7

Click here to load reader

FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

1

เอกสารประกอบการเสวนา “ปฏิรูปการเรียนรูสูการศึกษาเพ่ือคนท้ังมวล”

การศึกษาทางเลือก: ทางหลักของหลายคน

วันท่ี 1 พฤษภาคม 2555

ณ หอง meeting 1 สถาบันวิจัยจุฬาภรณ หลักสี่ กรุงเทพมหานคร

เรียบเรียงโดย จิติภัสร จิระโชติอนันต

หลักการสําคัญของการจัดการศึกษา 3 ประการคือ 1) เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน 2) ให

สังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา และ 3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเน่ือง

และใหยึดหลักของความมีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ โดยที่กระบวนการ

จัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ0

1

ภายใตหลักการขางตน การศึกษา

ทางเลือกไดถูกริเร่ิม และแพรหลายมากข้ึนใน

ประเทศไทย จนกระท่ังหลายแหงถูกเลือกเปน ทาง

หลักของหลายคน ดังจะเห็นไดจาก ผลการศึกษา

เร่ืองโรงเรียนทางเลือกกับนวัตกรรมการเรียนการ

สอนของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI)

ท่ีระบุวา เด็กไทยใชเวลาเรียนหนังสือมากข้ึนผลการ

สอบกลับแยลง แตมีโรงเรียนกลุมหน่ึงในประเทศ

ไทยท่ีมีวิธีการเรียนการสอนไมเหมือนกับโรงเรียน

ท่ัวไป โดยเด็กนักเรียนมีโอกาสไดเรียนรูอยางสมดุล

และหลากหลายผานประสบการณ จริง โรงเรียนกลุม

น้ีเรียกตัวเองวา โรงเรียนทางเลือก (alternative

school)

การศึกษาทางเลือก (Alternative Education) หมายถึง

1) การศึกษาที่มีแนวทางตางจากการศึกษากระแสหลักของสังคม

เชน การเรียนรูนอกรูปแบบของโรงเรียน

(De-schooling) เรียนรูจากประสบการณนอกหองเรียน

2) การศึกษาสําหรับเด็กกลุมพิเศษ กลุมที่มีปญหาดานพฤติกรรม

กลุมเส่ียงตอการออกจากการเรียนกลางคัน (Drop-out) และกลุม

อัจฉริยะ

3) การศึกษาที่มีลักษณะหลากหลายตอบสนองความสนใจที่

หลากหลายของนักเรียน มุงเนนกระบวนการเรียนรูทีหลากหลาย

เชื่อมโยงเน้ือหาการเรียนรูเขากับชีวิตจริงและชุมชน และมี

ลักษณะเฉพาะบางประการ เชน หองเรียนขนาดเล็ก สัดสวนครู

ตอนักเรียนสูง

4) การศึกษาที มีระดับความเปนอิสระ (Autonomy) สูงจากรัฐ รัฐ

ปรับบทบาทเลิกเปนผูผูกขาดการจัดการศึกษา

(ปกปอง จันวิทย และสุนทร ตันมันทอง,

http://www.tdri.or.th/download/year-end/ye_11/SEC_4.2.pdf)

ปจจุบันมีโรงเรียนทางเลือก ในประเทศไทยกวา 209 แหง และเพิ่มจํานวนมากข้ึนเร่ือยๆ โดยจัดแบง

การศึกษาทางเลือกออกเปน 7 ฐานการเรียนรูแตกตางกัน คือ 1)การศึกษาทางเลือกท่ีจัดโดยครอบครัว

2)การศึกษาทางเลือกท่ีอิงระบบรัฐ 3)การศึกษาทางเลือกสายครูภูมิปญญา 4)การศึกษาทางเลือกศาสนาและวิถี

1

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545, มาตรา 8มาตรา 9

และมาตรา 22

Page 2: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

2

ปฏิบัติธรรม 5)การศึกษาทางเลือกท่ีเปนสถาบันนอกระบบรัฐ 6)การศึกษาทางเลือกของการเรียนรู

