50
หลักสูตรใหมนีไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมครั้งที๓๙๕ เมื่อวันที๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร Higher Graduate Diploma Programme in Dentistry หลักสูตรปรับปรุง .. ๒๕๕๓ ************************************************************* . ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร (ภาษาอังกฤษ) Higher Graduate Diploma Programme in Dentistry . ชื่อประกาศนียบัตร ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (ทันตแพทยศาสตร) (ชื่อยอ) .บัณฑิตชั้นสูง (ทันตแพทยศาสตร ) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) Higher Graduate Diploma (Dentistry) (ชื่อยอ) Higher Grad. Dip. (Dentistry) . หนวยงานรับผิดชอบ .คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ..ภาควิชาวิทยาระบบบดเคี้ยว ..ภาควิชาทันตกรรมโรงพยาบาล ..ภาควิชาทันตกรรมเด็ก ..ภาควิชาทันตกรรมหัตถการ และวิทยาเอ็นโดดอนต ..ภาควิชารังสีวิทยาชองปาก และใบหนาขากรรไกร ..ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก และปริทันตวิทยา ..ภาควิชาศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล .บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล . ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร .ปรัชญาของหลักสูตร การพัฒนาทันตแพทย ใหเปนนักวิชาการ และผูชํานาญการทางการรักษาในสาขาตาง ทาง ทันตแพทยศาสตร เพื่อการบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น .วัตถุประสงคของหลักสูตร ผูสําเร็จการศึกษาจะมีความรูความสามารถ และคุณธรรม ในการ ..วินิจฉัย ดูแล รักษาผูปวย ที่จําเปนตองไดรับการรักษาทางทันตกรรมขั้นสูง รวมถึงการปองกันโรค ในสาขาทันตกรรมทั่วไป หรือทันตกรรมสําหรับเด็ก หรือทันตกรรมหัตถการ หรือปริทันตวิทยา หรือรังสีวิทยาชอง ปากและแม็กซิลโลเฟเชียล หรือวิทยาเอ็นโดดอนต หรือวิทยาระบบบดเคี้ยว หรือเวชศาสตรชองปาก หรือ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

Higher Grade Thai Update

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร Higher Graduate Diploma Programme in Dentistry

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๓ *************************************************************

๑. ช่ือหลักสูตร (ภาษาไทย) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร

(ภาษาอังกฤษ) Higher Graduate Diploma Programme in Dentistry

๒. ช่ือประกาศนียบัตร ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (ทันตแพทยศาสตร)

(ชื่อยอ) ป.บัณฑิตชั้นสูง (ทันตแพทยศาสตร) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) Higher Graduate Diploma (Dentistry)

(ชื่อยอ) Higher Grad. Dip. (Dentistry)

๓. หนวยงานรบัผิดชอบ ๓.๑ คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

๓.๑.๑ ภาควิชาวิทยาระบบบดเคี้ยว

๓.๑.๒ ภาควิชาทันตกรรมโรงพยาบาล

๓.๑.๓ ภาควิชาทันตกรรมเด็ก

๓.๑.๔ ภาควิชาทันตกรรมหัตถการ และวิทยาเอ็นโดดอนต

๓.๑.๕ ภาควิชารังสีวิทยาชองปาก และใบหนาขากรรไกร

๓.๑.๖ ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก และปริทันตวิทยา

๓.๑.๗ ภาควิชาศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล

๓.๒ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๔. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร ๔.๑ ปรัชญาของหลักสูตร

การพัฒนาทันตแพทย ใหเปนนักวิชาการ และผูชํานาญการทางการรักษาในสาขาตาง ๆ ทาง

ทันตแพทยศาสตร เพื่อการบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ๔.๒ วัตถุประสงคของหลักสูตร ผูสําเร็จการศึกษาจะมีความรูความสามารถ และคุณธรรม ในการ

๔.๒.๑ วินิจฉัย ดูแล รักษาผูปวย ที่จําเปนตองไดรับการรักษาทางทันตกรรมขั้นสูง รวมถึงการปองกันโรค

ในสาขาทันตกรรมทั่วไป หรือทันตกรรมสําหรับเด็ก หรือทันตกรรมหัตถการ หรือปริทันตวิทยา หรือรังสีวิทยาชอง

ปากและแม็กซิลโลเฟเชียล หรือวิทยาเอ็นโดดอนต หรือวิทยาระบบบดเคี้ยว หรือเวชศาสตรชองปาก หรือ

ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

Page 2: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔.๒.๒ ติดตามความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพอันทันสมัย และนํามาประยุกตใชในการดูแลผูปวยได

อยางมีประสิทธิภาพ

๔.๒.๓ ประกอบวิชาชีพทันตกรรมอยางมีจริยธรรม

๕. เหตุผลในการปรับปรุงหลักสูตร

๕.๑ เพื่อปรับหลักสูตรใหสอดคลองกับปรัชญาหลักสูตรมากขึ้น ๕.๒ เพื่อปรับหลักสูตรใหทันเหตุการณกับเทคโนโลยีที่กาวหนา ๕.๓ เพื่อใหนักศึกษาสามารถเขาใจหลักการรักษาทันตกรรมสหสาขา

๖. กําหนดการเปดสอน หลักสูตรเดิมไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๐

และเริ่มเปดสอนเมื่อปการศึกษา ๒๕๕๐ สําหรับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๓ นี้ ขอเริ่มใชกับนักศึกษารุนป

การศึกษา ๒๕๕๔ ตั้งแตภาคการศึกษาที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๔

๗. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา ๗.๑ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต

๗.๒ ขึ้นทะเบียนและไดรับอนุญาตใหเปนผูประกอบวิชาชีพทันตกรรม

๗.๓ มีประสบการณในการประกอบวิชาชีพทันตแพทยอยางนอย ๑ ป

๗.๔ มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๒.๕๐

๗.๕ ผูที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑขอ ๖.๓ และขอ ๖.๔ อาจไดรับการพิจารณาคัดเลือกใหสมัครเขา

ศึกษาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

๘. การคัดเลือกผูเขาศึกษา ใชวิธีการสอบขอเขียนและสัมภาษณ การพิจารณาคัดเลือกผูเขาศึกษาขั้นสุดทายใหอยูในดุลยพินิจของคณะ

กรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

๙. ระบบการศึกษา ๙.๑ ใชระบบการศึกษาแบบหนวยกิตทวิภาค ๙.๒ การคิดจาํนวนหนวยกิต ๙.๒.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา ๑๕ ชั่วโมง ตอภาค

การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ ๑ หนวยกิต

๙.๒.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา ๓๐ ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกติ ใหมี

คาเทากับ ๑ หนวยกิต

๙.๒.๓ รายวิชาคลินิก/ภาคสนาม ที่ใชเวลาปฏิบัติ ไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกติ ใหมี

คาเทากับ ๑ หนวยกิต

๑๐. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาตลอดหลักสูตรไมเกิน ๓ ปการศึกษา

Page 3: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๐. การลงทะเบียนเรียน ๑๐.๑ นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลา (full time)

๑๐.๒ จํานวนหนวยกิตในการลงทะเบียน ไมนอยกวา ๙ หนวยกิต แตไมเกิน ๑๕ หนวยกิต ในแตละภาค

การศึกษาปกติ หรือตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา

๑๑. การวัดผล ๑๑.๑ การวัดผล การวัดผลเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยมหิดลวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

๑๑.๒ เกณฑการสําเร็จการศึกษา ๑๑.๒.๑ ตองศึกษารายวิชาตางๆ ตามโครงสรางของหลักสูตร คือศึกษารายวิชาไมนอยกวา ๒๔

หนวยกิต โดยตองไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐

๑๑.๒.๒ ตองสอบผานภาษาอังกฤษตามเกณฑของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล หรือสถาบัน

อื่นที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรอง หรือมีคะแนน TOEFL ตั้งแต ๕๐๐ คะแนนขึ้นไป ๑๒. อาจารยประจํา ๑๒.๑ อาจารยประจําหลักสูตร และอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สังกัด

๑. รองศาสตราจารยวิชชา อัศววรฤทธิ์

- วท.บ. - ท.บ. - ป.ชั้นสูง (วิทยาเอ็นโดดอนต)

ภาควิชาทันตกรรมหัตถการ

๒. รองศาสตราจารยยสวิมล คูผาสุข

- ท.บ. - ป.บัณฑิตฯ (ปริทันตวิทยา) - Cert. in Periodontics - M.S.D. (Periodontics) - อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก

๓. ผูชวยศาสตราจารยบุญจิรา อนุกูล

- วท.บ. - ท.บ. - ป.ชั้นสูงฯ (ศัลยศาสตรชองปาก) - ว.ท. (ศัลยศาสตรชองปาก) - M.S. - Cert. in Oral & Maxillofacial Surgery - Diplomate, American Board of Oral & Maxillofacial Surgery - อ.ท. (ศัลยศาสตรชองปากและ แม็กซิลโลเฟเชียล)

ภาควิชาศัลยศาสตร

๔. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรพจน เฟองธารทิพย

- ท.บ. - Ph.D. (Dental Science)

ภาควิชาทันตกรรมโรงพยาบาล

ขั้นสูง

๕. ผูชวยศาสตราจารยศิรินันท - วท.บ. ภาควิชารังสีวิทยา

Page 4: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สังกัด

วิเศษสินธุ - ท.บ. - ป.ชั้นสูงฯ (รังสีวิทยา) - อ.ท. (วิทยาการวินิจฉัยโรคชองปาก)

๖ รองศาสตราจารยสุพานี ธนาคุณ

- ท.บ. - ป.บัณฑิตฯ (เวชศาสตรชองปาก) - วท.ม. (เวชศาสตรชองปาก) - อ.ท. (วิทยาการวินิจฉัยโรคชองปาก)

ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สังกัด

๗. ผูชวยศาสตราจารยยุวดี

อัศวนันท

- ท.บ.

- C.A.G.S. (Pediatric Dentistry)

- อ.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

ภาควิชาทันตกรรมสําหรับเด็ก

๘. รองศาสตราจารย ดร.พิศลย

เสนาวงษ

- ท.บ.

- วท.ม. (ทันตกรรมหัตถการ)

- Ph.D. (Dental Science)

ภาควิชาทันตกรรมหัตถการ

๙. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์

ไมตรีรัตนะกุล

- ท.บ.

- Fellowship Cert. in Orofacial Pain

and TMD.

- Diplomate, American Board of

Orofacial Pain

- Residency Cert. in Orofacial Pain

and Dysfunction

- Ph.D. (Oral Biology)

โครงการจัดตั้งภาควิชา

ทันตกรรมบดเคีย้ว

๑๒.๒ อาจารยประจํา สังกัดโครงการจัดตั้งภาควิชาทันตกรรมบดเคี้ยว

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. รองศาสตราจารยณัฏยา อัศววรฤทธิ์ - วท.บ.

- ท.บ.

- วท.ม.

- ป.ชั้นสูงฯ (ทันตกรรมประดิษฐ)

๒. ผูชวยศาสตราจารยภาณุเพ็ญ สิทธิสมวงศ - ท.บ.

- Cert. in TMD and Orofacial Pain

- M.S. (Oral Biology)

Page 5: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

- Diplomate, American Board of

Orofacial Pain

๓. ผูชวยศาสตราจารยธัช อิทธิกุล

- ท.บ.(เกียรตินิยมอันดับ 1)

- M.D.Sc. (Orthodontics)

- Cert. Australian Board of Orthodontics

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๔. อาจารย ดร.นามรัฐ ฉัตรไชยยันต - ท.บ.

- ป.บัณฑิตทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก

(ทันตกรรมบดเคี้ยว)

- Ph.D. (Dental Science)

๕ อาจารย ดร.ชูเกียรติ วชิรลาภ - ท.บ.(เกียรตินิยมอันดับ2)

- วท.ม.(ทันตกรรมประดิษฐ)

- Ph.D. (Dental Science)

สังกัดภาควิชาทันตกรรมโรงพยาบาล ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. รองศาสตราจารยทัศนีย เต็งรังสรรค -ท.บ.

-ป.บัณฑิตฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๒. รองศาสตราจารยแพรวพัชร ปจฉิมสวัสดิ์ -ท.บ., Post Graduate in Pediatric

Dentistry

-M.D.Sc. (Pediatric Dentistry)

-อ.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๓. รองศาสตราจารยมาลินี สูอําพัน - ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๔. รองศาสตราจารยวนิดา นิมมานนท - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.บัณฑิตฯ (ปริทันตวิทยา)

- อ.ท. (ทันตกรรมทั่วไป)

๕. ผูชวยศาสตราจารยการุญ เล่ียวศรีสุข - วท.บ. - ท.บ. - M.P.H. (Dental Public Health) - Diploma in Technology Management

Page 6: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา) (RVB) - อ.ท. (ทันตสาธารณสุข)

- อ.ท. (ทันตกรรมทั่วไป)

๖. ผูชวยศาสตราจารยนิตยา เพ็งรักษ - วท.บ. - ท.บ. - ป.ชั้นสูง ฯ (ทันตกรรมหัตถการ)

๗. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรพจน เฟองธารทิพย - ท.บ.

