากนายทะเบียนตามวรรคหนึ่งดวย การแจงตามวรรคหนึ่ง และการขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคสองใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา ๑๘ ในการนํารถออกนอกราชอาณาจักรไมวาดวยเหตุใดๆ ตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน เวนแตในกรณีดังตอไปนี้

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๑) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๓๑)

Page 11: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๑

(๑) การนํารถออกนอกราชอาณาจักรโดยไดรับอนุญาตตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง (๒) การรับจางบรรทุกคนโดยสารออกนอกราชอาณาจักร แลวนํารถกลับเขามาตามปกติกิจ (๓) กรณีอ่ืนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๒) การขออนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา ๑๙ ในการอนุญาตตามมาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๑๘ รัฐมนตรีมีอํานาจกําหนด เงื่อนไขใดๆ ในการใหนายทะเบียนอนุญาตและจะใหนายทะเบียนยกเวนหรือผอนผันการปฏิบัติหรือ ไมตองปฏิบัติตามเงื่อนไขนั้นๆ ก็ได ตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๒๐ ผูใดสั่งหรือนํารถหรือเคร่ืองยนตสําหรับรถเขามาในราชอาณาจักรเพื่อจําหนาย หรือผลิตหรือประกอบรถหรือเคร่ืองยนตสําหรับรถขึ้นใหมเพื่อจําหนาย ผูนั้นตองสงบัญชีประจําเดือนในการรับและจําหนายรถหรือเครื่องยนตสําหรับรถใหแกนายทะเบียนภายในวันที่สิบหาของเดือน ถัดไป บัญชีตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบทีอธิบดีกําหนด

มาตรา ๒๑ หามมิใหผูใดใชรถไมตรงตามประเภทที่จดทะเบียนไว เวนแตกรณีดังตอไปนี้ ∗ (๑) การใชรถยนตบริการธุรกิจ รถยนตบริการทัศนาจร หรือรถจักรยานยนตสาธารณะ ในกิจการสวนตัว (๒) การใชรถยนตสาธารณะในกิจการสวนตัว โดยมีขอความแสดงไวที่รถนั้นใหเห็นไดงายจากภายนอกวาใชในกิจการสวนตัว (๓) การใชรถยนตสาธารณะบรรทุกของที่ติดตัวไปกับผูโดยสาร ∗∗ (๓ ทวิ) การใชรถยนตบรรทุกสวนบุคคลที่มีน้ําหนักรถไมเกินหนึ่งพักหกรอยกิโลกรัม เปนรถยนตนั่งสวนบุคคลเกินเจ็ดคน หรือใชรถยนตนั่งสวนบุคคลเปนรถยนตบรรทุกสวนบุคคล (๔) ได รับอนุญาตจากนายทะเบียนตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดใน กฎกระทรวง

มาตรา ๒๒ หามมิให ผูใดใชรถยนต อ่ืนนอกจากรถยนตโดยสารประจําทางรับจางรับ คนโดยสาร ซึ่งเสียคาโดยสารเปนรายตัวตามรายทางในทางที่ไดรับอนุญาตใหมีรถยนตโดยสารประจําทางหรือในเขตจากทางนั้นไมเกินหนึ่งรอยเมตร

(๒๒) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๖ (พ.ศ. ๒๕๔๓) กําหนดใหผูสงออกรถใหมสําเร็จรูปจากโรงงานผูผลิตหรือประกอบรถเพื่อการ

สงออกไดรับยกเวนนํารถออกนอกราชอาณาจักรไดโดยไมตองขออนุญาตจากนายทะเบียน ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๘

Page 12: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๒ ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับในกรณีที่เปนการรับจางรับสงนักเรียน คนงาน นักทองเที่ยว หรือการรับสงผูโดยสารเปนครั้งคราว ซึ่งไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากนายทะเบียน

มาตรา ๒๓ ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นวา ในทองที่ใดการประกอบการรับจางบรรทุกคนโดยสารโดยใชรถยนตบรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคนหรือรถยนตรับจางระหวางจังหวัด สมควรใหดําเนินการโดยบริษัทมหาชนจํากัด บริษัทจํากัด หรือสหกรณ และตองไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียน ใหรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุทองที่สําหรับการรับจางดังกลาว ประกาศตามวรรคหนึ่ง ไมใชบังคับแกการประกอบการรับจางบรรทุกคนโดยสารโดยใชรถยนตรับจางบรรทุกคนโดยสารไดไมเกินเจ็ดคนหรือรถยนตรับจางระหวางจังหวัดซึ่งไดจดทะเบียนอยูกอนวันประกาศจนกวาจะพนสามปนับแตวันประกาศ กําหนดเวลาสามปตามวรรคสองถามีเหตุผลสมควร รัฐมนตรีอาจขยายออกไปไดอีกครั้งละ ไมเกินสองป แตจะขยายระยะเวลาเกินสองครั้งไมได การขยายระยะเวลาใหประกาศในราชกิจจา นุเบกษา การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๓)

∗มา

ตรา ๒๓/๑ หามมิให ผูใดใชรถจักรยานยนตเพื่อรับจางบรรทุกคนโดยสาร เวนแต รถจักรยานยนตนั้นไดจดทะเบียนเปนรถจักรยานยนตสาธารณะ ผูใดประสงคจะขอจดทะเบียนรถจักรยานยนตสาธารณะ ใหยื่นคําขอตอนายทะเบียนและ ใหนายทะเบียนรับจดทะเบียนไดเมื่อมีการปฏิบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวงและระเบียบที่อธิบดีกําหนดตามมาตรา ๑๐ กฎกระทรวงตามวรรคสองตองกําหนดใหมีคณะกรรมการประจําจังหวัด ซึ่งอยางนอยตองประกอบดวย ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เกี่ยวของ ผูแทนหนวยงานของรัฐที่มีหนาที่ควบคุม ดูแลรถยนต การจราจร หรือการขนสง และบุคคลอื่นตามจํานวนที่เหมาะสม เพื่อทําหนาที่กําหนดสถานที่รอรับคนโดยสาร เสนทางหรือทองที่ในการรับจางบรรทุกคนโดยสาร และหลักเกณฑการออกหนังสือรับรองการใชรถจักรยานยนตสาธารณะใหกับผูประสงคจะจดทะเบียนรถจักรยานยนตสาธารณะเพื่อนําไปแสดงเปนหลักฐานการขอจดทะเบียนตอนายทะเบียนตามวรรคสอง ในการนี้ อาจกําหนดใหมีคณะอนุกรรมการประจําทองที่ดวยก็ได การกําหนดอายุและการเพิกถอนทะเบียนรถจักรยานยนตสาธารณะ ใหเปนไปตามหลกัเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง

(๒๓) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๓ (พ.ศ. ๒๕๒๗) ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 13: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๓ มาตรา ๒๔ ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ มีอายุสามปนับแตวันออกใบอนุญาต แตอาจตออายุไดคราวละสามป ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะขอตออายุใบอนุญาต ตองยื่นคําขอกอนใบอนุญาตนั้นหมดอายุ และเมื่อไดยื่นคําขอแลวจะประกอบการตอไปก็ไดจนกวานายทะเบียนจะสั่งไมอนุญาตใหตออายุ ใบอนุญาตนั้น การขอตออายุใบอนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กําหนดในกฎกระทรวง (๒๔)

∗มาตรา

๒๔/๑ ในกรณีที่ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ สูญหาย หรือชํารุดในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตตอนายทะเบียนภายในสิบหาวันนับแตวันทราบเหตุ หากภายหลังไดใบอนุญาตที่สูญหายคืนมา ใหสงใบแทนใบอนุญาตนั้นแกนายทะเบียนภายใน สิบหาวันนับแตวันไดคืน การขอใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบยีบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา ๒๕ ผู รับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ ซึ่งไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ กฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได ∗ ใหผูรับใบอนุญาตซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตสงคืนใบอนุญาตแกนายทะเบียนภายใน สิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจงการสั่งเพิกถอนใบอนุญาต มาตรา ๒๖ ในกรณีที่นายทะเบียนมีคําสั่งไมออกใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ ไมตออายุ ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๔ หรือส่ังเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๒๕ ผูขอรับใบอนุญาต ผูขอตออายุใบอนุญาต หรือผูรับใบอนุญาต แลวแตกรณี มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีไดภายในหนึ่งเดอืนนับแตวันทราบคําสั่งนายทะเบียน คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด ในกรณีที่อุทธรณคําสั่งของนายทะเบียนตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๕ กอนที่จะมีคําวินิจฉัยอุทธรณ รัฐมนตรีอาจอนุญาตใหผูรับใบอนุญาตประกอบการไปพลางกอนไดเมื่อมีคําขอของ ผูอุทธรณ มาตรา ๒๗ ผูใดมีรถยนตไวเพื่อขายหรือเพื่อซอม ถาจะขับเองหรือใหผูอ่ืนขับเพื่อการนั้น ตองไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียน และใหขับไดระหวางพระอาทิตยข้ึนถึงพระอาทิตยตก เวนแต มีความจําเปนและไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน

(๒๔) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๓ (พ.ศ. ๒๕๒๗) ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 14: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๔ การขอใบอนุญาตและการออกใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๕) ในการออกใบอนุญาตใหนายทะเบียนออกเครื่องหมายพิเศษและสมุดคูมือประจํารถใหดวย เครื่องหมายพิเศษและสมุดคูมือประจํารถ ใหเปนไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง และ ใหใชสับเปลี่ยนกันไดไมเฉพาะคันรถ(๒๖)

มาตรา ๒๘ ในการขับรถยนตตามมาตรา ๒๗ ผูขับตองบันทึกรายการดังตอไปนี้ (๑) ชื่อรถ หมายเลขตัวรถ และหมายเลขเครื่องยนตของรถ (๒) ความประสงคในการขับรถยนต (๓) วัน เดือน ป และเวลาที่นํารถออกไปขับและกลับถึงที่ (๔) ชื่อ และชื่อสกุลของผูขับ

หมวด ๒ ภาษีประจําป

มาตรา ๒๙ ภาษีประจําปสําหรับรถมีอัตราที่กําหนดไวทายพระราชบัญญัตินี้ เวนแต (๑) รถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกินเจ็ดคนที่จดทะเบียนมาแลวหาป นับแตปที่จดทะเบียน คร้ังแรก ใหไดรับการลดหยอนภาษีประจําปในปตอๆ ไปในอัตรารอยละ ดังตอไปนี้ ปที่หก รอยละสิบ ปที่เจ็ด รอยละยี่สิบ ปที่แปด รอยละสามสิบ ปที่เกา รอยละสี่สิบ ปที่สิบและปตอ ๆ ไป รอยละหาสิบ (๒) รถซึ่งใชลออยางอื่นนอกจากยางกลวง ใหเก็บภาษีเพิ่มข้ึนจากอัตราที่กําหนดไวอีกกึ่งหนึ่ง

∗มาตรา

๒๙ ทวิ ในกรณีที่รถยนตคันใดไมใชเครื่องยนตลูกสูบที่จะคํานวณความจุของกระบอกสูบได หรือในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของกระบอกสูบหรือเครื่องยนต ใหเทียบเปนความจุของกระบอกสูบ หรือคํานวณความจุตามเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๗)

(๒๕) และ (๒๖) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๖ (พ .ศ . ๒๕๒๔) แกไขเพิ่ม เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ .ศ . ๒๕๓๑) และ

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๔ (๒๗) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๒๖) กําหนดเกณฑเทียบความจุหรือคํานวณความจุของกระบอกสูบของเครื่องยนต

Page 15: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๕

∗มาตรา

๒๙ ตรี ในการกําหนดความจุของกระบอกสูบของรถยนต เพื่อชําระภาษีประจําปใหนายทะเบียนประกาศความจุของกระบอกสูบของรถยนตแตละแบบไวดวยความเห็นชอบของกระทรวงอุตสาหกรรม ในกรณีที่ประกาศตามวรรคหนึ่งไมครอบคลุมถึงแบบของรถยนตคันใด ใหนายทะเบียนเก็บภาษีประจําปโดยถือความจุของกระบอกสูบตามหนังสือคูมือประจํารถยนตของรถยนตคันนั้น ทั้งนี้ ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมรับรอง และใหนายทะเบียนดําเนินการประกาศความจุของกระบอกสูบของรถยนตคันดังกลาวตอไป ประกาศตามวรรคหนึ่งและวรรคสองใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๐ ใหรถที่ไดรับยกเวนไมตองจดทะเบียนตามมาตรา ๘ และรถที่ไดรับยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียมตามมาตรา ๙ ไดรับยกเวนไมตองเสียภาษีประจําปดวย

มาตรา ๓๑ ในกรณีที่เห็นเปนการสมควร ใหรัฐมนตรีมีอํานาจลดภาษีประจําปสําหรับรถในเขตทองที่ใดหรือในกรณีใดลงจากอัตราที่กําหนดไวในมาตรา ๒๙ ได การลดตามวรรคหนึ่ง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา

∗∗มาตรา ๓๒ เจาของรถมีหนาที่เสียภาษีประจําป ภาษีประจําปใหเสียลวงหนาคราวละหนึ่งป ถามิไดเสียภาษีภายในเวลาที่กําหนดใหเจาของรถนั้นชําระเงินเพิ่มอีกรอยละหนึ่งตอเดือนหรือเศษของเดือนของจํานวนภาษีที่ตองชําระ เงินเพิ่มตามมาตรานี้ใหถือเปนเงินภาษี รถที่ไดเสียภาษีประจําปสําหรับปใด ถาเปลี่ยนเจาของรถ เจาของใหมไมตองเสียภาษีประจําปในปนั้นอีก

มาตรา ๓๓ ในกรณีที่มีการจดทะเบียนเปลี่ยนประเภทรถหรือเปลี่ยนการใชรถผิดไปจากที่ จดทะเบียนไวในระหวางป ถาเปนเหตุใหเสียภาษีลดลง เจาของรถไมมีสิทธิไดรับคืนคาภาษีสวนที่ เสียเกิน แตถาตองเสียภาษีเพิ่มข้ึน เจาของรถตองเสียภาษีเฉพาะสวนที่เพิ่มข้ึนใหครบถวนถูกตอง เมื่อจะตองขอจดทะเบียน

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๔ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ ความเดิมเปนดังนี้

“มาตรา ๓๒ เจาของรถมีหนาที่เสียภาษีประจําป ภาษีประจําปใหเสียลวงหนาคราวละหนึ่งป ถามิไดเสียภาษีภายในเวลาที่กําหนดใหเจาของรถนั้นชําระเงินเพิ่มอีกรอยละ

ยี่สิบของจํานวนภาษีที่คางชําระ รถใดที่เสียภาษีประจําปสําหรับปใด แมในปนั้นจะไมไดใช เจาของรถก็ไมมีสิทธิไดรับคืนภาษี ถาเปลี่ยนเจาของรถในปใด

เจาของใหมไมตองเสียภาษีประจําปสําหรับรถนั้นในปนั้นอีก”

Page 16: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๖ มาตรา ๓๔ รถใดที่จดทะเบียนแลว แมจะไมไดใชก็ตองเสียภาษีประจําปตามมาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๑ แลวแตกรณี และมาตรา ๓๒ เวนแตเจาของรถจะแจงการไมใชตอนายทะเบียนกอนถึงกําหนดเสียภาษีประจําปคร้ังตอไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๘)

มาตรา ๓๕ ผูใดมีหนาที่เสียภาษีประจําปแลวไมเสียภาษีประจําปภายในเวลาที่กําหนด นายทะเบียนอาจแจงเปนหนังสือใหผูนั้นนําเงินไปชําระภาษีประจําปใหถูกตองครบถวน ณ ที่ทําการของนายทะเบียนภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดรับแจง ในกรณีที่ผูนั้นไมปฏิบัติตามคําสั่งในวรรคหนึ่ง ใหนายทะเบียนมีอํานาจยึดรถนั้นไวได

∗มาตรา ๓๕/๑ ในระหวางที่เจาของรถคางชําระภาษีประจําป ใหนายทะเบียนมีอํานาจที่จะ ไมรับดําเนินการทางทะเบียนจนกวาเจาของรถจะเสียภาษีที่คางชําระใหครบถวนกอน หรือไดมีการดําเนินการตามมาตรา ๓๕/๒ วรรคสอง แลว ∗มาตรา

๓๕/๒ รถที่คางชําระภาษีประจําปไมถึงสามป หากเจาของรถประสงคจะขอเสยีภาษีประจําปเพื่อใชรถในปนั้น ใหนายทะเบียนรับชําระภาษีนั้นได สําหรับภาษีที่คางชําระ ใหนายทะเบียนกําหนดจํานวนเงิน และระยะเวลาในการชําระตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนด ในกรณีที่เจาของรถผิดนัดไมเสียภาษีที่คางชําระตามวรรคสองใหครบถวน นายทะเบียนมีอํานาจไมรับดําเนินการทางทะเบียน จนกวาเจาของรถจะเสียภาษีที่คางชําระใหครบถวน

∗ มาตรา ๓๕/๓ รถที่คางชําระภาษีประจําปติดตอกันครบสามป ใหการจดทะเบียนรถเปนอันระงับไป ในการนี้ใหนายทะเบียนประกาศหมายเลขทะเบียนพรอมทั้งจํานวนภาษีที่คางชําระไว ณ ที่ทําการนายทะเบียนและในสถานที่ที่อธิบดีประกาศกําหนด และแจงใหเจาของรถทราบ และใหบุคคลดังกลาวสงคืนแผนปายทะเบียนรถตอนายทะเบียนและนําใบคูมือจดทะเบียนรถมาแสดงตอนายทะเบียนเพื่อบันทึกหลักฐานการระงับทะเบียนรถภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดแจงและปดประกาศดังกลาว ในกรณีที่เจาของรถมิไดดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ใหนายทะเบียนหรือผูตรวจการหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจยึดแผนปายทะเบียนรถได ใหภาระภาษีประจําปหลังจากปที่สามเปนอันระงับไป แตเจาของรถยังคงตองเสียภาษีที่ คางชําระใหครบถวน และใหนํามาตรา ๓๕/๑ และมาตรา ๓๕/๒ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับ โดยอนุโลม

(๒๘) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๒๔) กําหนดหลักเกณฑการแจงไมใชรถเปน ๒ กรณี คือ แจงไมใชรถช่ัวคราว (๒ ป)

และแจงไมใชรถตลอดไป ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖

Page 17: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๗

∗มาตรา

๓๖ นายทะเบียนมีอํานาจออกประกาศหรือส่ังเปนหนังสือใหเจาของรถนํารถไปตรวจ ณ ที่ทําการของนายทะเบียน หรือสถานตรวจสภาพที่ไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการขนสง ทางบก

∗∗มาตรา ๓๗ นายทะเบียนและผูตรวจการซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเขาตรวจในที่ที่มีเหตุ อันควรสงสัยวามีรถคางชําระภาษีประจําป และยึดรถนั้นไวเพื่อตรวจสอบได การเขาตรวจตามวรรคหนึ่ง ใหกระทําระหวางพระอาทิตยข้ึนถึงพระอาทิตยตก ∗∗มาตรา ๓๘ ในกรณีที่ผูตรวจการซึ่งอธิบดีมอบหมายเปนผูตรวจและยึดตามมาตรา ๓๗ ใหนําสงนายทะเบียนโดยมิชักชา และใหนํามาตรา ๓๕ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๓๙ รถที่ยึดมาตามมาตรา ๓๕ วรรคสอง หรือมาตรา ๓๗ ใหนายทะเบียนเก็บรักษาไวสิบหาวัน ถาเจาของรถไมนําเงินคาธรรมเนียมและคาใชจายในการยึดรถไปชําระใหถูกตองครบถวนภายในกําหนดเวลาดังกลาวใหจัดการขายทอดตลาดรถนั้น ∗∗∗ในการขายทอดตลาด หามมิใหนายทะเบียนหรือผูตรวจการเขาสูราคา ถาขายทอดตลาดไดเงินเกินคาภาษี คาธรรมเนียม และคาใชจายในการยึดและขายรถ ใหคืนเงินที่เหลือแกเจาของรถ