7)การศึกษาทางเลือกผานสื่อการ เรียนรูและแหลงการเรียนรู ซ่ึงแมกระบวนการจะแตกตางกัน แตเปาหมายท่ี

ไดมุงสูทิศทางเดียวกัน คือการพัฒนามนุษยท้ังกาย จิตใจ สูการเทาทันการเปลี่ยนแปลงของโล ก (สมาคมสภา

การศึกษาทางเลือกไทย, http://prachatai.com/journal/2012/04/39917)

ลําปลายมาศพัฒนา: โรงเรียนเอกชนท่ีเรียกตัวเองวา “โรงเรียนนอกกะลา”

โรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา เปนโรงเรียนเอกชนที่ไม

เก็บคาเลาเรียน ดําเนินการโดยมูลนิธิลําปลายมาศพัฒนา

งบประมาณในการดําเนินการสวนใหญมาจากเงินบริจาคและ

กิจกรรมการหารายไดของโรงเรียน โรงเรียน ตั้งอยูในพื้นท่ีชนบท

ต.โคกกลาง อ.ลําปลายมาศ จ.บุรีรัมย เร่ิมดําเนินการจัดการเรียน

การสอนตั้งแตปการศึกษา 2546 ถึงปจจุบัน ในระดับช้ันอนุบาล

ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-ม.2) มีนักเรียนหองละ

ประมาณ 30 คน รับนักเรียนโดย การจับฉลากทําใหไดผูเรียนท่ีมี

ความแตกตางกัน ท้ังทางสติปญญา พฤติกรร ม และสภาพ

ครอบครัว โดยนักเรียนสวนใหญรอยละ 80 มาจากครอบครัวชาวไร

ชาวนา

โรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา

“โรงเรียนท่ีไมมีการสอบ

โรงเรียนท่ีไมมีเสียงระฆัง

โรงเรียนท่ีไมมีดาวใหผูเรียน

โรงเรียนท่ีไมตองใชแบบเรียน

โรงเรียนท่ีไมมีครูอบรมหนาเสาธง

โรงเรียนท่ีไมจัดลําดับความสามารถ

ผูเรียน

โรงเรียนท่ีครูสอนดวยเสียงท่ีเบาท่ีสุด

โรงเรียนท่ีพอแมตองมาเรียนรวมกับลูก

โรงเรียนท่ีทุกคนไดเรียนรูอยางมี

ความสุข”

หองเรียนหกเหลี่ยม ลดปญหาเด็กหลังหอง

“ทุกคนมีคุณคาของความเปนมนุษยที่เทาเทียมกัน ” คือฐานความเช่ือท่ีสําคัญในการจัด

การศึกษาของโรงเรียน การออกแบบการเรียนการสอนจึงผสมผสานแนวคิดหลายอยาง ตั้งแตการออกแบบ

หองเรียนเปนหกเหลี่ยม เพื่อไมใหมีเด็กหนาหองและหลังหอง เนนการออกแบบการเรียนรูท่ีสอดคลองกับ

ธรรมชาติ การเรียนรูของสมอง การเรียนรูผานการปฏิบัติจริงจากการทําโครงงาน จัดทําเปนหนวยการเรียน

แบบบูรณาการ ใหผูเรียนไดมีโอกาสเลือกหัวขอท่ีจะเรียนรวมกัน ท้ังน้ีการออกแบบการเรียนรูอิงตามหลักสูตร

แกนกลางครอบคลุมท้ัง 8 สาระการเรียนรู แตหลอมรวมเหลือเพียง 4 วิชา คือ ไทย อังกฤษ คณิตศาสตร และ

วิชาบูรณาการ

ชวงเชา หลังจากเขาแถว เด็ก ๆ จะทํากิจกรรมจิตศึกษา เพื่อการเตรียมพรอมกอนเรียน โดยกิจกรรม

ดังกลาวเปนกิจกรรมเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดานอารมณและจิตวิญญาณ เนนการปลูกฝงวินัยและคุณธรรม