- Ph.D. (Dental Science)

๘. ผูชวยศาสตราจารยวิภาดา เลิศฤทธิ์ - ท.บ. - Cert. in Prosthodontics - M.S. (Oral Biology)

๙. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สิริบังอร พิบูลนิยม โขวิฑูรกิจ - ท.บ. - ป.บัณฑิตฯ (เวชศาสตรชองปาก) - Cert. in Oral Medicine - D.M.Sc. in Oral Biology

๑๐. ผูชวยศาสตราจารยสมชัย มโนพัฒนกุล - ท.บ., - ป.บัณฑิตฯ (ปริทันตวิทยา) - M.D.Sc. (Orthodontics) - Diplomate, Australasian Board of Orthodontics

๑๑. อาจารยเรืออากาศโทชัชชัย คุณาวิศรุต - ท.บ., - M.S. (Prosthodontics) - Cert. in Prosthodontics - Cert. in Implant Dentistry

๑๒. อาจารยพีรศุษม รอดอนันต -ท.บ., -Master of Dental Science (Periodontics)

๑๓. อาจารยนัยนา บูรณชาติ -ท.บ., -ป.ทันตแพทยประจําบาน(ทันตกรรม ทั่วไป) -ว.ท.(สาขาทันตกรรมทั่วไป)

๑๔. อาจารยดวงกมล เจียมจริยาภรณ - ท.บ., - ป.ทันตแพทยประจําบาน สาขาทันต- กรรมทั่วไป - ว.ท. (ทันตกรรมทั่วไป)

๑๕. อาจารยอรนุช เจียรสุจิตวิมล -ท.บ., -ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ทันตกรรมทั่วไป) -ป.ทันตแพทยประจําบาน (ทันตกรรมทั่วไป) -ว.ท. (ทันตกรรมทั่วไป)

๑๖. อาจารยคมสัน ลาภาอุตย -ท.บ.

Page 7: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

-ส.ม. ๑๗. อาจารยชนิตา ศุภอมรกุล -ท.บ.

-วท.ม. (ทันตกรรมประดิษฐ)

๑๘. อาจารยศศิภา ธีรดิลก - ท.บ. - วท.ม. (ทันตกรรมทั่วไป) -Faczhahnaerttin fuer kieferorthopaedie (German Board of Orthodontics) -Dr. med. Dent (Orthodontics)

๑๙. อาจารยปยพรรณา พิทยชวาล - ท.บ. - M.Sc. (Restouative Dentistry) - PhD (Dental Ceramic)

๒๐. อาจารยรชตวรรณ ลีลารังสรรค -ท.บ.

สังกัดภาควิชาทันตกรรมสําหรับเด็ก ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. รองศาสตราจารย คัดเคา วงษสวรรค - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- Cert. in Training Orthodontics (Bristol)

๒. รองศาสตราจารย มาลี อรุณากูร - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- อ.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๓. รองศาสตราจารย ดร.ศิริรักษ นครชัย - วท.บ.

- ท.บ.

- ป. ชั้นสูงฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- Cert. in Pediatric Dentistry

- M.Sc. (Advanced Educational

Program)

- Diplomate, American Board

of Pediatric Dentistry.

Page 8: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

- อ.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- ปร.ด. (ชีววิทยาชองปาก)

๔. รองศาสตราจารย อารยา พงษหาญยุทธ - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูง ฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- Cert. in Pedodontics (Recidency

Training Program)

- Diplomate, American Board of

Pediatric Dentistry

- อ.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๕. ผูชวยศาสตราจารย จารุพิมพ เกียรติประจักษ - ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- M.P.H.M. ( Primary Health Care

Management)

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๖. ผูชวยศาสตราจารยประภาศรี ริรัตนพงษ - ท.บ.

- ป.บัณฑิตฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- วท.ม. (ทันตกรรมเด็ก)

- Cert. in Orthodontics

๗. ผูชวยศาสตราจารย ผาณิต บัณฑิตสิงห - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๘. ผูชวยศาสตราจารย ภัทรวดี ลีลาทวีวุฒิ - ท.บ.

- ป.บัณฑิตฯ (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- Cert. in Pediatric Dentistry

- M.S. in Pedodontics.,

- อ.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- Diploma,American Board of Pediatric

Dentistry

๙. อาจารยปนิดา ภาวิไล - ท.บ.

- M.Sc. (Pedodontics)

Page 9: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑๐ อาจารยวรางคณา จิรรัตนโสภา - ท.บ.

- Cert. in Clinical Science (Pediatric

Dentistry)

- วท.ม. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

- ว.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๑๑ อาจารยวีริษฏา ยิ้มเจริญ - ท.บ.

- วท.ม. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๑๒ อาจารยอภิวันทน ดานชัยวิจิตร - ท.บ.

- วท.ม. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

๑๓ อาจารย ดร.เข็มทอง มิตรกูล - ท.บ.

- Cert. in Avanced training

(Pediatric Dentistry)

- D.Sc.D (Pediatric Dentistry)

๑๔ อาจารยสุธาสินี เกตานนท - ท.บ.

- ประกาศนียบัตรทันตแพทยประจําบาน

(ทันตกรรมสําหรับเด็ก),

- ว.ท. (ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑๕ อาจารยชุติมา อมรพิพิธกุล - ท.บ.

- ประกาศนียบัตรทันตแพทยประจําบาน

(ทันตกรรมสําหรับเด็ก)

สังกัดภาควิชาทันตกรรมหัตถการ

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. ศาสตราจารยคลินิกวราภรณ ฐิตินันทพันธุ

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

- วท.ม.(การแพทยคลินิก)

- อ.ท. (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๒. รองศาสตราจารย ดร.ชลธชา หานิรัติศัย

- วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

- Ph.D (Dental Sciences)

Page 10: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๐

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

- อ.ท. (ทันตกรรมหัตถการ)

๓. ศาสตราจารยศิริพร ทิมปาวัฒน

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

- M.S. (Endodontics)

- อ.ท. (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๔. รองศาสตราจารยศุภชัย สุทธิมัณฑนกุล

- วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

- อ.ท. (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๕. ผูชวยศาสตราจารยกนิษฐา นิลศรี - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๖. รองศาสตราจารยนาฎยา วงษปาน

- วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต) ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๗. ผูชวยศาสตราจารยรุงรวี กมลรุงวรากุล

- วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๘. ผูชวยศาสตราจารยวัชราภรณ คูผาสุข - ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (วิทยาเอ็นโดดอนต)

- Cert. in Operative Dentistry

- M.S.D. (Operative Dentistry)

- Diplomate, American Board of

Operative Dentistry

๙. ผูชวยศาสตราจารยกัลยา ยันตพิเศษ - ท.บ.

- ป.ชั้นสูง (วิทยาเอ็นโดดอนต)

- Cert in Endodontics

- M.S. (Endodontics)

- Diplomate, Thai Board of Endodontics

Page 11: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๑

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑๐. ผูชวยศาสตราจารย ดร.จีรภัทร จันทรัตน

- ท.บ.

- M.D.Sc. (Endodontics)

- Ph.D. (Dental Sciences)

- อ.ท. (วิทยาเอ็นโดดอนต)

๑๑ อาจารยพงศ พงศพฤกษา - ท.บ.,

- วท.ม. (ทันตกรรมหัตถการ)

๑๒ อาจารยศุภศันส ทิศทวีรัตน - ท.บ.,

- วท.ม.(วิทยาเอ็นโดดอนต)

สังกัดภาควิชารังสีวิทยา

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. ศาสตราจารยใจนุช จงรักษ - ท.บ.(เกียรตินิยม)

- M.S. (Dental Radiology)

- อ.ท. (วิทยาการวินิจฉัยโรคชองปาก)

๒. ผูชวยศาสตราจารย อรวรรณ มโนมัยสันติภาพ - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูง ฯ (รังสีวิทยา)

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๓. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุชยา ดํารงคศรี - ท.บ.

- M.S. (Oral and Maxillofacial Radiology)

- Ph.D.(Oral Radiology)

- Diplomate, American Board

of Oral and Maxillofacial Radiology

สังกัดภาควิชาเวชศาสตรชองปาก ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. ศาสตราจารยคลินิก มัลลิกา ศิริรัตน - ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา)

- อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

๒. รองศาสตราจารย จุฬาลักษณ เกษตรสุวรรณ - วท.บ.(วิทยาศาสตรการแพทย)

Page 12: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๒

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา)

- อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

๓. ศาสตราจารยคลินิก ผุสดี ยศเนืองนิตย - ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา)

- M.S.(Periodontics)

- Cert. in Periodontics

- อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

๔. รองศาสตราจารย เพ็ญพรรณ เลาหพันธ - วท.บ.(วิทยาศาสตรการแพทย)

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา)

- M.D.S. (Periodontology)

- อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

๕. รองศาสตราจารย ยสวิมล คูผาสุข - ท.บ. - ป.บัณฑิตชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา) - Cert. in Periodontics - M.S.D.(Periodontics) - อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๖. รองศาสตราจารย ดร.วรานันท บัวจีบ - วท.บ.

- ท.บ.

- M.Sc. (Oral Medicine)

- อ.ท. (วิทยาการวินิจฉัยโรคชองปาก)

- ปร.ด. (ชีววิทยาชองปาก)

๗. ศาสตราจารยคลินิก อนงคพร ศิริกุลเสถียร - ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา)

- อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

๘. ผูชวยศาสตราจารย จรรยงค ศิริวัชรวรพงษ - วท.บ.(วิทยาศาสตรการแพทย)

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ปริทันตวิทยา)

Page 13: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๓

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๙. ผูชวยศาสตราจารย ฐิติกานต เหลาธรรมทัศน - ท.บ.

- ป.บัณฑิตฯ (เวชศาสตรชองปาก)

๑๐. ผูชวยศาสตราจารย พิณทิพา บุณยะรัตเวช

- ท.บ.

- Cert. in Periodontics

- M.S.(Periodontics)

- Diplamate, American Board

of Periodontology

- อ.ท.(ปริทันตวิทยา)

๑๑. ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุภาณี รัศมีมาสเมือง - ท.บ.

- วท.ม. (ปริทันตวิทยา)

- ปร.ด. (ชีววิทยาชองปาก)

๑๒. ผูชวยศาสตราจารย อนัญญา พรหมสุทธิ

- ท.บ. - ป.บัณฑิตฯ (ปริทันตวิทยา) - M.S.(Periodontics) - Cert. in Periodontics - Diplamate, American Board of Periodontology - อ.ท.(ปริทันตวิทยา)

๑๓. ผูชวยศาสตราจารย ฐิติวรรณ บูรณะวิเชษฐกุล - ท.บ. - Cert. in Periodontics - M.S.(Periodontics) - Diplamate, American Board of Periodontology - อ.ท. (ปริทันตวิทยา)

๑๔. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรางคณา ชิดชวงชัย - ท.บ., - วท.ม.(เภสัชวิทยา), - ปร.ด. (ชีววิทยาชองปาก), - Cert. (Acupuncture for Dentist)

สังกัดภาควิชาศัลยศาสตร

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑. ศาสตราจารยจีรพันธ พันธวุฒิกร - วท.บ.

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ศัลยศาสตรชองปาก)

- ว.ว. (ศัลยศาสตรชองปาก)

Page 14: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๔

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

- Cert. in Oral & Maxillofacial Surgery

๒. ศาสตราจารยณัฐเมศวร วงศสิริฉัตร - วท.บ.

- ท.บ.

- วุฒิบัตรทันตแพทยประจําบานสาขา

ศัลยศาสตรชองปาก

- Cert. in the Advanced Programme of

Oral & Maxillofacial Surgery (Osaka)

- อ.ท. (ศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล)

๓. ศาสตราจารยอรสา ไวคกุล - วท.บ.

- ท.บ.

- วุฒิบัตรทันตแพทยประจําบานสาขา

ศัลยศาสตรชองปาก

- M.Sc.

- Cert. in Oral & Maxillofacial Surgery

๔ รองศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ไพรัชเวทย - วท.บ.

- ท.บ.

- พ.บ.