มาตรา ๔๐ ผูใดแจงความนําจับรถที่เจาของรถมิไดชําระภาษีประจําปภายในเวลาที่กําหนดเมื่อคดีถึงที่สุดแลว ใหผูนั้นไดรับรางวัลนําจับ ในอัตรารอยละหกสิบของจํานวนเงินเพิ่มของภาษทีีต่องชําระ

∗∗∗∗มาตรา ๔๑ เงินภาษีประจําปรวมทั้งเงินเพิ่มและคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตคาธรรมเนียมแผนปายทะเบียนรถที่จัดเก็บไดในกรุงเทพมหานครใหตกเปนรายไดของกรุงเทพมหานคร สวนในจังหวัดอื่นใหตกเปนรายไดขององคการบริการสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล ในจังหวัดนั้น เมืองพัทยาและราชการสวนทองถิ่นที่ เรียกชื่ออยางอื่น โดยใหกระทรวงมหาดไทยจัดสรรตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง(๒๙)

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐ ∗∗ มาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง ไดมีการแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ ∗∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ ∗∗∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๗ (๒๙) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๓) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการจัดสรรเงินภาษี

Page 18: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๘

หมวด ๓ ใบอนุญาตขับรถ

มาตรา ๔๒ ผูขับรถตองไดรับใบอนุญาตขับรถและตองมีใบอนุญาตขับรถและสําเนาภาพถายใบคูมือจดทะเบียนรถในขณะขับหรือควบคุมผูฝกหัดขับรถเพื่อแสดงตอเจาพนักงานไดทันที เวนแตผูฝกหัดขับรถยนตตามมาตรา ๕๗(๓๐) ∗ ในกรณีที่ผูขับรถเปนคนตางดาวซึ่งไดรับอนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง ผูขับรถซ่ึงเปนคนตางดาวนั้นจะใชใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๒ ทวิ ขับรถในราชอาณาจักรก็ได และในกรณีนี้จะตองมีใบอนุญาตขับรถดังกลาว พรอมดวยเอกสารตามที่ระบุไวในอนุสัญญา และหรือความตกลงที่มีอยูระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลของประเทศนั้นๆ เพื่อแสดงตอเจาพนักงานไดทันที

∗ มาตรา ๔๒ ทวิ ในกรณีที่มีความตกลงระหวางรัฐบาลไทยและรัฐบาลตางประเทศวาดวยการยอมรับใบอนุญาตขับรถภายในประเทศซึ่งกันและกัน คนตางดาวซึ่งไดรับอนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง และมีใบอนุญาตขับรถที่ออกโดยพนกังานเจาหนาที่หรือสมาคมยานยนตที่ไดรับอนุญาตจากรัฐบาลของประเทศที่มีความตกลงดังกลาวกับ รัฐบาลไทยอาจใชใบอนุญาตขับรถของประเทศนั้นขับรถในราชอาณาจักรไดตามประเภทและชนิดของรถที่ระบุไวในใบอนุญาตขับรถนั้น แตตองปฏิบัติตามอนุสัญญาและหรือความตกลงที่มีอยูระหวาง รัฐบาลไทยกับรัฐบาลของประเทศนั้นๆ และตามบทบัญญัติทั้งหลายในสวนที่เกี่ยวกับหนาที่ของผูขับรถตามพระราชบัญญัตินี้

∗∗ มาตรา ๔๓ ใบอนุญาตขับรถมีดังนี้ (๑) ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล รถยนตสามลอสวนบุคคล หรือรถจักรยานยนต สวนบุคคลชั่วคราว (๒) ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล (๓) ใบอนุญาตขับรถยนตสามลอสวนบุคคล (๔) ใบอนุญาตขับรถยนตสาธารณะ

(๓๐) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีคําวินิจฉัยกรณีที่ผูขับรถตองมีสําเนาภาพถายใบคูมือจดทะเบียนรถในขณะขับรถวา

ไมนําไปใชกับรถที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ดูบันทึกเรื่อง การตีความมาตรา ๔๒ แหงพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๓๐ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 19: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๑๙

(๕) ใบอนุญาตขับรถยนตสามลอสาธารณะ (๖) ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนตสวนบุคคล (๖/๑) ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนตสาธารณะ (๗) ใบอนุญาตขับรถบดถนน (๘) ใบอนุญาตขับรถแทรกเตอร (๙) ใบอนุญาตขับรถชนิดอื่นนอกจาก (๑) ถึง (๘) (๑๐) ใบอนุญาตขับรถตามความตกลงระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคี ใบอนุญาตขับรถตาม (๑) ใชสําหรับขับรถยนตบริการใหเชา เฉพาะในกรณีที่ผูขับรถเปนผูเชาไดดวย ใบอนุญาตขับรถตาม (๒) ใชสําหรับขับรถยนตบริการใหเชาไดดวย ใบอนุญาตขับรถตาม (๔) ใชสําหรับขับรถยนตบริการและใชแทนใบอนุญาตขับรถตาม (๒) ไดดวย ใบอนุญาตขับรถตาม (๕) ใชแทนใบอนุญาตขับรถตาม (๓) ไดดวย และใบอนุญาตขับรถตาม (๖/๑) ใชแทนใบอนุญาตขับรถตาม (๖) ไดดวย นอกนั้นใชแทนกันไมได

∗ มาตรา ๔๓ ทวิ ใบอนุญาตเปนผู ขับรถในประเภทการขนสงประจําทาง การขนสง ไมประจําทาง หรือการขนสงโดยรถขนาดเล็ก ตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก ใหใชแทน ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลตามมาตรา ๔๓(๒) และใบอนุญาตขับรถยนตสาธารณะ ตามมาตรา ๔๓(๔) ได ใบอนุญาตเปนผูขับรถในประเภทการขนสงสวนบุคคล ตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก ใหใชแทนใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลตามมาตรา ๔๓(๒) ได

∗∗ มาตรา ๔๔ ใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๑) มีอายุหนึ่งปนับแตวันออกใบอนุญาตขับรถ ∗∗∗ ใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๒) (๓) (๖) (๗) (๘) และ (๙) มีอายุหาปนับแตวันออก ใบอนุญาตขับรถ ใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๔) (๕) และ (๖/๑) มีอายุสามปนับแตวันออก ใบอนุญาตขับรถ และอาจขอตออายุใบอนุญาตขับรถไดอีกคราวละหาปหรือสามป แลวแตกรณี