Page 3: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

3

แบบลึก ในหลากหลายรูปแบบ เชน กอด ภาวนา โยคะ การเลานิทาน สุนทรียสนทนา เปนตน จากน้ันจะได

เรียนรูวิชาทักษะพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร เชน ภาษาไทยเรียนรูผานวรรณกรรมท่ี

เหมาะสมกับเด็กแตละวัย ฝกวิเคราะหภาษาตามหลักภาษา ภาษาอังกฤษเนนการสื่อส ารผานวรรณกรรม

ตางประเทศ สวนคณิตศาสตรเรียนรูเพื่อสรางความเขาใจไมเรงรีบหาคําตอบ แตเนนการเขียนแผนภาพ

วางแผนแกปญหา เปนตน

ชวงบายจะเปนกิจกรรมบูรณาการโดยโครงงาน เด็กๆจะไดเรียนรูผานการลงมือปฏิบัติจริง ครูจะเปน

ผูสรางแรงบันดาลใจ กระตุนดวยคํา ถามหาสิ่งท่ีเด็กๆ อยากเรียนรู แลวจึงวางแผน ชวยกันคิด ชวยกันทํา

สงเสริมใหนักเรียนเขียน Mind mapping เพื่อความเขาใจ

“ครู” หัวใจสําคัญของการเรียนรู

ครูเปนหัวใจสําคัญของการจัดกระบวนการเรียนรู ในฐานะผูสนับสนุนใหเกิดการเรียนรู ไมใช

ในฐานะของผูสอน ดังน้ัน การพัฒนาครู จึงสําคัญที่สุด โดยตองพัฒนาใหครูทุกคนมีเปาหมายรวมกัน เปน

เจาของเปาหมายรวมกัน ผานกระบวนการแลกเปลี่ยนภายใตบรรยากาศของชุมชนเรียนรู

“ครูตองสรางความสัมพันธกับเด็ก ถาอยากใหเกิดกระบวนการเรียนรูมาก ครูกับเด็กตองมีความสัมพันธ

กันระดับราบ ในลักษณะท่ีพรอมท่ีจะรับฟงเสมอ พรอมท่ีจะใหโอกาสเสมอ พรอมท่ีจะเห็นอกเห็นใจเสมอ

เพราะฉะน้ันบทบาทของครูก็จะเปลี่ยนไป แตครูท่ีทําอยางน้ีไดตองทํางานหนักมากข้ึน เพราะมันไมหมายถึง

การเอาความรูจากหัวออกมาถายทอด มันหมายถึงการท่ีจะตองเขาใจเด็กทุกคน”

เรียนรูรวมกัน “ผูปกครองกับนักเรียน”

การพัฒนาผูเรียนอยางเต็มศักยภาพตองเกิดจากความรวมมือระหวางบานกับโรงเรียน โรงเรียนลํา

ปลายมาศพัฒนาจึงมีความจริงจังในการสรางความเขาใจและความรวมมือจากผูปกครองในรูปแบบกิจกรรมท่ี

หลากหลาย เชน การจัดคายผูปกครอง การเปนผูปกครองอาสา เพื่อใหมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน

ของโรงเรียนและการเช่ือมโยงการเรียนรูกับวิถีชีวิตของชุมชน การสื่อสารอยางเปนทางการและไมเปนทางการ

ผานการพูดคุยทุกวันท่ีผูปกครองมาสงเด็ก

โจทยทาทาย : โรงเรียนตัวอยางของการปฏิรูปการศึกษา

โรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา มีเปาหมายในการเปน โรงเรียนตัวอยาง อยางเปนรูปธรรมท้ังในการ

พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาครู การทํางานกับผูปกครองและชุมชน การจัดการ

ทรัพยากร โดยแสดงใหเห็นจาก ผลการ เรียนของเด็ก ประเมินโดย สํานักงานรับรองมาตรฐานและประ เมิน

คุณภาพการศึกษา (สมศ.) โรงเรียนอยูในเกณฑดีมาก 13 มาตรฐาน และอยูในเกณฑดี 1 มาตรฐาน และผล