- Facharzt fur Mund-kiefer Gesichtschirurgie

(Oral & Maxillofacial Surgery)

- Dr.med. (Wurzburg)

- อ.ท. (ศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล)

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๗. รองศาสตราจารย ดร. ธีรลักษณ สุทธเสถียร - วท.บ. - ท.บ. - ป.ชั้นสูงฯ (ศัลยศาสตรชองปาก) - Cert. in Oral & Maxillofacial Surgery - Diplomate, American Board of Oral and Maxillofacial Surgery - Ph.D.(Biomedical Science) - อ.ท. (ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโล เฟเชียล

๘. ผูชวยศาสตราจารยเบญจมาศ อภิพันธุ - พ.บ.

Page 15: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๕

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

- ป.ชั้นสูงฯ (วิสัญญีวิทยา)

- วุฒิบัตรแพทยประจําบานสาขาวิสัญญีวิทยา

๙. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริชัย เกียรติถาวรเจริญ - ท.บ.

- พ.บ.

- วุฒิบัตรทันตแพทยประจําบานสาขา

ศัลยศาสตรชองปาก

- Facharzt fuer Mund-Kiefer-

Gesichtschirurgie (Oral & Maxillofacial

Surgery)

- Dr.med. (Muenster)

- อ.ท. (ศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล)

๑๐. ผูชวยศาสตราจารยสมเกียรติ อรุณากูร - วท.บ

- ท.บ.

- ป.ชั้นสูงฯ (ศัลยศาสตรชองปาก)

- Cert. in Oral & Maxillofacial Surgery

(Denmark)

- อ.ท. (ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโล

เฟเชียล)

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑๑. อาจารยเกียรติอนันต บุญศิริเศรษฐ - ท.บ.

- พ.บ.

- ป.บัณฑิต (ศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล)

- Facharzt fuer Mund-Kiefer-

Gesichtschirurgie (Oral & Maxillofacial

Surgery)

- อ.ท.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโล

เฟเชียล)

Page 16: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๖

ลําดับ ช่ือ – สกุล คุณวุฒิ (สาขาวิชา)

๑๒. อาจารยปริย แกวประดับ - ท.บ.

- ป.บัณฑิต (ศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล)

- ว.ท.ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

๑๓ อาจารยดวงดี รัมมะศักดิ์ - พ.บ.

- วุฒิบัตรแพทยประจําบานสาขาวิสัญญีวิทยา

- ป.ชั้นสูง (วิสัญญีวิทยา)

- อ.ว. (เวชศาสตรครอบครัว)

๑๔ อาจารยสุรกิจ วิสุทธิวัฒนากร - ท.บ.

- ป.บัณฑิต (ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิล

โลเฟเชียล)

- วุฒิบัตรศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล)

๑๔ อาจารยบวร คลองนอย - ท.บ.

- พ.บ.

- Facharzt fuer Mund-Kiefer-

Gesichtschirurgie(German Board of Oral

and Maxillofacial Surgery)

- Dr.Med.

- Dr.Med.Dent

- อ.ท.(ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโล

เฟเชียล)

๑๔. อาจารยพิเศษ เชิญตามความจําเปน เปนครั้งคราว

๑๕. จํานวนนักศึกษา

ปการศึกษา ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ จํานวนที่คาดวาจะรับ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

จํานวนสะสม - - - - - จํานวนที่คาดวาจะจบ - ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

Page 17: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๗

๑๖. สถานที่และอุปกรณการสอน คณะทันตแพทยศาสตร และโรงพยาบาลทันตกรรม ศูนยการแพทยกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล ๑๗. หองสมุด

หองสมุดวิทยาเขตราชวิถี มหาวิทยาลัยมหิดล มีตําราเกี่ยวของกับสาขาวิชาทันตแพทยศาสตร ประมาณ ๖,๐๐๐ รายการ และวารสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ๑๒๕ รายการ และหองสมุดของคณะอื่น ๆ ที่สังกัดสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยมหิดล ปจจุบันหองสมุดวิทยาเขตราชวิถี มีบริการสืบคนหา และขอยืมตําราและวารสารจากหองสมุดตาง ๆ ภายในประเทศ บริการสารนิเทศสาขาทันตแพทยศาสตรและสาขาที่เกี่ยวของ สามารถติดตอขอบทความหรือสําเนาสิ่งตีพิมพจากหองสมุดตางประเทศ นอกจากนี้สามารถใชบริการสืบคนขอมูลในตางประเทศ จากฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส

๑๘. งบประมาณ ใชงบประมาณของคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับบัณฑิตวิทยาลัย คาใชจายในการผลิตบัณฑิตตอคนตอปประมาณโดยเฉลี่ย ๓๐๐,๐๐๐ บาท ๑๙. หลักสูตร ๑๙.๑ จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๒๕ หนวยกิต ๑๙.๒ โครงสรางหลักสูตร จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ดังนี้ ๑๘.๒.๑ หมวดวิชาปรับพื้นฐาน (ตามวิชาเอก) ไมนับ หนวยกิต ๑๘.๒.๒ หมวดวิชาแกน ๔ หนวยกิต ๑๘.๒.๓ หมวดวิชาบังคับ [ตามวิชาเอก] ๑๙-๒๐ หนวยกิต ๑๘.๒.๔ หมวดวิชาเลือก ไมนอยกวา ๑-๒ หนวยกิต รวมไมนอยกวา ๒๕ หนวยกิต

Page 18: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๘

๑๙.๓ รายวิชาในหลักสูตร ๑๙.๓.๑ หมวดวิชาปรับพ้ืนฐาน ไมนับหนวยกิต

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)

ทพวป ๕๔๑ หลักการของชีววิทยาระดับโมเลกุล ๑ (๑-๐-๒)*

ทพวป ๕๔๒ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกันทางปริทันต ๑ (๑-๐-๒)* * นักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนโดยไมนับหนวยกิต ตองสอบผานและไดรับการประเมินผลดวย

สัญลักษณ S

๑๙.๓.๒ หมวดวิชาแกน ๔ หนวยกิต หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔)

๑๘.๓.๓ หมวดวิชาบังคับ เปดสอน ๙ วิชาเอก ดังนี ้

(๑) วิชาเอก ทันตกรรมทั่วไป (๒) วิชาเอก ทันตกรรมสําหรับเด็ก (๓) วิชาเอก ทันตกรรมหัตถการ (๔) วิชาเอก ปริทันตวิทยา (๕) วิชาเอก รังสีวิทยาชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล (๖) วิชาเอก วิทยาเอ็นโดดอนต (๗) วิชาเอก วิทยาระบบบดเคี้ยว (๘) วิชาเอก เวชศาสตรชองปาก (๙) วิชาเอก ศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล สาขาวิชา ทันตกรรมทั่วไป

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพทพ ๕๐๒ วิทยาการระบาดทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๐๔ แนวทางการบริบาลพรอมมูลในทันตกรรมทั่วไป ๓(๓-๐-๖)

ทพทพ ๕๐๗ การสงเสริมสุขภาพในชองปาก ๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๑๑ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๒)

ทพทพ ๕๑๒ ทันตกรรมรากเทียมขั้นแนะนํา ๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๑๕ บริบาลทันตกรรมสําหรับเด็กและทันตกรรมจัดฟน ๒(๒-๐-๔)

ทพทพ ๕๒๓ สัมมนาทันตกรรมทั่วไป ๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๓๔ ศัลยศาสตรชองปาก ๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๔๕ ทันตกรรมพรอมมูลทางคลินิก ๑ ๓(๐-๙-๓)

ทพทพ ๕๔๖ ทันตกรรมพรอมมูลทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๔)

ทพทพ ๕๗๑ เวชศาสตรชองปากและเภสัชวิทยาทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒) รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

Page 19: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๑๙

วิชาเอก ทันตกรรมสําหรับเด็ก

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพทด ๕๒๙ สัมมนาทันตกรรมสําหรับเด็ก ๒(๒-๐-๔)

ทพทด ๕๓๐ สัมมนาการดูแลผูปวยเด็กทันตกรรม ๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๓๑ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖)

ทพทด ๕๓๒ ทนัตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก ๒ ๓(๐-๙-๕)

ทพทด ๕๓๓ การปรับพฤติกรรมในเด็ก ๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๓๔ ทันตกรรมปองกันและการรักษาโรคในชองปากเด็ก ๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๓๕ ทันตกรรมจัดฟนปองปราม ๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๔๑ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก ๓ ๔(๐-๑๒-๖)

ทพทด ๕๔๒ ทันตกรรมสําหรับเด็กในเด็กพิเศษและโรคทางระบบ ๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๔๓ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

วิชาเอก ทันตกรรมหัตถการ

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพทห ๕๑๒ ทันตกรรมหัตถการทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๐) ทพทห ๕๑๓ ทันตกรรมหัตถการทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๐) ทพทห ๕๓๑ แคริโอโลยี ๒(๒-๐-๔) ทพทห ๕๓๒ ทันตวัสดุและเครื่องมือบูรณะฟน ๒(๒-๐-๔) ทพทห ๕๓๓ ทันตกรรมหัตถการ ๓(๒-๓-๐) ทพทห ๕๓๖ สัมมนาทันตกรรมหัตถการ ๒(๒-๐-๔) ทพทห ๕๓๙ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๐) รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

Page 20: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๐

วิชาเอก ปริทันตวิทยา

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพวป ๕๔๓ ปริทันตวิทยาขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) ทพวป ๕๔๔ สัมมนาพยาธิวิทยาเชิงปริทันต ๑ ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๔๕ สัมมนาพยาธิวิทยาเชิงปริทันต ๒ ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๔๖ สัมมนาปริทันตบําบัด ๑ ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๔๗ สัมมนาปริทันตบําบัด ๒ ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๐๘ สัมมนาวรรณกรรมปจจุบันทางปริทันตวิทยา ๑ ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๘๑ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง๑ ๒(๐-๖-๒)

ทพวป ๕๘๒ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๒ ๓(๐-๙-๓)

ทพวป ๕๘๓ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๓ ๒(๐-๖-๒)

ทพวป ๕๘๔ ปริทนัตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๔ ๒(๐-๖-๒)

ทพวป ๕๖๙ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๒)

ทพวป ๖๑๑ พยาธิสรีรวิทยาประยุกต ๑(๑-๐-๒)

รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

วิชาเอก รังสีวิทยาชองปาก และแม็กซิลโลเฟเซียล หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)

ทพรส ๕๔๐ รังสีชีววิทยา ๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๕๓๒ ฟสิกสการแผรังสี ๒(๒-๐-๔)

ทพรส ๕๔๒ เทคนิคการถาย และการแปลภาพรังสี ๒(๒-๐-๔)

ทพรส ๕๔๓ สัมมนาการวิเคราะหกรณีผูปวยทางรังสีวิทยาชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเซียล

๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๕๔๔ สัมมนารังสีวิทยาทางชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียล ๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๕๔๕ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

ทพรส ๕๖๗ ประชุมรวมทางพยาธิวิทยาคลินิก ๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๖๖๑ รังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียลทางคลินิก๑ ๔(๐-๑๒-๖)

ทพรส ๖๖๒ รังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเซียทางคลินิก๒ ๔(๐-๑๒-๖)

ทพกย ๖๐๑ กายวิภาคศาสตรประยุกตของศีรษะและคอ ๑(๑-๐-๒)

ทพพย ๕๔๐ พยาธิวิทยาชองปากวินิจฉัย ๑(๑-๐-๒)

รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

Page 21: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๑

วิชาเอก วิทยาเอ็นโดดอนต หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพวด ๕๗๐ วิทยาเอ็นโดดอนต ๓(๒-๓-๕) ทพวด ๕๗๑ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๑ ๓(๐-๙-๕) ทพวด ๕๗๒ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖) ทพวด ๕๗๓ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๓ ๔(๐-๑๒-๖) ทพวด ๕๗๖ สัมมนาการวิเคราะหกรณีผูปวย ๑(๑-๐-๒) ทพวด ๕๗๗ สัมมนาวิทยาเอ็นโดดอนต ๑ ๑(๑-๐-๒) ทพวด ๕๗๘ สัมมนาวิทยาเอ็นโดดอนต ๒ ๑(๑-๐-๒) ทพวด ๕๗๙ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๕) รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

วิชาเอก วิทยาระบบบดเคี้ยว

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพรบ ๕๓๐ วิทยาการสบฟน ๒(๒-๐-๔)

ทพรบ ๕๓๑ ความผิดปกติทางหนาที่ของระบบบดเคี้ยว ๒(๒-๐-๔)

ทพรบ ๕๓๒ ความเจ็บปวดชองปาก-ใบหนา ๑(๑-๐-๒)

ทพรบ ๕๓๓ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๕)

ทพรบ ๕๓๔ สัมมนาวิทยาระบบบดเคี้ยว ๑(๑-๐-๒)

ทพรบ ๕๓๕ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลินิก๑ ๔(๐-๑๒-๖)

ทพรบ ๕๓๖ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖)

ทพรบ ๕๓๗ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลินิก ๓ ๓(๐-๙-๕)

รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

Page 22: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๒

วิชาเอก เวชศาสตรชองปาก

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพภส ๕๔๐ เภสัชวิทยาและการรักษาทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๖๐ เวชศาสตรชองปากชั้นสูง ๓(๓-๐-๖) ทพวป ๕๖๒ เวชศาสตรชองปากทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๓) ทพวป ๕๖๓ เวชศาสตรชองปากทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๓)

ทพวป ๕๖๔ สัมมนาเวชศาสตรชองปาก ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๗๐ สัมมนาเวชศาสตรชองปากปจจุบัน ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๗๑ ประชุมรวมกรณีผูปวย ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๗๒ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

ทพวป ๕๗๓ ประชุมรวมพยาธิวิทยาคลินิก ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๗๔ เวชศาสตรทั่วไป ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๖๑๑ พยาธิสรีรวิทยาประยุกต ๑(๑-๐-๒)

รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

วิชาเอก ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพศศ ๕๓๐ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพศศ ๕๔๐ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๒ ๒(๒-๐-๔) ทพศศ ๕๓๑ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖) ทพศศ ๕๓๒ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก๒ ๓(๐-๙-๕) ทพศศ ๕๓๓ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๓ ๔(๐-๑๒-๖) ทพศศ ๕๓๔ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๔ ๓(๐-๙-๕)

ทพผส ๕๙๖ สัมมนาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๒(๒-๐-๔)

รวมหนวยกิต ๒๐ หนวยกิต

Page 23: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๓

๑๘.๓.๓ หมวดวิชาเลือก ไมนอยกวา ๑-๒ หนวยกิต

หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)

ทพกย ๖๐๑ กายวิภาคศาสตรประยุกตของศีรษะและคอ ๑(๑-๐-๒) ทพกย ๕๔๑ แมทริกซนอกเซลลและเนื้อเยื่อที่มีแรสะสม ๑(๑-๐-๒) ทพจว ๕๔๐ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกันทางทันตแพทยศาสตร ๑(๑-๐-๒) ทพจว ๕๔๑ วิธีทางจุลชีววิทยาในการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร ๑(๑-๐-๒) ทพจว ๕๔๒ ภูมิคุมกันโรคในชองปาก ๑(๑-๐-๒) ทพชค ๕๔๐ ชีววิทยาระดับโมเลกุลทางทันตแพทยศาสตร ๑(๑-๐-๒) ทพทพ ๕๗๐ ชีวสถิติเบื้องตน ๑(๑-๐-๒) ทพทห ๖๘๐ ทันตกรรมหัตถการประยุกต ๒(๑-๓-๐) ทพวด ๖๗๙ วิทยาเอ็นโดดอนตประยุกต ๒(๑-๓-๓) ทพผส ๕๔๒ หลักการของเทคนิคที่ใชในทางวิทยาการชองปาก ๑(๑-๐-๒) ทพผส ๕๔๓ สัมมนารวมสาขา ๑(๑-๐-๒) ทพผส ๕๔๔ ประสาทชีววิทยาของความเจ็บปวด ๑(๑-๐-๒) ทพผส ๕๕๐ เทคนิคปฏิบัติการวิทยาการชองปาก ๑(๐-๓-๑) ทพผส ๖๐๙ การถายภาพในชองปาก ๑(๐-๒-๑) ทพผส ๖๓๐ คอมพิวเตอรประยุกตทางทันตแพทยศาสตร ๑(๐-๓-๑) ทพผส ๖๓๑ จิตวิทยา และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ๑(๑-๐-๒) ทพพย ๕๔๐ พยาธิวิทยาชองปากวินิจฉัย ๑(๑-๐-๒) ทพภส ๕๔๐ เภสัชวิทยาและการรักษาทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒) ทพรบ ๕๔๔ หลักการและการบําบัดการสบฟน ๑(๑-๐-๒) ทพรบ ๕๔๕ ความผิดปกติบริเวณขมับ-ขากรรไกร ๑(๑-๐-๒) ทพรบ ๕๔๖ ความเจ็บปวดชองปาก-ใบหนา ๑(๑-๐-๒) ทพศศ ๕๑๐ การทบทวนวรรณกรรม ๒(๐-๖-๓)

บฑคร ๖๐๓ ชีวสถิติ ๓(๓-๐-๖) บฑคร ๖๑๒ ชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกุล ๓(๓-๐-๖)

นักศึกษาอาจลงทะเบียนเรียนรายวิชาตามความสนใจแทนวิชาเลือกจากโปรแกรมบัณฑิตศึกษาอื่นใน

มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อไดรับอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษาและผูอํานวยการโปรแกรม

๑๘.๔. ความหมายของรหัสวิชา ตัวอักษร ๔ หลักมีความหมายดังนี้ ตัวอักษร ๒ หลักแรก เปนอักษรยอของคณะที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน

ทพ (DT) หมายถึง คณะทันตแพทยศาสตร บฑ (GR) หมายถึง บัณฑิตวิทยาลัย

ตัวอักษร ๒ หลักตอมา เปนอักษรยอของภาควิชาที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน

ทห (OP) หมายถึง ภาควิชาทันตกรรมหัตถการ และวิทยาเอ็นโดดอนต (สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ)

Page 24: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๔

วด (ED) หมายถึง ภาควิชาทันตกรรมหัตถการ และวิทยาเอ็นโดดอนต (สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต)

วป (MD) หมายถึง ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก และปริทันตวิทยา ทพ (HD) หมายถึง ภาควิชาทันตกรรมโรงพยาบาลขั้นสูง รส (RD) หมายถึง ภาควิชารังสีวิทยาชองปาก และใบหนาขากรรไกร ทด (PD) หมายถึง ภาควิชาทันตกรรมเด็ก รบ (GN) หมายถึง ภาควิชาวิทยาระบบบดเคี้ยว ผส (ID) หมายถึง วิชาผสมผสานจัดสอนรวมกันโดยภาควิชาตาง ๆ ศศ (SU) หมายถึง ภาควิชาศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล คร (ID) หมายถึง การสอนรวมกันระหวางภาควิชาตาง ๆ กย (AN) หมายถึง ภาควิชากายวิภาคศาสตร จว (MI) หมายถึง ภาควิชาจุลชีววิทยาชองปาก ชค (BC) หมายถึง ภาควิชาชีววิทยาชองปาก ภส (PM) หมายถึง ภาควิชาเภสัชวิทยา และการรักษาทางทันตกรรม

ตัวเลข ๓ หลักคือ ๕XX และ ๖XX แสดงวิชาเรียนในระดับบัณฑิตศึกษา

๑๘.๕ แผนการศึกษา วิชาเอก ทันตกรรมทั่วไป ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพทพ ๕๐๗ การสงเสริมสุขภาพชองปาก ๑(๑-๐-๒)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพทพ ๕๑๑ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๒)

ทพทพ ๕๐๒ วิทยาการระบาดทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒) ทพทพ ๕๗๑ เวชศาสตรชองปากและเภสัช

วิทยาทางทันตกรรม

๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๐๔ แนวทางการบริบาลพรอมมูลใน

ทันตกรรมทั่วไป

๓(๓-๐-๖) ทพทพ ๕๓๔ ศัลยศาสตรชองปาก ๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๒๓ สัมมนาทันตกรรมทั่วไป ๑(๑-๐-๒) ทพทพ ๕๑๒ ทันตกรรมรากเทียมขั้น

แนะนํา

๑(๑-๐-๒)

ทพทพ ๕๑๕ บริบาลทันตกรรมสําหรับเด็กและ

ทันตกรรมจัดฟน

๒(๒-๐-๔) ทพทพ ๕๔๖ ทันตกรรมพรอมมูลทาง

คลินิก ๒

๔(๐-๑๒-๔)

ทพทพ ๕๔๕ ทันตกรรมพรอมมูลทางคลินิก ๑ ๓(๐-๙-๓) วิชาเลือก (ทพทพ ๕๗๐ ชีวสถิติเบื้องตน) ๑(๑-๐-๒)

รวม ๑๔ รวม ๑๑

Page 25: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๕

วิชาเอก ทันตกรรมสําหรับเด็ก ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพทด ๕๔๑ ทันตกรรมสําหรับเด็ก ทางคลินิก ๓

๔(๐-๑๒-๖)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพทด ๕๒๙ สัมมนาทันตกรรม สําหรับเด็ก

๒(๒-๐-๔)

ทพทด ๕๓๑ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก๑ ๔(๐-๑๒-๖) ทพทด ๕๔๒ ทันตกรรมสําหรับเด็กในเด็ก พิเศษและ โรคทางระบบ

๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๓๒ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก๒ ๓(๐-๙-๕) ทพทด ๕๔๓ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

ทพทด ๕๓๓ การปรับพฤติกรรมในเด็ก ๑(๑-๐-๒) ทพทด ๕๓๐ สัมมนาการดูแลผูปวยเด็ก ทันตกรรม

๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๓๔ ทันตกรรมปองกันและ การรักษาโรคในชองปากเด็ก

๑(๑-๐-๒) วิชาเลือก ๑(๑-๐-๒)

ทพทด ๕๓๕ ทันตกรรมจัดฟนปองปราม ๑(๑-๐-๒) รวม ๑๔ รวม ๑๑ วิชาเอก ทันตกรรมหัตถการ ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพทห ๕๑๓ ทันตกรรมหัตถการทาง

คลินิก ๒

๔(๐-๑๒-๐)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพทห ๕๓๖ สัมมนาทันตกรรมหัตถการ ๒(๒-๐-๐)

ทพทห ๕๑๒ ทันตกรรมหัตถการทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๐) ทพทห ๕๓๙ รายงานเฉพาะทาง ๓ (๐-๙-๐)

ทพทห ๕๓๑ แคริโอโลยี ๒(๒-๐-๐) วิชาเลือก ๑

ทพทห ๕๓๒ ทันตวัสดุและเครื่องมือบูรณะฟน ๒(๒-๐-๐)

ทพทห ๕๓๓ ทันตกรรมหัตถการ ๓(๒-๓-๐)

รวม ๑๕ รวม ๑๐

Page 26: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๖

Page 27: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๗

วิชาเอก ปริทันตวิทยา ภาคฤดูรอนกอนเปดภาคเรียนที่ ๑ ช้ันปที่ ๑

ทพวป ๕๔๑ หลักการของชีววิทยาระดับ

โมเลกุล

๑ (๑-๐-๒)

ทพวป ๕๔๒ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกัน

ทางปริทันต

๑ (๑-๐-๒)

ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพวป ๕๔๕ สัมมนาพยาธิวิทยาเชิง

ปริทันต ๒

๑(๑-๐-๒)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพวป ๕๔๗ สัมมนาปริทันตบําบัด ๒ ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๔๓ ปริทันตวิทยาขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) ทพวป ๕๐๘ สัมมนาวรรณกรรมปจจุบันทาง

ปริทันตวิทยา ๑

๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๔๔ สัมมนาพยาธิวิทยาเชิงปริทันต ๑ ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๘๓ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๓ ๒(๐-๖-๒)

ทพวป ๕๔๖ สัมมนาปริทันตบําบัด ๑ ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๘๔ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๔ ๒(๐-๖-๒)

ทพวป ๕๘๑ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๑ ๒(๐-๖-๒) ทพวป ๖๑๑ พยาธิสรีรวิทยาประยุกต ๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๘๒ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๒ ๓(๐-๙-๓) ทพวป ๕๖๙ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๒)

วิชาเลือก ๑(๑-๐-๒)

รวม ๑๕ รวม ๑๐

Page 28: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๘

วิชาเอก รังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพกย ๖๐๑ กายวิภาคประยุกตของ

ศีรษะ และคอ

๑(๑-๐-๒)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพพย ๕๔๐ พยาธิวิทยาชองปากวินิจฉัย ๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๕๔๐ รังสีชีววิทยา ๑(๑-๐-๒) ทพรส ๕๔๒ เทคนิคการถายภาพและ

การแปลภาพรังสี

๒(๒-๐-๔)

ทพรส ๕๓๒ ฟสิกสการแผรังสี ๒(๒-๐-๔) ทพรส ๕๔๓ สัมมนาการวิเคราะหกรณี

ผูปวยทางรังสีวิทยาชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล

๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๖๖๑ รังสีวิทยาชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๑

๔(๐-๑๒-๖) ทพรส ๕๔๔ สัมมนาทางรังสีวิทยา

ชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล

๑(๑-๐-๒)

วิชาเลือก ๑(๑-๐-๒) ทพรส ๕๔๕ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

ทพรส ๕๖๗ ประชุมปรึกษาพยาธิวิทยา

คลินิก ๑

๑(๑-๐-๒)

ทพรส ๖๖๒ รังสีวิทยาชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียลทาง

คลินิก ๒

๔(๐-๑๒-๖)