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๓๗ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ ความเดิมเปนดังนี้

“มาตรา ๔๔ ใบอนุญาตผูขับรถตามมาตรา ๔๓(๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๙) มีอายุหนึ่งป และใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓(๗) และ (๘) มีอายุสามปนับแตวันออก และอาจตออายุไดอีกคราวละหนึ่งปหรือสามป แลวแตกรณี ใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓(๒)(๓) และ (๖) ที่เสียคาธรรมเนียมในอัตราตลอดชีพมีอายุตลอดชีพของผูไดรับใบอนุญาต การขอตออายุใบอนุญาตและการอนุญาตวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง”

∗∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 20: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๐

โดยผูขอตออายุใบอนุญาตตองผานการทดสอบสมรรถภาพของรางกายตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง (๓๑) ในกรณีที่วันครบกําหนดอายุใบอนุญาตตามวรรคสองไมตรงกับวันครบรอบวันเกิดของผูไดรับใบอนุญาตขับรถ ใหขยายอายุใบอนุญาตตอไปจนถึงวันครบรอบวันเกิดของผูไดรับใบอนุญาตขับรถในปนั้นหรือในปถัดไป แลวแตกรณี โดยใหถือวาวันดังกลาวเปนวันที่ใบอนุญาตขับรถครบกําหนดอายุ ในกรณีที่ผูไดรับใบอนุญาตขับรถเกิดในวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ และในปที่ใบอนุญาตขับรถครบกําหนดอายุตามวรรคสองนั้นไมมีวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ใหถือเอาวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ เปนวันครบรอบวันเกิด การขอตออายุใบอนุญาตขับรถ และการอนุญาตใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กําหนดในกฎกระทรวง(๓๒)

มาตรา ๔๕ ผูใดประสงคจะขอใบอนุญาตขับรถ ตองเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัตินี้ และยื่นคําขอตอนายทะเบียนแหงทองที่ที่ตนมีภูมิลําเนาหรือมีถิ่นที่อยู การขอใบอนุญาตขับรถและการออกใบอนุญาตขับรถ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง(๓๓)

มาตรา ๔๖ ผูขอใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๑) ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหาม ดังตอไปนี้ ∗(๑) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ แตถาเปนผูขอใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต สวนบุคคลชั่วคราว สําหรับรถจักรยานยนตที่มีขนาดความจุของกระบอกสูบรวมกันไมเกินที่กําหนดในกฎกระทรวงตองมีอายุไมต่ํากวาสิบหาปบริบูรณ (๒) มีความรูความสามารถในการขับรถ (๓) มีความรูในขอบังคับการเกินรถตามพระราชบัญญัตินี้ และตามกฎหมายวาดวย การจราจรทางบก (๔) ไมเปนผูมีรางกายพิการจนเปนที่เห็นไดวาไมสามารถขับรถได (๕) ไมมีโรคประจําตัวที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมเห็นวาอาจเปนอันตรายขณะขับรถ (๖) ไมเปนบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน

(๓๑) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอและการออกใบอนุญาตขับรถ และการขอตออายุและการอนุญาตใหตอ

อายุใบอนุญาตขับรถ พ.ศ. ๒๕๔๖ (๓๒) และ (๓๓) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอและการออกใบอนุญาตขับรถ และการขอตออายุและการ

อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตขับรถ พ.ศ. ๒๕๔๖ ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๘

Page 21: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๑ (๗) ไมมีใบอนุญาตขับรถชนิดเดียวกันอยูแลว (๘) ไมเปนผูอยูในระหวางถูกยึดหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ

∗มาตรา

๔๗ ผูขอใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๖/๑) ตอง (๑) ไดรับใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๑) มาแลวไมนอยกวาหนึ่งป (๒) มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๔๖ และ (๓) ไมเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษหรือถูกเจาพนักงานเปรียบเทียบปรับต้ังแต สองครั้งขึ้นไป สําหรับความผิดเกี่ยวกับการขับรถอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ เวนแตจะพนโทษ คร้ังสุดทายไมนอยกวาหกเดือนแลว (ก) ฝาฝนสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจร (ข) ในขณะเมาสุราหรือของเมาอยางอื่น (ค) ในลักษณะกีดขวางการจราจร (ง) ใชความเร็วเกินอัตราที่กฎหมายกําหนด (จ) โดยประมาทหรือนาหวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสิน (ฉ) โดยไมคํานึงถึงความปลอดภัยหรือความเดือดรอนของผูอ่ืน

∗∗มาตรา ๔๘ (ยกเลิก) ∗ มาตรา ๔๙ ผูขอใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๔) (๕) หรือ (๖/๑) ตอง (๑) ไดรับใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๑) มาแลวไมนอยกวาหนึ่งป (๒) มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๔๖ แตตองมีอายุไมต่ํากวายี่สิบสองปบริบูรณ สําหรับผูขอใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๔) หรือ (๕) และยี่สิบปบริบูรณ สําหรับผูขอ ใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๖/๑) (๓) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๔๗ (๓) (๔) มีสัญชาติไทย (๕) รูจักถนนและทางหลวงในจังหวัดที่ขอรับใบอนุญาตขับรถพอสมควร (๖) ไมเปนผูมีโรคติดตอนารังเกียจตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๗) ไมเปนผูติดสุรายาเมาหรือยาเสพติดใหโทษ

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ ∗∗ ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ ความเดิมเปนดังนี้

“ มาตรา ๔๘ ผูขอใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๒) (๓) หรือ (๖) ตลอดชีพ ตอง (๑) ไดรับใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๒) (๓) หรือ (๖) แลวแตกรณี มาแลวไมนอยกวาหนึ่งป (๒) มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๔๖ เวนแตตองมีอายุไมตํ่ากวายี่สิบหาปบริบูรณ (๓) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๔๗ (๓) ”

Page 22: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๒ (๘) ไมเคยเปนผูไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกในความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดตอชีวิต ความผิดตอรางกาย ความผิดตอเสรีภาพ ความผิดฐานลักทรัพยและวิ่งราวทรัพย ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย ชิงทรัพยและปลนทรัพย ความผิดฐานยักยอก ความผิดฐานรับของโจร และความผิดฐานทําให เสียทรัพยตามประมวลกฎหมายอาญา หรือความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษตามกฎหมายวาดวย ยาเสพติดใหโทษหรือโดยคําสั่งที่ชอบดวยกฎหมายใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือพนโทษมาแลวไมนอยกวาสามป