การสอบเอ็นที (National Test) พบวาคะแนนเฉลี่ยดานภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตรสูงกวาเกณฑ

เฉลี่ยของประเทศ และคาใชจายรายหัวของนักเรียนท่ีต่ํากวาคาใชจายรายหัวของโรงเรียนในภาครัฐ

Page 4: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

4

โรงเรียนหมูบานเด็ก: บานเพิ่มโอกาสของเด็กยากลําบาก

โรงเรียนหมูบานเด็ก ตั้งข้ึนเม่ือ พ .ศ. 2521 ปจจุบันอยูท่ีริมฝงแมนํ้าแควใหญ จังหวัดกาญจนบุรี บน

เน้ือท่ี 200 ไร โดยไดรับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการใหเปดสอนไดถึงระ ดับ ป.6 ปจจุบันมีเด็กนักเรียน

ประมาณ 140 คน ทุกคนมีความยากลําบากท่ีแตกตางกัน อาทิ เด็กกําพรา เด็กยากจน เด็กท่ีถูกกระทําทารุณ

และเด็กท่ีมาจากครอบครัวแตกแยก เปนตน

ต้ังเปาที่เด็ก เรียนรูอยางมีความสุข

เปาหมายท่ีสําคัญท่ีสุดของโรงเรียนหมูบานเด็กคือ ใหเด็ก “มีความสุข ” การจัดการศึกษาของ

หมูบานเด็กเนนการใหโอกาสเด็กไดเลือกเรียนรูอยางหลากหลาย การจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับการ

เรียนรูของเด็กแตละวัย เพื่อคนหาศักยภาพของตนเองได และนําไปพัฒนาจนกลายเปนทักษะเพื่อการประกอบ

อาชีพและดําเนินชีวิตท่ีถูกตองในอนาคตตอไป โดยมีผูใหญทําหนาท่ีเปนกัลยาณมิตรคอยดูแลเกื้อหนุน และให

ความสําคัญกับเร่ืองครอบครัวมากเปนพิเศษ โดยหวังวาจะเปนเคร่ืองทดแทนครอบครัวเดิมของเด็กท่ีชํารุด

บกพรอง

แมแอว รัชนี ธงไชย ครูใหญของโรงเรียนหมูบานเด็ก กลาวถึงหลักการเรียนรูอยางมีความสุขวา “ตอง

ทําโรงเรียนใหเหมาะกับเด็ก เพราะฉะน้ันเราก็เลยเลือกพื้นท่ีๆ มีปา เขา แลวก็แมนํ้า ซ่ึงทําใหเด็กไดเรียนรู

เหมือนกับอยูกับธรรมชาติไปดวย คือเอาธรรมชาติมาเปนแนวในการเรียนการสอน แลวก็เปนเน้ือหาสําหรับการ

สอนดวย เพราะฉะน้ันท่ีน่ี ความสุขของเด็กๆ ก็คือการไดเลนกับธรรมชาติ การไดสัมผัสกับธรรมชาติ แลวก็การ

ไดจัดกระบวนการเรียนรูท่ีใชธรรมชาติมาเปนแนวหรือเปนวิธีการสอน”

นอกจากความรูท่ีเด็กอยากเรียนรูแลว โรงเรียนหมูบานเด็กยังมีการสอนความรูที่เด็กควรรูดวย

โดยจัดใหมีการเรียนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ 30 % โดยครูเปนผูประยุกตวิถีชีวิต บูรณาการเขา

กับเน้ือหา รวมท้ังมีกิจกรรมเสริมทักษะอาชีพ และกิจกรรมบมเพาะใหเด็กกลายเปนผูใหญท่ีดีของสังคมในภาย

ภาคหนา เชน กฎเกณฑการอยูรวมกันในสังคม และประชาธิปไตย เปนตน

ควบคูไปกับการ เรียนการสอน กิจกรรมสําคัญของโรงเรียนหมูบานเด็กคือ การสงเสริมอาชี พ โดย