รวม ๑๒ รวม ๑๓

วิชาเอก วิทยาเอ็นโดดอนต ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพวด ๕๗๒ วิทยาเอ็นโดดอนต ทางคลินิก ๒

๔(๐-๑๒-๖)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพวด ๕๗๓ วิทยาเอ็นโดดอนต ทางคลินิก ๓

๔(๐-๑๒-๖)

ทพวด ๕๗๐ วิทยาเอ็นโดดอนต ๓(๒-๓) ทพวด ๕๗๙ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๕)

ทพวด ๕๗๑ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๑ ๓(๐-๙-๕) ทพวด ๕๗๘ สัมมนาวิทยาเอ็นโดดอนต ๒ ๑(๑-๐-๒)

ทพวด ๕๗๖ สัมมนาการวิเคราะห กรณีผูปวย

๑(๑-๐-๒) วิชาเลือก ๑(๑-๐-๒)

ทพวด ๕๗๗ สัมมนาวิทยาเอ็นโดดอนต ๑ ๑(๑-๐-๒) รวม ๑๒ รวม ๑๓

Page 29: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๒๙

วิชาเอก วิทยาระบบบดเคี้ยว ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพรบ ๕๓๓ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๕)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพรบ ๕๓๖ วิทยาระบบบดเคี้ยว ทางคลินิก ๒

๔(๐-๑๒-๖)

ทพรบ ๕๓๐ วิทยาการสบฟน ๒(๒-๐-๔) ทพรบ ๕๓๗ วิทยาระบบบดเคี้ยว ทางคลินิก ๓

๓ (๐-๙)

ทพรบ ๕๓๑ ความผิดปกติทางหนาที่ของ ระบบบดเคี้ยว

๒(๒-๐-๔)

ทพรบ ๕๓๒ ความเจ็บปวดชองปาก-ใบหนา ๑(๑-๐-๒) ทพรบ ๕๓๔ สัมมนาวิทยาระบบบดเคี้ยว ๑(๑-๐-๒) ทพรบ ๕๓๕ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖)

วิชาเลือก ๒(๒-๐-๔) รวม ๑๕ รวม ๑๐ วิชาเอก เวชศาสตรชองปาก ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔) ทพภส ๕๔๐ เภสัชวิทยาและการ รักษาทางทันตกรรม

๑(๑-๐-๒)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔) ทพวป ๕๖๓ เวชศาสตรชองปากทาง คลินิก ๒

๔(๐-๑๒-๓)

ทพวป ๕๖๐ เวชศาสตรชองปากขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) ทพวป ๕๗๓ ประชุมรวมพยาธิวิทยา คลินิก

๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๖๒ เวชศาสตรชองปากทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๓) ทพวป ๕๗๐ สัมมนาบทความเวชศาสตร ชองปากปจจุบัน

๑(๑-๐-๒)

ทพวป ๕๖๔ สัมมนาเวชศาสตรชองปาก ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๗๑ ประชุมรวมกรณีผูปวย ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๗๔ เวชศาสตรทั่วไป ๑(๑-๐-๒) ทพวป ๕๗๒ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

ทพวป ๖๑๑ พยาธิสรีรวิทยาประยุกต ๑(๑-๐-๒) วิชาเลือก ๑(๑-๐-๒) รวม ๑๔ รวม ๑๑

Page 30: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๐

วิชาเอก ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ช้ันปที่ ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔)

ทพศศ ๕๔๐ ศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล ๒

๒(๒-๐-๔)

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑

๒(๒-๐-๔) ทพศศ ๕๓๓ ศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล

ทางคลินิก ๓

๔(๐-๑๒-๖)

ทพศศ ๕๓๐ ศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล ๑

๒(๒-๐-๔) ทพศศ ๕๓๔ ศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล

ทางคลินิก ๔

๓(๐-๙-๕)

ทพศศ ๕๓๑ ศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล

ทางคลินิก ๑

๔(๐-๑๒-๖) ทพผส ๕๙๖ สัมมนาศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล

๒(๒-๐-๔)

ทพศศ ๕๓๒ ศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล

ทางคลินิก ๒

๓(๐-๙-๕) วิชาเลือก ๑(๑-๐-๒)

รวม ๑๓ รวม ๑๒

๑๘.๖ คําอธิบายรายวิชา ๑๘.๖.๑ หมวดวิชาปรับพ้ืนฐาน ไมนับหนวยกิต

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพวป ๕๔๑ หลักการของชีววิทยาระดับโมเลกุล ๑(๑-๐-๒) หลักการของชีววิทยาระดับโมเลกุล โดยเฉพาะทางฐานเคมีของเซลล โครงสรางและหนาที่ขององคประกอบ

เซลล และจีน ทพวป ๕๔๒ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกนัทางปริทันต ๑(๑-๐-๒) บทบาทของแบคทีเรียในโรคปริทันต แบคทีเรียในทางปริทันตและความสามารถกอโรค ภูมิคุมกันสืบทอดใน

อวัยวะปริทันต คีโมไคนในโรคปริทันต ภูมิคุมกันดานสารน้ําและดานเซลลในอวัยวะปริทันต การทดสอบเชิงวินิจฉัย

สําหรับโรคปริทันต การอภิปรายถึงวรรณกรรมการวิจัยทางปริทันตที่เกี่ยวกับชีววิทยาระดับโมเลกุล จุลชีววิทยา หรือ

วทิยาภูมิคุมกัน

Page 31: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๑

๑๘.๖.๒ หมวดวิชาแกน ๔ หนวยกิต

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพผส ๕๑๔ วิทยาระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔)

หลักการของการวิจัยทางวิทยาศาสตรสุขภาพ ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการวิจัยในหองปฏิบัติการและการ

วิจัยประยุกต เชน การวิจัยเชิงคลินิก การวิจัยทางวิทยาการระบาด การออกแบบงานวิจัย การเขียนโครงงานวิจัย การ

ทดสอบสมมติฐาน การรวบรวมและการใชขอมูล การวิจารณบทความทางวิทยาศาสตร สถิติการวิจัย จริยธรรมการ

วิจัย และการเขียนรายงาน

ทพผส ๕๑๕ ชีววิทยาชองปาก ๑ ๒(๒-๐-๔)

พัฒนาการ โครงสราง ชีววิทยา และหนาที่ของเนื้อเยื่อในชองปาก และอวัยวะที่เกี่ยวของ ในสภาวะที่มี

สุขภาพดีและที่เปนโรค จุลินทรียในชองปาก การตอบสนองทางภูมิคุมกันของตัวใหอาศัย ความปวดและความไวเกิน

ของฟน ยาสามัญทันสมัยที่ใชในทางทันตกรรม

๑๘.๖.๓ หมวดวิชาบังคับ [ตามวิชาเอก] ๑๙-๒๐ หนวยกิต วิชาเอก ทันตกรรมทั่วไป

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทพ ๕๐๒ วิทยาการระบาดทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒)

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาการระบาดที่เกี่ยวกับการวิจัยทางคลินิก และโรคทางทันตกรรมที่เปนปญหาในชุมชน รวมถึงปจจัยเสี่ยง การออกแบบโครงการวิจัยที่ใชหลักฐานทางวิทยาการระบาด และชี้ถึงปจจัยที่มีผลตอโรคและความสัมพันธกับโรคอื่น การประเมินขอเสนอการวิจัยหรือการออกแบบการวิจัย และอภิปลายผลของการวิจัยในเชิงวิทยาการระบาด ทพทพ ๕๐๔ แนวทางการบริบาลพรอมมูลในทันตกรรมทัว่ไป ๓(๓-๐-๖) ปรัชญาและหลักการของทันตกรรมทางปริทันตวิทยา วิทยาเอ็นโดดอนต ทันตกรรมประดิษฐ และทันตกรรม

บูรณะ การวางแผนการวินิจฉัยดวยความเขาใจ และการบําบัดในดานทันตกรรมทั่วไป การบําบัดแบบดั้งเดิมและการ

ฟนสภาพฟนในผูปวยที่มีปญหาทางปริทันตวิทยา วิทยาเอ็นโดดอนต เพื่อความสวยงามและคงหนาที่ การบูรณะใน

ผูปวยที่มีสันเหงือกยุบตัวมาก การทบทวนวรรณกรรมทันสมัยเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติทางคลินิก มาตรการการปองกัน

และทันตวัสดุ ทพทพ ๕๐๗ การสงเสรมิสุขภาพในชองปาก ๑(๑-๐-๒) ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร และสังคมศาสตรเบื้องตนเพื่อใชในการใหทันตสุขศึกษาการวางแผนทันตสุขศึกษา

และการจัดการกับผูปวยในทันตกรรมเบ็ดเสร็จ และชุมชนการสงเสริมสุขภาพในชองปาก ทพทพ ๕๑๑ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓) วิชาบังคับกอน : ทพผส 514 วิทยาระเบียบวิธีวิจัย

ทําวิจัยหรือเขียนบทความปริทัศน และนําเสนอรายงานเปนรูปเลมรวมกับการสอบปากเปลา

Page 32: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๒

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทพ ๕๑๒ ทันตกรรมรากเทียมขั้นแนะนํา ๑(๑-๐-๒) หลักการและความรูพื้นฐาน และหลักการพื้นฐานในงานทันตกรรมรากเทียม เครื่องมือในการวินิจฉัย กรณี

วิเคราะหการวางแผนการบําบัดเพื่อการบูรณะดวยรากเทียมอยางมีผลสําเร็จ วิธีการทางคลินิกที่เกี่ยวกับเทคนิกทั้ง

ทางศัลยกรรมและทันตกรรมประดิษฐ และหนาที่อยางสูงสุด

ทพทพ ๕๑๕ บริบาลทันตกรรมสําหรับเด็กและทันตกรรมจัดฟน ๒(๒-๐-๔) หลักการในการปองกัน และบําบัดทางทันตกรรมสําหรับเด็ก หลักการตรวจวินิจฉัย การวางแผนการบําบัด

วิธีการจัดการพฤติกรรม การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก เพื่อนําไปสูการวิเคราะหโรคในชองปากและการเรียง

ตัวของฟน หลักการในการจัดการกับฟนน้ํานม และฟนแทที่เกิดอุบัติเหตุกระแทก การทบทวนวรรณกรรมในเรื่องทัน

ตกรรมสําหรับเด็ก และการจัดการกับฟนที่ไดรับภยันตราย ทันตกรรมจัดฟนทั้งแบบปองกันและบําบัดรวมถึงการ

วิเคราะหชุดฟนแบบผสมการพัฒนา และการเจริญของกระโหลกใบหนา ชีวกลศาสตรของการเคลื่อนของฟน แผนการ

วินิจฉัย และการบําบัดโดยใชฐานของการเคลื่อนของฟนเฉพาะตําแหนงดวยการใชเครื่องมือชนิดถอดได การวางแผน

การบําบัด การสงตอและแนะนําผูปวยปากแหวงและเพดานโหว การวางแผนบําบัดดวยสหสาขาวิชาการเปนการ

เสริมสําหรับแผนการบําบัดแบบครอบคลุม

ทพทพ ๕๒๓ สัมมนาทันตกรรมทั่วไป ๑(๑-๐-๒) อภิปรายในหัวขอวิจัยที่เกี่ยวกับทันตกรรมทั่วไปซึ่งเลือกจากวารสารหรือ งานวิจัยที่นักศึกษาสนใจ

กระบวนการสืบคนและการรวบรวมขอมูล ขั้นตอนการวางแผนการวิจัย การเสนอรายงานและการสื่อสารอยางมี

ประสิทธิผลกับผูฟง ทพทพ ๕๓๔ ศัลยศาสตรชองปาก ๑(๑-๐-๒)

วิธีการศัลยกรรมชองปากแบบพื้นฐาน รวมถึงศัลยกรรมทางปริทันต เทคนิกพื้นฐานสําหรับการประเมิน การ

วินิจฉัย การจัดการกับการติดเชื้อ การใชยา และเหตุฉุกเฉินในที่ทํางาน การปฏิบัติตอผูปวยศัลยกรรมชองปากอยาง

เหมาะสม และถูกตองอยางมหีลักจริยธรรมวิชาชีพ ทพทพ ๕๔๕ ทันตกรรมพรอมมูลทางคลินิก ๑ ๓(๐-๙-๕) รักษาโรคทางทันตกรรมอยางเบ็ดเสร็จสมบูรณดวยจริยธรรม ในผูปวยที่มีโรคทางระบบที่มีผลตอการรักษา

ทางทันตกรรม ฝกหัดตรวจวิเคราะห วินิจฉัยโรค วางแผนการรักษา ใหการบําบัดขั้นเตรียมการ ขั้นบูรณาการ และให

คําแนะนําการคงสภาพ และการปองกันการกลับเปนใหมดวยตัวผูปวยเอง

ทพทพ ๕๔๖ ทันตกรรมพรอมมูลทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖)