∗มาตรา

๕๐ ในกรณีที่ผูขอรับใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๔) (๕) หรือ (๖/๑) เปนผูขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๔๙ (๘) แตพนโทษจําคุกมาแลวไมนอยกวา (๑) หกเดือนสําหรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาไมเกินสามเดือน (๒) หนึ่งปสําหรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาไมเกินสามเดือนในคดีเกี่ยวดวยการใชรถกระทาํความผิด หรือ (๓) หนึ่งปหกเดือนสําหรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาเกินสามเดือนแตไมเกินสามป และไดยื่นคํารองตอนายทะเบียนโดยชี้แจงถึงเหตุผลที่ตนตองโทษพรอมกับแสดงหลักฐาน วาตนเปนบุคคลที่มีความประพฤติเรียบรอยควรไววางใจใหขับรถยนตสาธารณะหรือรถจักรยานยนตสาธารณะได แลวแตกรณี ใหนายทะเบียนดําเนินการสอบสวนคํารองดังกลาว ถาเห็นดวยกับคํารอง ก็ใหมีอํานาจออกใบอนุญาตขับรถใหไดโดยมิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๔๙ (๘) มาใชบังคับ แตถา ไมเห็นดวย ใหส่ังยกคํารองและแจงใหผูขอทราบ ผูขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตออธิบดีภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับคําสั่งยกคํารอง จากนายทะเบียน คําสั่งของอธิบดีใหเปนที่สุด

มาตรา ๕๑ ผูขอใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๗) (๘) หรือ (๙) ตอง (๑) มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๔๖ (๒) มีความรูความสามารถในการขับรถประเภทนั้นๆ เปนอยางดี

∗ มาตรา ๕๑/๑ ผูมีใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๒) (๔) (๕) (๖) และ (๖/๑) มีสิทธิขอรับใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๑๐)

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 23: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๓

มาตรา ๕๒ ใหนายทะเบียนแตงตั้งผูซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๓๔) ตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ และมาตรา ๕๑

มาตรา ๕๓ ผูใดไดรับใบอนุญาตขับรถประเภทใดแลว หากปรากฏในภายหลังวาเปนผูขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามที่กําหนดไวสําหรับผูขอรับใบอนุญาตขับรถประเภทนั้น ใหนายทะเบียนสั่งเพิกถอนใบอนุญาตขับรถนั้น ∗ ใหนายทะเบียนมีอํานาจเรียกผูไดรับใบอนุญาตขับรถมาตรวจสอบคุณสมบัติหรือลักษณะตองหามได หากมีเหตุอันควรเชื่อวาผูไดรับใบอนุญาตขับรถขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามอยางหนึ่งอยางใดตามที่กําหนดไวสําหรับผูขอรับใบอนุญาตขับรถประเภทนั้น

∗ มาตรา ๕๓/๑ ในกรณีที่ ผู ได รับใบอนุญาตขับรถฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติ แหงพระราชบัญญัตินี้ ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่งพักใชใบอนุญาตขับรถไดคราวละไมเกินหกเดือน ในกรณีที่ผูไดรับใบอนุญาตขับรถยนตสาธารณะหรือรถจักรยานยนตสาธารณะกระทํา ความผิดในกรณีดังตอไปนี้ นายทะเบียนจะสั่งเพิกถอนใบอนุญาตขับรถเสียก็ได (๑) กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ซ้ําในขอหาเดียวกับความผิดครั้งกอนภายในเวลาหนึ่งเดือนนับแตวันที่ความผิดครั้งกอนเกิดขึ้น (๒) ไมมารายงานตนตอนายทะเบียนตามที่นายทะเบียนสั่งเปนหนังสือไปแลวไมนอยกวาสองครั้ง โดยมีระยะเวลาหางกันไมนอยกวาหนึ่งเดือน ทั้งนี้ โดยไมมีเหตุสมควร (๓) เรียกเก็บคาโดยสารหรือคาบริการอื่นเกินกวาอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง

∗ มาตรา ๕๓/๒ ผูซึ่งถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับรถมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ ตออธิบดีไดภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งจากนายทะเบียน ใหอธิบดีวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่งภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสืออุทธรณ ถาไมวินิจฉัยชี้ขาดภายในเวลาดังกลาวใหถือวาอธิบดีวินิจฉัยไมใหพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตขบัรถ ตามหนังสืออุทธรณของผูขับรถ คําสั่งของอธิบดีใหเปนที่สุด การอุทธรณตามวรรคหนึ่งไมเปนการทุเลาการบังคับตามคําสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ

(๓๔) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๒๖) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๑) ∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 24: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๔

∗ มาตรา ๕๓/๓ ใหผูไดรับใบอนุญาตขับรถซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตขับรถสงคืนใบอนุญาตนั้นแกนายทะเบียนภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจงการสั่งเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ

มาตรา ๕๔ ผูใดไดรับใบอนุญาตขับรถแลว หากปรากฏวา (๑) ตองคําพิพากษาถึงที่สุดวาไดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ไมปฏิบัติตามคําสั่งอันชอบดวยกฎหมายของเจาพนักงานจราจร หรือพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการจราจรทางบก (๓) ตองคําพิพากษาถึงที่สุดวาไดกระทําความผิดฐานขับรถ หรือกระทําการใดๆ อันนาจะเปนภัยตอประชาชน หรือ (๔) มีผูกลาวโทษวาทําลายความสงบสุขของประชาชนในถนนหรือทางหลวงโดยขูเข็ญ ดูหมิ่น รังแก หรือรบกวนคนขับรถดวยกันหรือผูโดยสาร นายทะเบียนมีอํานาจเรียกใบอนุญาตขับรถมายึดไวได แตหามมิใหยึดเกินหนึ่งป ∗ ในกรณีที่ผูไดรับใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๔) (๕) หรือ (๖/๑) เปนผูตองหาในคดีอาญาตามที่ระบุไวในมาตรา ๔๙ (๘) ใหนายทะเบียนหรือผูตรวจการซึ่งอธิบดีมอบหมายยึด ใบอนุญาตขับรถตามมาตรา ๔๓ (๔) (๕) หรือ (๖/๑) ตั้ งแตวันยื่นฟองตอศาลจนถึงเวลาที่มี คําพิพากษาถึงที่สุด และในระหวางเวลานั้นหามมิใหนายทะเบียนตออายุใบอนุญาตขับรถดังกลาว ในการยึดใบอนุญาตขับรถ ใหผูยึดบันทึกการยึดไวในใบอนุญาตขับรถดวย