รายไดจะใหเด็กฝากเก็บไวในธนาคารออมสิน เพื่อเปนทุนการศึกษา สวน เด็กท่ีไมผานข้ันตอนการเก็บเงิน แต

อยากเรียนก็ตองใหคําม่ันสัญญาและมีเงื่อนไขเดียว คือ ตองเรียนไปแลวก็ทํางานไป

สิ่งที่ดีงามที่สุดของการศึกษา คือ ผูใหญมีหนาที่ ที่จะใหการศึกษาที่ดีกับเด็ก แบบใหเปลา ความคิดน้ีตองเกิดทั่วโลก

การเอาการศึกษาเปนเคร่ืองมือในการหาประโยชน ความเทาเทียมของคุณภาพจะไมเกิดขึ้นเลย

โรงเรียนลําปลายมาศพัฒนาตองการใหคนเห็นใหไดวา มีหนาที่ๆ ดีงามมาก เปนหนาที่ผูใหญที่ตองชวยกันคิด

ชวยกันหา แลวจัดใหเด็กฟรีๆ เปนคุณคาสูงสุดที่เราทําไดเลยในชนบทน้ี ”

วิเชียร ไชยบัง ครูใหญโรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา

Page 5: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

5

“เรียนแบบเลน” กระบวนการสรางการเรียนรูแบบธรรมชาติ

การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนหมูบานเด็ก เนนใหสอดคลองกับการเรียนรูของเด็กแตละวัย และ

เรียนตามความสนใจของเด็ก แมแอว หรือ รัชนี ธงไชย ครูใหญของโรงเรียนหมูบานเด็ก เลาวา หองเรียนถือ

เปนกิจกรรมหน่ึงของการเรียนในโรงเรียนหมูบานเด็ก โดยเด็กจะมีอิสระในการเลือกวาจะเขาหองเรียนหรือไม

ดังน้ันจึงตองใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมอื่นๆในโรงเรียนพอๆ กับหองเรียน เช น หองสมุด หองกิจกรรมเสริม

ทักษะอาชีพ แปลงเกษตรปลอดสาร สภาพแวดลอมท่ีเปนธรรมชาติ วิถีชีวิตภายในบาน เปนตน

สิ่งท่ีสําคัญท่ีสุดในการสรางการเรียนรูใหเด็กคือ การเลน เพราะการเลนจะทําใหเด็กไดเรียนรูสิ่งท่ีอยู

รอบตัวหลายๆ อยาง โดยครูจะทําหนาท่ีเช่ือมโยงสิ่งท่ีเด็กเลนไปสูการคนควาหาความรู เปนความรูนอก

หองเรียนท่ีเด็กสามารถซึมซับไดอยางลึกซ้ึง และสามารถนําไปประยุกตใชกับความรูในสวนตางๆไดงาย

เรียนรูเสรีภาพและความเปนพลเมืองผาน “สภาโรงเรียน”

เด็กท่ีโรงเรียนหมูบานเด็กแหงน้ีแตละคนมาจากครอบครัวและชุมชนท่ีไมสมบูรณ การบมเพาะใหเด็ก

กลายเปนผูใหญท่ีดีของสังคมในภายภาคหนาจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองใหเด็กรูจักสิทธิ หนาท่ีของตนเอง และรูจัก

ความเสมอภาคในสังคม ดวยเหตุน้ี โรงเรียนหมูบานเด็กจัดใหมี “สภาโรงเรียน” เพื่อใหเด็กเรียนรูกฎเกณฑ

การอยูรวมกันในสังคม และรูจักประชาธิปไตย

“สภาโรงเรียน เรียกไดวาเปนหองเรียนหองใหญ ของเด็กในโรงเรียนหมูบานเด็ก ท่ีน่ีเด็กและครูจะมี

ความเสมอภาคกัน คะแนนเสียงและความคิดเห็นของเด็กจะมีคาเทากับผูใหญ ปญหาตางๆ ในชุมชนจะถูกหยิบ

ยกข้ึนมาพูดคุยกันในสภา ผูท่ีกระทําผิดจะถูกสอบสวนและกําหนดการลงโทษ สภาโรงเรียนจึงเปนกลไกสําคัญ