วิชาบังคับกอน : ทพทพ 540 ทันตกรรมเบ็ดเสร็จ ๑

รักษาโรคทางทันตกรรมอยางอยางมีจริยธรรมโดยการตรวจติดตามผลการรักษา ปญหาและความสําเร็จใน

การรักษาทางทันตกรรมตามหลักการทันตกรรมพรอมมูล

Page 33: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๓

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทพ ๕๗๑ เวชศาสตรชองปาก และเภสัชวิทยาทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒) ประวัติไขปจจุบันของผูปวย การตรวจทั้งภายในและภายนอกชองปาก การวินิจฉัยใหทราบถึงความแตกตาง

การวินิจฉัยเฉพาะแผนการบําบัดโรคชองปาก การอางอิงและการสื่อสารกับบุคคลากรทางการแพทยคนอื่น ๆ การ

จดัการโรคฟนที่พบบอย

วิชาเอก ทันตกรรมสําหรับเด็ก

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทด ๕๒๙ สัมมนาทันตกรรมสําหรับเด็ก ๒(๒-๐-๔) อภิปรายในหัวขอวิจัยที่เกี่ยวกับทันตกรรมสําหรับเด็กซึ่งเลือกจากวารสารหรือ งานวิจัยที่นักศึกษาสนใจ

กระบวนการสืบคนและการรวบรวมขอมูล ขั้นตอนการวางแผนการวิจัย การ เสนอรายงานและการสื่อสารอยางมี

ประสิทธิผลกับผูฟง

ทพทด ๕๓๐ สัมมนาการดูแลผูปวยเด็กทันตกรรม ๑(๑ ๐)

การนําเสนอรายงานผูปวยเด็กที่มีปญหาการจัดการพฤติกรรม หรือมีโรคทางระบบ กรณีมีปญหาทางทันตกรรมที่ยุงยากซับซอน หรือมีขอพิจารณาการรักษาเปนพิเศษ เพื่ออภิปรายแนวทางการดูแลรักษาทางทันต -กรรมโดยมีการศึกษา คนควา หลักการจากหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่มีอยูในปจจุบัน

ทพทด ๕๓๑ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖) ปฏิบัติการตรวจ วินิจฉัย การวางแผนการรักษา และรักษาทางทันตกรรมเด็กแบบทันตกรรมพรอมมูล

อยางมีจริยธรรม การบูรณะฟนน้ํานมและฟนแทดวยวัสดุและวิธีการตาง ๆ ศัลยกรรมในชองปาก การทําทันตกรรม

ปองกันโดยการควบคุมแผนคราบจุลินทรีย การแนะนําดานโภชนาการ การปองกันฟนผุ โดยการใชฟลูออไรดแบบ

ตาง ๆ ทพทด ๕๓๒ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก ๒ ๓(๐-๙-๕) ฝกรักษาอยางมีจริยธรรม ในการตรวจ วินิจฉัย และรักษาคลองรากฟนน้ํานมและฟนแทดวย การตรวจ

วินิจฉัยการสบฟนและแกไขการสบฟนที่ผิดปกติอยางงาย ๆ การใสเครื่องมือกันที่ฟน การปรับพฤติกรรมเด็กโดย

การใชจิตวิทยา และ/หรือโดยการควบคุมทางกาย

ทพทด ๕๓๓ การปรับพฤติกรรมในเด็ก ๑(๑-๐-๒)

ศึกษาพัฒนาการของเด็ก ไดแก พัฒนาการทางรางกาย ทางสมองและสติปญญา พัฒนาการทางสังคม อารมณและบุคลิกภาพ จิตวิทยาในเด็ก และการปรับพฤติกรรมในผูปวยเด็กดวยวิธีการทางจิตวิทยา ทางกายและการใชยา

Page 34: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๔

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทด ๕๓๔ ทันตกรรมปองกันและการรักษาโรคในชองปากเด็ก ๑(๑-๐-๒) หลักการตรวจ วินิจฉัย และการวางแผนการรักษาโรคในชองปากในผูปวยเด็ก สาเหตุการเกิด ฟนผุ ทัน

ตกรรมปองกัน ทันตกรรมบูรณะ การรักษาโพรงประสาท การปองกันและรักษาฟนที่ไดรับอุบัติเหตุ และศัลยกรรม

ชองปาก

ทพทด ๕๓๕ ทันตกรรมจดัฟนปองปราม ๑(๑-๐-๒)

การเจริญเติบโตของใบหนา การพัฒนาของการสบฟนจากฟนน้ํานมสูฟนแท การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโต การตรวจพิเคราะห การเก็บบันทึกผูปวยทางทันตกรรมจัดฟนและนํามาวิเคราะหวางแผนการรักษา การแกไขการสบฟนผิดปกติในระยะเริ่มตนโดยการใชเครื่องมือจัดฟนชนิดถอดได และเครื่องมือจัดฟนชนิดติดแนนอยางงาย ทพทด ๕๔๑ ทันตกรรมสําหรับเด็กทางคลินิก ๓ ๔(๐-๑๒-๖) ปฎิบัติงานทางดานคลินิกทันตกรรมสําหรับเด็กอยางมีจริยธรรมในกลุมเด็กที่ไมรวมมือ ผูปวยที่มีโรคทาง

ระบบ การรักษาทางทันตกรรมจัดฟนแบบงายโดยใชเครื่องมือชนิดถอดได การรักษาฟนของเด็กที่ไดรับอันตรายจาก

อุบัติเหตุ นําเสนอรายงานการรักษาที่นาสนใจ ทพทด ๕๔๒ ทันตกรรมสําหรับเด็กในเด็กพิเศษและโรคทางระบบ ๑(๑-๐-๒)

ปองกันและรักษาโรคในชองปากแกผูปวยเด็กพิเศษที่มีปญหาทางพัฒนาการของรางกาย สติปญญา

พฤติกรรม และปญหาโรคทางระบบ รวมถึงศึกษาธรรมชาติของโรค และความบกพรองหรือพิการตางๆ พื้นฐานดาน

การแพทยของความบกพรองหรือพิการ

ทพทด ๕๔๓ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓)

รวบรวมผลงานหรือทํางานวิจัย นําเสนอผลงานที่รวบรวมหรืองานวิจัยทางทันตกรรมสําหรับเด็กที่นําเสนอ

ขึ้นมาหรือตามที่ไดรับมอบหมาย โดยการวิเคราะห วิจารณ นําเสนอเปนรูปเลมรวมกับสอบปากเปลา

วิชาเอก ทันตกรรมหัตถการ

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทห ๕๑๒ ทันตกรรมหตัถการทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖)

ทักษะทางคลินิกในการใชวัสดุนานาชนิด โดยใชพื้นฐานของทฤษฏีปฏิบัติการบูรณะ รายงานที่แสดงถึง

ขั้นตอนในการวางแผนการรักษาขั้นตอนทางคลินิกและการประเมินหลังการรักษาอยางมีจริยธรรม

ทพทห ๕๑๓ ทันตกรรมหตัถการทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖)

Page 35: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๕

ทําการบูรณะฟนในรายที่มีความซับซอนอยางมีจริยธรรมโดยการตรวจชองปากและฟน วางแผนการบูรณะ

ดวยวัสดุที่เหมาะสม แนะนําและควบคุมอนามัยชองปากของผูปวย บูรณะและติดตาม ประเมินผลการรักษา ทําการ

ถายทอดความรูภาคปฏิบัติวิชาทันตกรรมหัตถการใหกับนักศึกษาทันตแพทย นําเสนอรายงานผลการรักษาที่

นาสนใจเพื่ออภิปราย

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพทห ๕๓๑ แคริโอโลยี ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎี อุบัติการ การปองกัน และการรักษาโรคฟนผุ สัมมนาเกี่ยวกับแคริโอโลยี

ทพทห ๕๓๒ ทันตวัสดุและเครื่องมือบูรณะฟน ๒(๒-๐-๔) วัสดุและเครื่องมือที่ใชในงานทันตกรรมหัตถการ ชนิด สวนประกอบ สมบัติตางๆ ขอบงใช ขอดี ขอเสีย

และการใชวัสดุในคลินิก ทพทห ๕๓๓ ทันตกรรมหัตถการ ๓(๒-๓-๐)

ทฤษฎีการบูรณะฟน วัสดุ เทคนิคที่ใช วิธีการประเมินผลการรักษาภายหลังการบูรณะ การฝกปฏิบัติในหองปฏิบัติการ

ทพทห ๕๓๖ สัมมนาทันตกรรมหัตถการ ๒(๒-๐-๔)

คนควาเอกสารที่เกี่ยวกับทันตกรรมหัตถการ เพื่อทําสัมมนาและเสนอรายงานผูปวยที่ไดรับการบูรณะฟนและอภิปราย

ทพทห ๕๓๙ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๐) ทําวิจัยหรือเขียนบทความปริทัศน นําเสนองานวิจัยหรือบทความปริทัศน และเขียนรายงาน

วิชาเอก ปริทันตวิทยา

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวป ๕๔๓ ปริทันตวิทยาขั้นสูง ๓(๓-๐-๖)

ชีววิทยาเชิงโครงสรางของเนื้อเยื่อปริทันตในขณะที่มีสุขภาพดีและที่เปนโรค สมุฏฐานวิทยา พยาธิกําเนิด

การวินิจฉัย และการวางแผนการรักษาโรคปริทันต การรักษาทางปริทันตขั้นสูงนานาประการ การแกไขการสบฟน การ

เคลื่อนฟนเล็กนอย และการออกแบบฟนเทียมบนฟนหลักที่เปนโรคปริทันต การปองกันโรคปริทันต

ทพวป ๕๔๔ สัมมนาพยาธิวิทยาเชิงปริทันต ๑ ๑(๑-๐-๒)

สมุฏฐานวิทยาและปจจัยอื่น (เชน แผนชีวภาพ คราบจุลินทรีย หินน้ําลาย การบาดเจ็บเหตุสบฟน ฯลฯ) ของ

พยาธิกําเนิดของโรคปริทันต วิทยาการระบาดของโรคเหงือกอักเสบและปริทันตอักเสบ จุลพยาธิวิทยาของโรคปริทันต

ทพวป ๕๔๕ สัมมนาพยาธืวิทยาเชิงปริทันต ๒ ๑(๑-๐-๒)

Page 36: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๖

กลไกทางพยาธิวิทยาของโรคปริทันตอักเสบ บทบาทของแผนชีวภาพ คราบจุลินทรีย ปฏิกิริยาทางภูมิคุมกัน

รางกาย ปจจัยทั่วกาย และปจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่มีผลตอพยาธิกําเนิดของโรคปริทันตอักเสบ เทคนิคการวินิจฉัยสําหรับ

โรคปริทันต

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวป ๕๔๖ สัมมนาปริทันตบําบัด ๑ ๑(๑-๐-๒)

ปริทันตบําบัดแบบอนุรักษ ศัลยกรรมปริทันตแบบตัดออก ศัลยกรรมเยื่อเมือก-เหงือก และความจําเปนใน

การรักษา

ทพวป ๕๔๗ สัมมนาปริทันตบําบัด ๒ ๑(๑-๐-๒)

ศัลยกรรมปริทันตแบบทําใหคืนสภาพ ปริทันตบําบัดรวมกับการรักษาสาขาอื่น เชน ทันตกรรมจัดฟน

ทันตกรรมประดษิฐ การรักษาคลองรากฟน การใสรากเทียม การรักษาอวัยวะปริทันตที่ไมงามเพือ่การบูรณะดวยฟน

เทียมหรือรากเทยีม ปริทันตบําบัดในกรณีผูปวยพิเศษ และผลระยะยาวของปริทนัตบําบัด

ทพวป ๕๐๘ สัมมนาวรรณกรรมปจจุบันทางปริทันตวทิยา ๑ ๑(๑-๐-๒)

ความรูในเรื่องปริทันตวิทยาจากวารสารทางปริทันตวิทยา และวารสารอื่นที่เกี่ยวของในปจจุบัน ทพวป ๕๘๑ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๑ ๒(๐-๖-๒) การวินิจฉัยทางปริทันต การพยากรณโรค และการวางแผนการรักษาสําหรับผูปวยโรคปริทันตอักเสบขั้นปาน

กลางถึงขั้นรุนแรง ผูปวยโรคปริทันตที่มีโรคทั่วกาย และผูปวยที่ตองไดรับการรักษาแบบสหวิทยาการ ปริทันตบําบัด

ขั้นเตรียมการ ปริทันตบําบัดขั้นตน และปริทันตบําบัดประคับประคอง จริยธรรมในการใหบริการสุขภาพ

ทพวป ๕๘๒ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๓(๐-๙-๓) การประเมินการสนองตอบตอการรักษาขั้นตน การวางแผนศัลยกรรมปริทันต ศัลยกรรมปริทันตแบบงาย/