มาตรา ๕๕ ในกรณีที่ใบอนุญาตขับรถสูญหายหรือชํารุดในสาระสําคัญใหผูรับใบอนุญาต ขับรถยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตขับรถตอนายทะเบียนภายในสิบหาวันนับแตวันทราบเหตุนั้น และในกรณีที่ไดใบอนุญาตขับรถที่สูญหายคืน ใหสงใบแทนใบอนุญาตขับรถนั้นแกนายทะเบียน ภายในสิบหาวันนับแตวันไดคืน การขอใบแทนใบอนุญาตขับรถ และการออกใบอนุญาตขับรถตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา ๕๖ ภายใตบังคับมาตรา ๔๓ และมาตรา ๕๗ หามมิใหเจาของรถหรือคนขับรถ ยินยอมใหผูซึ่งไมมีใบอนุญาตขับรถหรือมีใบอนุญาตขับรถประเภทอื่นที่ใชแทนกันไมไดเขาขับรถของตนหรือรถที่ตนเปนคนขับ

มาตรา ๕๗ ผูใดฝกหัดขับรถยนต ตองมีผูซึ่งไดรับใบอนุญาตขับรถยนตมาแลวไมนอยกวาสามปควบคุมอยูดวย

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 25: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๕ ในการฝกหัดขับรถ หามมิใหผูใดนอกจากผูฝกหัดและผูควบคุมอยูในรถ ถามีการเสียหายเกิดข้ึนผูควบคุมตองรับผิดทางแพง เวนแตจะพิสูจนไดวาผูฝกหัดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสอนในเวลาที่ขับอยูนั้น

∗มาตรา ๕๗ ทวิ ใหผูตรวจการมีอํานาจสั่งใหผูขับรถหยุดรถเพื่อทําการตรวจสอบการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ กับมีอํานาจสั่งใหบุคคลใดปฏิบัติการเทาที่จําเปนเพื่อประโยชนแกการตรวจสอบนั้นได และเมื่อพบวาผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ จะวากลาวตักเตือนหรือส่ังเปนหนังสือใหผูนั้นไปรายงานตนตอนายทะเบียนภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีคําสั่ง เพื่อดําเนินการเปรียบเทียบปรับก็ได เวนแตเปนกรณีที่ความผิดดังกลาวมีโทษจําคุก ใหผูตรวจการนาํตัวผูนั้นสงพนักงานสอบสวนผูมีอํานาจเพื่อดําเนินคดีตอไป ในการออกคําสั่งใหไปรายงานตนตอนายทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ผูตรวจการจะเรียกเก็บ ใบอนุญาตขับรถของผูนั้นไวเปนการชั่วคราวก็ได แตตองรีบนําใบอนุญาตขับรถที่เรียกเก็บไวไปสงมอบแกนายทะเบียนภายในแปดชั่วโมงนับแตเวลาที่ออกคําสั่งและใหถือวาคําสั่งนั้นเปนใบอนุญาต ชั่วคราวภายในกําหนดเวลาที่ใหไปรายงานตนดังกลาว คําสั่งใหไปรายงานตนตอนายทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกําหนด

∗มาตรา

๕๗ ตรี ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหผูตรวจการแสดงบัตรประจําตัวตอผูซึ่งเกี่ยวของ บัตรประจําตัวผูตรวจการใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนด

∗∗มาตรา ๕๗ จัตวา ในขณะที่อยูในระหวางการรับจางบรรทุกคนโดยสาร ผูขับรถยนตสาธารณะหรือรถจักรยานยนตสาธารณะจะปฏิเสธไมรับจางบรรทุกคนโดยสารมิได เวนแตการบรรทุกนั้นนาจะกอใหเกิดอันตรายแกตนหรือแกคนโดยสาร บทบัญญัติในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกผูขับรถจักรยานยนตสาธารณะที่ปฏิเสธรับจางบรรทุกคนโดยสารนอกเสนทางหรือนอกทองที่ในการรับจางบรรทุกคนโดยสาร

∗∗มาตรา ๕๗ เบญจ ผูขับรถยนตสาธารณะหรือรถจักรยานยนตสาธารณะตองพาคนโดยสาร ไปยังสถานที่ที่วาจางตามเสนทางที่ส้ันหรือถึงที่หมายเร็วที่สุด หรือเสนทางที่ไมออมเกินควร และตองสงคนโดยสาร ณ สถานที่ตามที่ตกลงกันไว หามมิใหผูขับรถตามวรรคหนึ่ง พาคนโดยสารไปทอดทิ้งระหวางทางไมวาดวยประการใด ๆ ∗∗มาตรา ๕๗ ฉ ในขณะขับรถ ผูขับรถยนตสาธารณะหรือรถจักรยานยนตสาธารณะ ตอง

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 26: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๖ (๑) ไมสูบบุหรี่ หรือกระทําดวยประการใด ๆ ในลักษณะที่กอความรําคาญใหแกคนโดยสาร (๒) ไมกลาววาจาไมสุภาพ เสียดสี ดูหมิ่น กาวราวหรือแสดงกิริยาในลักษณะดังกลาว ตอคนโดยสาร (๓) ไมเสพหรือเมาสุราหรือของมึนเมาอยางอื่น (๔) ไมเสพยาเสพติดใหโทษตามกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ (๕) ไมเสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทตามกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (๖) ไมขับรถในขณะหยอนความสามารถในอันที่จะขับ (๗) ปฏิบัติตามขอกําหนดวาดวยความปลอดภัยในการรับจางบรรทุกคนโดยสารตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๔ บทกําหนดโทษ

∗ มาตรา ๕๘ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎกระทรวงออกตามมาตรา ๕ (๒) (๓) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) (๑๑) (๑๕) หรือ (๑๖) ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

∗มาตรา ๕๘/๑ ผูขับรถรับจางบรรทุกคนโดยสารผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกําหนด ในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕ (๑๕/๑) ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

∗∗มาตรา ๕๙ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท ∗∗ มาตรา ๖๐ ผู ใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๖ วรรคสอง มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๗ วรรคหนึ่งและวรรคสอง มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๖ หรือมาตรา ๕๗ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท

∗มาตรา

๖๑ ผู ใดไมป ฏิบัติตามมาตรา ๑๕ มาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๓๕/๓ วรรคหนึ่ ง หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนตามมาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๕๓ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

มาตรา ๖๒ ผูใดรับจางบรรทุกคนโดยสารโดยใชรถยนตรับจางบรรทุกคนโดยสารไมเกิน เจ็ดคน หรือรถยนตรับจางระหวางจังหวัดในทองที่ที่ รัฐมนตรีประกาศตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง

∗ แกไขโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ ∗∗ แกไขโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๒๗

Page 27: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๗โดยไมไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน หรือไมไดรับยกเวนตามมาตรา ๒๓ วรรคสองหรือวรรคสาม ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท

∗ มาตรา ๖๒/๑ ผูใดรับจางบรรทุกคนโดยสารโดยฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๓/๑ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท

มาตรา ๖๓ ผูใดรับจางบรรทุกคนโดยสารโดยใชรถยนตรับจางบรรทุกคนโดยสารไมเกิน เจ็ดคน หรือรถยนตรับจางระหวางจังหวัดในทองที่ที่ รัฐมนตรีประกาศตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง เมื่อใบอนุญาตสิ้นอายุหรือใบอนุญาตถูกเพิกถอน ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท

∗ มาตรา ๖๓/๑ ผู รับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๕ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

∗ มาตรา ๖๓/๒ ผูไดรับใบอนุญาตขับรถผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๕๓/๓ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

มาตรา ๖๔ ผูใดขับรถโดยไมไดรับใบอนุญาตขับรถ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

∗ มาตรา ๖๕ ผูใดขับรถเมื่อใบอนุญาตขับรถส้ินอายุ หรือระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตขับรถ หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ หรือถูกยึดใบอนุญาตขับรถ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท

มาตรา ๖๖ ผูใดขับรถโดยไมแสดงใบอนุญาตขับรถ และสําเนาภาพถายใบคูมือจดทะเบียนรถตามมาตรา ๔๒ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

∗ มาตรา ๖๖/๑ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของผูตรวจการ ซึ่งสั่งตามมาตรา ๕๗ ทวิ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท ∗ มาตรา ๖๖/๒ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๕๗ จัตวา มาตรา ๕๗ เบญจ หรือ มาตรา ๕๗ ฉ (๑) หรือ (๒) ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

∗ มาตรา ๖๖/๓ ผูใดฝาฝนมาตรา ๕๗ ฉ (๓) หรือ (๖) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับต้ังแตสองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

∗มา

ตรา ๖๖/๔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๕๗ ฉ (๔) หรือ (๕) ตองระวางโทษสูงกวาที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยยาเสพติดใหโทษ หรือกฎหมายวาดวยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท แลวแตกรณี อีกหนึ่งในสาม

∗ แกไขโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗

Page 28: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๘

∗ มาตรา ๖๖/๕ ผู ใดเรียกเก็บคาโดยสารหรือคาบริการอื่นเกินกวาอัตราที่กําหนดใน กฎกระทรวง ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา ๖๗ ผูใด (๑) ใหผูอ่ืนใชใบอนุญาต หรือเครื่องหมายที่นายทะเบียนออกใหแกตน (๒) ใชเครื่องหมายที่นายทะเบียนออกใหสําหรับรถคันหนึ่งกับรถอีกคันหนึ่ง (๓) ใชเครื่องหมายที่นายทะเบียนออกใหแกผูอ่ืน (๔) เปลี่ยนแปลงโดยวิธีใดๆ หรือปดบังทั้งหมดหรือแตบางสวนซึ่งเครื่องหมายที่นายทะเบียน ออกใหประจํารถ หรือ (๕) ใชรถที่ไดรับยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียมตามมาตรา ๙ หรือยกเวนไมตองเสียภาษี ประจําปตามมาตรา ๓๐ หรือลดภาษีประจําปตามมาตรา ๓๑ ผิดไปจากวัตถุประสงคที่ไดรับยกเวน หรือลด ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

∗∗ มาตรา ๖๗ ทวิ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวใหอธิบดีหรือ ผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบปรับผูตองหาได เมื่อผูตองหาไดชําระคาปรับตามจํานวนที่อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายเปรียบเทียบภายในสามสิบวันแลว ใหถือวาคดีเลิกกันตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถาผูตองหาไมยินยอมตามที่เปรียบเทียบหรือเมื่อยินยอมแลวไมชําระคาปรับภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหดําเนินคดีเพื่อฟองรองตอไป

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๖๘ เพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีประจําป ในกรณีที่เปนรถที่จดทะเบียนแลว การเสียภาษีประจําปในปแรกภายหลังวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหนายทะเบียนเปลี่ยนแปลง กําหนดระยะเวลาการเสียภาษีใหม โดยเฉลี่ยจํานวนรถที่จะตองเสียภาษีออกไปเปนรายเดือน ตามระยะเวลาและจํานวนที่นายทะเบียนเห็นสมควร และประกาศ ณ ที่ทําการของนายทะเบียนใหผูมีหนาที่เสียภาษีทราบลวงหนาไมนอยกวาหนึ่งเดือน ทั้งนี้ ใหนายทะเบียนดําเนินการภายในสองป นับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ การคิดภาษีเปนรายเดือนตามวรรคหนึ่ง ใหคิดเฉลี่ยจากอัตราภาษีประจําปสําหรับรถชนิดนั้น

∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ ∗∗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐

Page 29: ÁÒµÃÒ ô ã¹¾ÃÐÃÒªºÑѵԹÕé · 2005-10-20 · ๓ (๒) รถยนต บริการทัศนาจร ซึ่งได แก รถยนต ที่ผู

๒๙ มาตรา ๖๙ สําหรับรถและเครื่องอุปกรณของรถอันมิชอบดวยพระราชบัญญัตินี้ที่มีอยูแลว ในวันที่ประกาศพระราชบัญญัตินี้ในราชกิจจานุเบกษา หรือที่จะนําเขามาในราชอาณาจักรภายใน หกเดือนนับแตวันที่ประกาศพระราชบัญญัตินี้ในราชกิจจานุเบกษา ใหรัฐมนตรีมีอํานาจผอนผันได ตามควรแกกรณี และถาจะอนุญาตใหใชตอไป ใหมีกําหนดเวลาไมเกินสามปนับแตวันที่ประกาศ พระราชบัญญัตินี้ในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๗๐ บรรดากฎกระทรวง คําสั่ง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ ใหยังคงใชบังคับไดตอไปเพียงเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้จนกวา จะมีกฎกระทรวง คําสั่ง หรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา ๗๑ ในทองที่ใดที่ไดมีการประกาศใหการประกอบการรับจางบรรทุกคนโดยสารโดยใชรถยนตบรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคนตองดําเนินการโดยบริษัทมหาชนจํากัด บริษัทจํากัดหรือ สหกรณ และตองไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ รวมทั้งที่ไดมีการขยายระยะเวลาตามประกาศดังกลาว ใหถือวาประกาศนั้นเปนประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๒๓ และใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบการในทองที่ดังกลาวอยูแลวในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปนผูไดรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๓ และตองดําเนินการโดย บริษัทมหาชนจํากัด บริษัทจํากัด หรือสหกรณตอไป

มาตรา ๗๒ บรรดาใบอนุญาตและใบอนุญาตขับรถยนตที่ออกตามพระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ กอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหยังคงมีผลใชบังคับตอไปจนกวาจะสิ้นอายุใบอนุญาต หรือใบอนุญาตขับรถยนตนั้น

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

ส. โหตระกิตย รองนายกรัฐมนตรี