ในการแกปญหาของชุมชน อีกท้ังยังเปนวิธีการบําบัด และฟนฟูจิตใจของเด็กดวย เพราะการท่ีเด็กมีสิทธิเทากับ

ผูใหญจะทําใหเด็กรูสึกวาตนเองมีคุณคาตอชุมชน เกิดความภูมิใจในตนเอง และไดเรียนรูท่ีมาของกฎ เด็กจึง

เกิดความรูสึกเคารพกฎจากการตัดสินใจของตนเอง ไมใชเคารพกฎจากการถูกบังคับ” รัชนี ธงไชย กลาว

การศึกษาทางเลือกเปนการศึกษาที่ใหเด็กสามารถเลือกเรียนไดตามที่ตัวเองชอบ หรือพอแมเลือกใหตามที่เด็ก

ชอบ อยากจะทําใหมันเปนกระแสหลัก น่ันก็คือ ทําใหเด็กมีความสุข แตคนจัดการศึกษาตองจัดไปหลายๆ แบบ ไมใชจัด

ไปแบบใดแบบหน่ึง ที ่

ในอนาคตการศึกษาไมวาจะเปนปรัชญาอะไรใดๆ ก็แลวแต ตองรูจักชุมชน ตองเขาไปเรียนรูกับชุมชน

เพื่อใหคนสามารถกลับมาทําอะไรในชุมชนได เพราะฉะน้ันเราตองหันมาสรางชุมชนใหเขมแข็งไว แลวก็สรางความ

ยั่งยืนใหกับชุมชน ดูแลทําใหคนในชุมชนน้ันมีความสุข แลวก็สราง GNH : Gross Nation Happiness ใหกับคนในชุมชน

แลวถาชุมชนแบบน้ีมีหลากหลายชุมชน มันก็จะสงผลไปยังสังคมใหญ

รัชนี ธงไชย (แมแอว) ครูใหญโรงเรียนหมูบานเด็ก

Page 6: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

6

ประวัติวิทยากร

นางรัชนี ธงไชย

ครูใหญโรงเรียนหมูบานเด็ก มูลนิธิเด็ก

เกิดวันท่ี 5 กันยายน 2491 แตงงานกับนายพิภพ ธงไชย มีบุตรชาย 2 คน

การศึกษา

• สําเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันตน (ป.กศ.) จากวิทยาลัยครูธนบุรี (ในขณะน้ัน)

• สําเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันสูง (ป.กศ.สูง) จากวิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา

(ในขณะน้ัน)

• สําเร็จการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ) จากวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร (ในขณะน้ัน)

ประสบการณทํางาน

เคยเปนครูสอนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนราษฎร 5 ป เปนหัวหนาฝายวิชาการโรงเรียนมัธยมของ

รัฐบาล 6 ป กอนจะมาเปนครูสอนโรงเรียนหมูบานเด็ก-มูลนิธิเด็ก ตั้งแตป 2522

บทบาทการดําเนินงานดานการศึกษา

เปนผูมีบทบาทรวมในการรวมกลุม “เครือขายเสรีภาพทางการศึกษา” เพื่อเคลื่อนไหวและผลักดันให

เกดิบทบัญญัติท่ีเกี่ยวของกับการศึกษาทางเลือกในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ .ศ.๒๕๔๒ เปน

ประธานเครือขายการศึกษาทางเลือก เปนคณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรียนรู สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาแหงชาติ และเปนคณะกรรมการรางกฎกระทรวงมาตรา ๑๒ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พ.ศ.๒๕๔๒ และอีกหลาย ๆ บทบาทและตําแหนง

Page 7: FACTSHEETการศึกษาทางเลือก ทางหลักของหลายคน

7

ประวัติวิทยากร

วิเชียร ไชยบัง

ผูอํานวยการโรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา

เกิดวันท่ี 9 ตุลาคม พ.ศ. 2511 เปนคนมหาสารคาม เปนนักศึกษาใน ‘โครงการคุรุทายาท’ รุนท่ี 1