แบบซับซอนและการติดตามผล จริยธรรมในการใหบริการสุขภาพ ทพวป ๕๘๓ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๓ ๒(๐-๖-๓)

การวินิจฉัยทางปริทันต การพยากรณโรค และการวางแผนการรักษาสําหรับผูปวยโรคปริทันตอักเสบขั้นปานกลางถึงขั้นรุนแรง ผูปวยโรคปริทันตที่มีโรคทั่วกาย และผูปวยที่ตองไดรับการรักษาแบบสหวิทยาการ ปริทันตบําบัดขั้นเตรียมการ ปริทันตบําบัดขั้นตน การประเมินการสนองตอบตอการรักษาขั้นตน การวางแผนศัลยกรรมปริทันต ศัลยกรรมปริทันตแบบงาย/แบบซับซอนและการตดิตามผล จริยธรรมในการใหบริการสุขภาพ ทพวป ๕๘๔ ปริทันตศาสตรคลินิกขั้นสูง ๔ ๒(๐-๖-๒) การประเมินผลภายหลังปริทันตบําบัดขั้นแกไข และการประเมินการสนองตอบของเนื้อเยื่อปริทันตตอการ

บูรณะ และปริทันตบําบัดประคับประคอง จริยธรรมในการใหบริการสุขภาพ

Page 37: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๗

ทพวป ๕๖๙ รายงานเฉพาะสาขา ๒(๐-๖-๓) ทบทวนวรรณกรรมหรือทําวิจัยทางปริทันตวิทยา และ/หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของโดยวิเคราะห

วิจารณ และนําเสนอเปนรูปเลมรวมกับการสอบปากเปลา

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวป ๖๑๑ พยาธิสรีรวิทยาประยุกต ๑(๑-๐-๒)

พยาธิสรีรวิทยาในระบบทางหนาที่รางกาย รวมถึงสมุฏฐานวิทยา พยาธิกําเนิด และอาการแสดงตางๆ ในชองปาก วิชาเอก รังสีวิทยาชองปาก และแม็กซิลโลเฟเซียล

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพรส ๕๔๐ รังสีชีววิทยา ๑(๑-๐-๒) ผลของรังสีทางชีววิทยา ผลทางเคมีและปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในเซลลของสิ่งมีชีวิต

ความสัมพันธของปริมาณรังสีกับการเปล่ียนแปลงอายุของเซลล ชนิดของเซลลและความไวตอรังสี ชนิดของอวัยวะ

ตอการเปลี่ยนแปลง ความไวและความตานทานตอรังสี ผลที่จะเกิดขึ้นแกอวัยวะสําคัญเมื่อไดรับรังสี ผลของการถูก

รังสีเปนจํานวนมากในคนแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง และผลที่จะเกิดตามมาภายหลังของรังสีกับเด็กและทารกในครรภ

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมและการเกิดมะเร็งจากรังสี

ทพรส ๕๓๒ ฟสิกสการแผรังสี ๒(๒-๐-๔) หลักการพื้นฐานทางรังสีฟสิกส โครงสรางและสมบัติที่สําคัญของอะตอมและนิวเคลียร ทฤษฎีเกี่ยวกับการ

สลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี การเกิดรังสีเอกซ ปฏิกิริยานิวเคลียร ปฏิกิริยาระหวางรังสีกับสสาร คุณสมบัติทาง

ฟสิกสซึ่งนํามาประยุกตใชในทางการแพทยและทันตแพทยเพื่อชวยในการวินิจฉัยโรค

ทพรส ๕๔๒ เทคนิคการถาย และการแปลภาพรังสี ๒(๒-๐-๔) การถายภาพรังสีในและนอกชองปาก ภาพถายรังสีเทคนิคพิเศษ ภาพรังสีดิจิทัล ภาพถายรังสีสวนตัดอาศัย

คอมพิวเตอรทั้งในทางการแพทยและทางทันตกรรม ภาพเอ็มอาร การแปลภาพรังสีบริเวณศีรษะ ใบหนา และ

ขากรรไกร ภาพรังสีของความผิดปกติที่มีมาแตกําเนิด ภยันตราย โพรงอากาศ ขอตอขากรรไกรทั้งในสภาพปกติและ

มีพยาธิสภาพ นิติทันตวิทยา

ทพรส ๕๔๓ สัมมนาการวิเคราะหกรณีผูปวยทางรังสีวิทยาชองปาก ๑(๑-๐-๒) และแม็กซิลโลเฟเชียล กรณีศึกษาโดยรวบรวมภาพรังสีและขอมูลผูปวยที่มีรอยโรคที่นาสนใจจากเวชระเบียน, วารสาร,

อินเทอรเน็ต มาศึกษาในแงมุมตางๆ ลักษณะทางภาพรังสี และการวินิจฉัยแยกโรค ทพรส ๕๔๔ สัมมนาทางรังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๑(๑-๐-๒)

Page 38: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๘

การทบทวนวิเคราะหบทความจากฐานขอมูลเรื่องรังสีฟสิกส, รังสีชีววิทยา, การปองกันอันตรายจากรังสี.

การทบทวนวิเคราะหบทความปจจุบันเรื่องเทคโนโลยีของภาพรังสีที่ทันสมัย การนํามาประยุกตใชในทาง ทันตกรรม

เชน ภาพถายรังสีสวนตัดอาศัยคอมพิวเตอร ภาพเอ็มอาร

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) ทพรส ๕๔๕ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓) ทบทวนวิเคราะหบทความปจจุบันเรื่องเทคโนโลยีของภาพรังสีที่ทันสมัย การนํามาประยุกตใชในทางทันตก

รรม เชน ภาพถายรังสีสวนตัดอาศัยคอมพิวเตอร ทบทวนวิเคราะหรอยโรคตาง ๆ ทั้งที่เปนเงาโปรงรังสีและเงาทึบรังสี

รายงานเรื่องที่นาสนใจจากบทความที่รวบรวมไว

ทพรส ๕๖๗ ประชุมรวมพยาธิวิทยาคลินิก ๑(๑-๐-๒) การรวบรวมนําเสนอรายงานผูปวยที่พบในคลินิกในแงการวินิจฉัยทางคลินิก,การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา,

การวางแผนการรักษา, การดูแลและติดตามผลการรักษา รวมกับภาควิชาอื่นๆที่เกี่ยวของ เชน ภาควิชาพยาธิวิทยา,

ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก, และ ภาควิชาศัลยศาสตร ทพรส ๖๖๑ รังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖) การใหบริการในคลินิกรังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลอยางมีจริยธรรม โดยนําความรูพื้นฐาน

ทางดานรังสีวิทยามาประยุกตใช การแปลผลทางภาพรังสีของโรคที่เกี่ยวของกับชองปาก ใบหนาและขากรรไกร การ

ฝกปฏิบัติใหเกิดความชํานาญในขั้นตอนการใชเครื่องเอกซเรยชนิดตางๆ การปฏิบัติงานในหองมืด การควบคุม

คุณภาพของฟลม

ทพรส ๖๖๒ รังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖) การใหบริการในคลินิกรังสีวิทยาชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลอยางมีจริยธรรม โดยนําความรูพื้นฐาน

ทางดานรังสีวิทยามาประยุกตใช การถายภาพรังสีดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยเนนใหสามารถเลือกใชเทคนิคการ

ถายภาพรังสีที่เหมาะสมและเปนประโยชนแกผูปวยแตละราย การแปลผลทางภาพรังสีของโรคที่เกี่ยวของกับ ชอง

ปาก ใบหนาและขากรรไกร

ทพกย ๖๐๑ กายวิภาคศาสตรประยุกตของศีรษะ และคอ ๑(๑-๐-๒) ระบบโครงสรางตางๆ บริเวณศีรษะและลําคอ หนาที่ของระบบกลามเนื้อ ระบบประสาท และอวัยวะตาง ๆ

เพื่อนําความรูที่ไดรับไปประยุกตสําหรับการบําบัดรักษาทางทันตกรรม หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ทพพย ๕๔๐ พยาธิวิทยาชองปากวินิจฉยั ๑(๑-๐-๒) หลักการวินิจฉัยโรคชองปาก เทคนิคหองปฏิบัติการและการแปลผล นิติวิทยาศาสตและชีววิทยาชองปาก

โรคของตอมน้ําลาย เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และกระดูก ความผิดปกติในการพัฒนาใบหนาและศรีษะ มะเร็งชองปาก รอย

โรคชองปากในผูสูงอายุ และผูมีฮอรโมนพรอง และพยาธิวิทยาภูมิคุมกันชองปาก

Page 39: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๓๙

วิชาเอก วิทยาเอ็นโดดอนต

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวด ๕๗๐ วิทยาเอ็นโดดอนต ๓(๒-๓-๕)

ทบทวนและประเมินความรูพื้นฐาน หลักการและเหตุผลของการรักษาคลองราก โรคของเนื้อเยื่อในและ

ปลายราก การวางแผนการรักษาที่ยุงยากกวาปกติ การบําบัดกรณีฉุกเฉิน การถายรังสีในงานรักษาราก กลไกของ

อาการปวด การใชยาปฏิชีวนะเพื่อควบคุมเชื้อโรคในคลองราก การอักเสบบนใบหนาอันเนื่องมาจากเชื้อในคลองราก

การบูรณะตัวฟนหลังรักษาคลองราก การทําศัลยกรรมปลายราก การฟอกสีฟน การรักษาฟนที่ไดรับอุบัติเหตุ

ทพวด ๕๗๑ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๑ ๓(๐-๙-๕) จริยธรรมของการประกอบวิชาชีพและ การรักษาคลองรากฟนในฟนหลายรากดวยวิธีพื้นฐาน การบําบัด

ฉุกเฉินเกี่ยวกับโรคของคลองรากฟน

ทพวด ๕๗๒ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖) จริยธรรมของการประกอบวิชาชีพและ การรักษาคลองรากฟนในฟนหลายรากที่มีปญหา แกไขหรือใหการ

รักษาในฟนที่เคยรักษาคลองรากแลว

ทพวด ๕๗๓ วิทยาเอ็นโดดอนตทางคลินิก ๓ ๔(๐-๑๒-๖) จริยธรรมของการประกอบวิชาชีพและ การแกไขปญหาในคลองรากที่มีรอยทะลุ รวมกับการใชกลอง

จุลทรรศน รักษาคลองรากที่มีปญหาของโรคที่เกี่ยวของกับหลายสาขาวิชา การทําศัลยกรรมปลายราก

ทพวด ๕๗๖ สัมมนาการวิเคราะหกรณีผูปวย ๑(๑-๐-๒) การนําเสนอและอภิปรายการรักษาผูปวยงานรักษาคลองรากฟนที่รักษาดวยวิธีอนุรักษ และ/หรือรวมกับวิธี

ศัลยกรรมปลายราก นักศึกษาใหเหตุผลสนับสนุน วิเคราะห และวิจารณ ถึงการตัดสินใจใหการรักษากับผูปวย โดยใช

ทันตกรรมฐานเหตุประจักษ ทบทวนบทความและรายงานวิจัยตนแบบและปจจุบัน ทางวิทยาเอ็นโดดอนตซึ่ง

เกี่ยวของกับสาเหตุของการเกิดโรค พยาธิวิทยา จุลชีววิทยา รังสีวิทยาของการอักเสบของเนื้อเยื่อในและเนื้อเยื่อรอบ

รากฟน อาการทางคลินิก การวินิจฉัยโรค แผนและกลยุทธการรักษา และผลของการรักษา

ทพวด ๕๗๗ สัมมนาวิทยาเอ็นโดดอนต ๑ ๑(๑-๐-๒)

แนวคิดหลักมูลโรคและพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อในและเนื้อเยื่อรอบรากฟน อาทิ สาเหตุกรรมวิธี

การปองกันและวางแผนการรักษาในกรณีปกติ และกรณีที่มีความสลับซับซอน

Page 40: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๐

ทพวด ๕๗๘ สัมมนาวิทยาเอ็นโดดอนต ๒ ๑(๑-๐-๒) การสัมมนาเชิงวิเคราะห และวิจารณบทความและงานวิจัยใหม ในสาขาวิทยาเอ็นโดดอนต และ

สาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ เชน รังสีวิทยา,เภสัชวิทยา,จุลชีววิทยา หรือวิชาทางคลินิกดานตาง ๆ

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวด ๕๗๙ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๕) ทําวิจัยระดับพื้นฐานหรือเขียนบทความปริทัศนในวิชาวิทยาเอ็นโดดอนตโดยเสนอโครงการวิจัยและผล