ของวิทยาลัยครู มหาสารคาม หรือมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามในปจจุบัน และจบปริญญาโท

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ.มหาสารคาม 2544 (กศ.ม./การวิจัยการศึกษา)

ครูวิเชียรบอกวาเขาไมไดสมองดี แตอาจจะมีวินัย ในการเรียนดีกวาหลายคน เม่ือบรรจุเขารับราชการ

เปนครูคร้ังแรกในชีวิต ลําบากและเผชิญกับอุปสรรคหลายอยาง และบอกตัวเองวา จะทําไดมากกวาน้ีถาวัน

หน่ึงไดเปนผูบริหาร ครูวิเชียรตัดสินใจสอบเปนผูบริหาร เม่ือไดเปนครูใหญมีกาวหนาเร็วในระบบราชการ แต

ลึกๆ คิดวายังสามารถทําอะไรไดมากกวาท่ีทําอยู จึงตัดสินใจท้ิงตําแหนงผูบริหารโรงเรียนของรัฐ แลวมา

เร่ิมตนใหมทําโรงเรียนลําปลายมาศพัฒนา ซ่ึงขณะน้ันยังไมเปนรูปเปนรางอะไร มีเพียงท่ีดินวางเปลา

ครูวิเชียรเช่ือวากระบวนการเรียนรูเปรียบเหมือนสปริง ชวงแรกจะยากและ ใชเวลา พอฝกฝนไป

เร่ือยๆ จะสะสมความเขาใจในแกนแท ทํางานไดเร็วข้ึน ตรงเปาหมาย เปนกระบวนการท่ีสุดทายจะเปนสปริงท่ี

มีแรงดีดมาก สามารถตอยอดของการเรียนรูไดไมรูจบ ท่ีโรงเรียนลําปลายมาศพัฒนาใหความสําคัญกับกระบวน

ในการคิด เพราะเช่ือวาคนท่ีคิดเปนคือคนท่ีสามารถดําเนินชีวิตไดอยางมีความสุข

ผลงานที่สําคัญ

• งานในสวนของการพัฒนาโรงเรียน เชน พัฒนาโรงเรียน เพื่อเปนโรงเรียนตัวอยางใหกับโรงเรียน

โดยท่ัวไป พัฒนารูปแบบการสอน “การบูรณาการสอนโดยโครงงานท่ีเนนการคิดสูความเขาใจอันลึกซ้ึงบนฐาน

สมอง” ใหผูเรียนเกิดก ารเรียนรูอยางลึกจากภายใน พัฒนาโปรแกรมอบรมท่ีจัดโดยโรงเรียนหลายหลักสูตร

พัฒนาหลักสูตร “จิตศึกษา” เพื่อพัฒนาความฉลาดดานจิตวิญญาณของมนุษย

• งานเขียน เชน นิทานภาพสําหรับเด็ก 3 เร่ือง “พระราชาบนดาวสีเขียว ”, “เด็กชายกับดวงดาว ”

และ “ปลาดาวบนชายหาด” รวมเร่ืองสั้น “จากเชาวันหน่ึงถึงกอนโลกาวินาศ ” นิยาย (วรรณกรรมเยาวชน ) “สาย

ลมกับทุงหญา ” ไดรับรางวัลในการประกวดหนังสือดีเดนประจําป 2552 โดยกระทรวงศึกษาธิการ และไดรับ

รางวัลรองชนะเลิศอันดับหน่ึง ประเภทวรรณกรรมเยาวชน ของเซเวนบุคอวอรด คร้ังท่ี 8 (2554 ) นิยาย

(วรรณกรรมเยาวชน ) “อธิษฐานสิจะกับนางฟาสีเขียว ” ไดรับรางวัลเซเวนบุคอวอรด 2553 งานวิชาการ

(แนวคิดในการจัดการศึกษา) “โรงเรียนนอกกะลา” งานวิชาการ (ผูนํา) “ฅนบนตนไม”