พรอมทั้งทําเปนรูปเลม

วิชาเอก วิทยาระบบบดเคี้ยว

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพรบ ๕๓๐ วิทยาการสบฟน ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวคิดการสบฟน ไดแก พัฒนาการของการสบฟน การตรวจพิเคราะหการสบฟน การ

เคลื่อนไหวของขากรรไกรและขอกําหนดของการสบฟน ความสัมพันธของการสบฟนและขากรรไกร การตอบสนอง

ของอวัยวะปริทันตตอแรงบดเคี้ยว แนวคิดการสบฟน กลศาสตรของขากรรไกร การใชกลอุปกรณขากรรไกรจําลอง

การบันทึกการสบฟน ชีวกลศาสตรของการสบฟนและกลอุปกรณขากรรไกรจําลอง การสบฟนและการบําบัดทางทัน

ตกรรม การสบฟนและการทําหนาที่ผิดปกติของระบบบดเคี้ยว การกรอปรับการสบฟน

ทพรบ ๕๓๑ ความผิดปกติทางหนาที่ของระบบบดเคี้ยว ๒(๒-๐-๔)

กายวิภาคศาสตรดานการทําหนาที่ของระบบบดเคี้ยว โรคและความผิดปกติในการทําหนาที่ของระบบบดเคี้ยว หลักการตรวจพิเคราะห การทําทดสอบเพื่อการวินิจฉัย และแนวคิดการบําบัดรักษาการทําหนาที่ผิดปกติของระบบบดเคี้ยว

ทพรบ ๕๓๒ ความเจ็บปวดชองปาก-ใบหนา ๑(๑-๐-๒)

ประสาทชีววิทยาของความเจ็บปวดบริเวณชองปากและใบหนา โดยรวมปจจัยทางจิตที่ เกี่ยวของกับความเจ็บปวดเฉียบพลันและเรื้อรัง หลักการประเมินผูปวยและพิเคราะหแยกปญหาความเจ็บปวด บทบาททางเคมีของสารหล่ังในการสงผานและเปลี่ยนแปลงความเจ็บปวด หลักการดูแลบําบัดผูปวยที่มีความทรมานอันเนื่องจากความเจ็บปวด

ทพรบ ๕๓๓ รายงานเฉพาะทาง ๓(๐-๙-๕) รวบรวมผลงาน หรือทํางานวิจัย นําเสนอผลงานที่รวบรวมหรืองานวิจัยทางวิทยาระบบบดเคี้ยว และความ

เจ็บปวดบริเวณใบหนาและขากรรไกรที่นําเสนอขึ้นมาหรือตามที่ไดรับมอบหมาย โดยวิเคราะห วิจารณ โดยนําเสนอ

เปนรูปเลมรวมกับสอบปากเปลา ทพรบ ๕๓๔ สัมมนาวิทยาระบบบดเคี้ยว ๑(๑-๐-๒)

Page 41: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๑

อภิปรายในหัวขอวิจัยที่เกี่ยวกับวิทยาระบบบดเคี้ยวซึ่งเลือกจากวารสารหรือ งานวิจัยที่นักศึกษาสนใจ

กระบวนการสืบคนและการรวบรวมขอมูล ขั้นตอนการวางแผนการวิจัย การ เสนอรายงานและการสื่อสารอยางมี

ประสิทธิผลกับผูฟง

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพรบ ๕๓๕ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลนิิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖) ใหการรักษาอยางมีจริยธรรมในผูปวยที่มีความผิดปกติของระบบบดเคี้ยว/ความเจ็บปวดบริเวณใบหนา-

ชองปากโดยใชเทคนิคพื้นฐานในการประเมิน ซักประวัติและตรวจรางกายผูปวย การสงตรวจพิเศษเพิ่มเติมเชน การ

สงตรวจทางภาพรังสี การตรวจทางหองปฏิบัติการ การประเมินทางดานพฤติกรรมและจิตวิทยาสังคมของผูปวยเพื่อ

ใชในการวางแผนการรักษา การใหการรักษาเบื้องตนเพื่อบําบัดอาการและการสงตอผูปวย นําเสนอรายงาน

ผลการรักษาที่นาสนใจเพื่ออภิปราย

ทพรบ ๕๓๖ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๖) ใหการรักษาอยางมีจริยธรรมในผูปวยที่มีความผิดปกติของระบบบดเคี้ยว/ความเจ็บปวดบริเวณใบหนาชอง

ปากซึ่งตองการการรักษาแบบผสมผสาน (interdisciplinary approach) โดยสามารถวิเคราะหผูปวย วางแผนและให

การรักษา การสงตอผูปวยเพื่อรับการรักษาเฉพาะทางที่เหมาะสม นําเสนอรายงานผลการรักษาที่นาสนใจเพื่อ

อภิปราย ทพรบ ๕๓๗ วิทยาระบบบดเคี้ยวทางคลินิก ๓ ๓(๐-๙-๕) บูรณะระบบบดเคี้ยวอยางมีจริยธรรมในผูปวยที่มีความผิดปกติของระบบบดเคี้ยว/ความเจ็บปวดบริเวณ

ใบหนา-ชองปากใหสามารถใชงานไดตามความเหมาะสม ติดตาม ประเมินผลการรักษา และการเรียกผูปวยกลับมา

ตรวจเปนระยะ ทําการถายทอดความรูภาคปฏิบัติวิชาวิทยาระบบบดเคี้ยวใหกับนักศึกษาทันตแพทย นําเสนอ

รายงานผลการรักษาที่นาสนใจเพื่ออภิปราย

วิชาเอก เวชศาสตรชองปาก หนวยกิต(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตยเอง) ทพภส ๕๔๐ เภสัชวิทยาและการรักษาทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒)

หลักการทางเภสัชวิทยาคลินิก การทดลองยาเพื่อการบําบัดรักษาและกระบวนการพัฒนายาใหม ยาที่ใชในการปองกันและรักษาโรคในชองปาก เชน ยาตานจุลชีพ ยาตานการอักเสบ ยาแกปวด ยาชา ยาออกฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง ผลกระทบของยาในชองปากและโครงสรางที่เกี่ยวของ

ทพวป ๕๖๐ เวชศาสตรชองปากขั้นสูง ๓(๓-๐-๖)

หลักการพื้นฐานทางเวชศาสตรชองปาก และความรูทางเวชศาสตรชองปากขั้นสูง เกี่ยวกับการเปลี่ยนของเนื้อเยื่อออนบุชองปาก สาเหตุที่ทําใหเกิดภาวะแผลในชองปาก เนื้องอกชนิดรายแรง และไมรายแรงที่เกิดกับเนื้อเยื่อออน อาการเจ็บปวดบริเวณชองปาก และใบหนา และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ของเนื้อเยื่อออนบุชองปาก

Page 42: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๒

ทพวป ๕๖๒ เวชศาสตรชองปากทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๓) ฝกปฏิบัติในการรักษาอยางมีจริยธรรมในคลินิกเวชศาสตร โดยศึกษายอนหลังจากแผนการรักษาที่ผานมา

ตรวจสภาวะปจจุบันของผูปวยที่มีรอยโรคของเนื้อเยื่อออนในชองปาก ติดตามผลการรักษา ประเมินการรักษาผูปวย

ทางยา และหรือวิธีอื่นๆ ที่เหมาะสม ศึกษาสภาวะชองปากของผูปวยที่เปนโรคทางระบบตาง ๆ ผูปวยที่ไดรับยาเพื่อ

รักษาโรคประจําตัว

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวป ๕๖๓ เวชศาสตรชองปากทางคลินิก ๒ ๔(๐-๑๒-๓) ฝกปฏิบัติในการรักษาอยางมีจริยธรรมในทางคลินิกเวชศาสตรชองปาก โดยฝกหัดตรวจวิเคราะหทางคลินิก

และหองปฏิบัติการของผูปวยที่มีรอยโรคของเนื้อเยื่อออนในชองปาก เพื่อการวินิจฉัยโรคในชองปาก การวางแผนการ

รักษา การรักษาผูปวยทางยา และหรือวิธีอื่น ๆ ที่เหมาะสม การดูแลและติดตามผล เพื่อใหมีประสบการณ และความ

ชํานาญ ศึกษาสภาวะชองปากของผูปวยที่เปนโรคทางระบบตาง ๆ ผูปวยไดรับยาเพื่อรักษาโรคประจําตัว การ

ปองกัน หรือรักษาความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นจากโรคทางระบบเหลานี้

ทพวป ๕๖๔ สัมมนาเวชศาสตรชองปาก ๑(๑-๐-๒) สัมมนาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อออนในชองปากอันเนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ การวินิจฉัย การ

รักษาดวยวธิีการตาง ๆ ผลการรักษา จากบทวิทยาการที่ไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับของสากล

ทพวป ๕๗๐ สัมมนาเวชศาสตรชองปากปจจุบัน ๑(๑-๐-๒) สัมมนาการศึกษาวิจัยทางชีววิทยาโมเลกุลและวิทยาการที่ทันสมัยเกี่ยวกับสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ

เนื้อเยื่อออนในชองปาก อันเนื่องมาจากสภาวะทางระบบ เพื่อนําไปสูการรักษาใหม หรือการปองกันรอยโรค หรือ

ความผิดปกติตาง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเปนความรูเกี่ยวกับเวชศาสตรชองปากจากบทความปจจุบันยอน

หลัง ๒ ป

ทพวป ๕๗๑ ประชุมรวมกรณีผูปวย ๑(๑-๐-๒) การอภิปรายขอมูล กรณีผูปวยที่พบในคลินิกเวชศาสตรชองปาก ที่ไดรับการรักษาตั้งแตการซักประวัติ การ

ตรวจทางคลินิก การวินิจฉัยแยกโรค การวางแผน การรักษา และการติดตามผล โดยมีการศึกษาคนควาเพิ่มเติมจาก

บทวิทยาการที่เกี่ยวของ ทพวป ๕๗๒ รายงานเฉพาะทาง ๒(๐-๖-๓) รวบรวมผลงานหรือทําวิจัยทางเวชศาสตรชองปาก และ/หรือ สาขาวิชาที่เกี่ยวของ โดยวิเคราะห วิจารณ

และนําเสนอเปนรูปเลมรวมกับการสอบปากเปลา

ทพวป ๕๗๓ ประชุมรวมพยาธิวิทยาคลินิก ๑(๑-๐-๒)

Page 43: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๓

อภิปรายและตอบคําถามจากการนําเสนอรายงานผูปวยที่มีโรคทางระบบตาง ๆ ที่ทางในคลินิกเวชศาสตร

ชองปาก ภาควิชาเวชศาสตรชองปาก คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ในแงการวินิจฉัย การวางแผนการ

รักษา การดูแล และติดตามผลการรักษารวมกับภาควิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

ทพวป ๕๗๔ เวชศาสตรทั่วไป ๑(๑-๐-๒)

อาการและอาการแสดงของโรค วิธีการรักษามาตรฐาน โดยเนนถึงโรคซึ่งมีอาการแสดงในชองปาก หรือมีผลทําใหเกิดการติดเชื้อในชองปากไดงาย โรคที่ทําใหโรคในชองปากที่ปรากฏอยูแลวรุนแรงมากขึ้น โรคที่ทันตแพทยตองคํานึงถึงและมีความเกี่ยวของกับการบําบัดรักษาทางทันตกรรม

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพวป ๖๑๑ พยาธิสรีรวิทยาประยุกต ๑(๑-๐-๒) การเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพในระบบการทํางานของรางกายเมื่อเกิดโรค รวมถึงสาเหตุ พยาธิสภาพ และ

การเปลี่ยนแปลงในระบบนั้นที่มีผลทําใหเกิดอาการแสดงตาง ๆ ในชองปาก

วิชาเอก ศัลยศาสตรชองปาก และแม็กซิลโลเฟเชียล

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพศศ ๕๓๐ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๑ ๒(๒-๐-๔) ความรูพื้นฐานทางศัลยศาสตรทั่วไป การซักประวัติและตรวจรางกายผูปวยโดยละเอียด ระบบและระเบียบ

การปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และหองผาตัด การเตรียมผูปวย การดูแลผูปวยกอนและหลังการผาตัด การดูแลหลัง

การดมยาสลบ การตรวจและวินิจฉัยโรคของถุงน้ํา เนื้องอก และการติดเชื้อของชองปาก กระดูกขากรรไกรและอวัยวะ

ที่เกี่ยวของ

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพศศ ๕๔๐ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๒ ๒(๒-๐-๔) การปลูกฟน การผาตัดเพื่อแกไขความผิดปกติของเนื้อเยื่อในชองปากเพื่อการใสฟนปลอม ใบหนาและ

ขากรรไกรประดิษฐ การผาตัดฝงรากเทียม ศัลยกรรมปลายรากฟน การใชยาในงานศัลยกรรม การรักษาโรคติดเชื้อใน

บริเวณชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล การรักษาภยันตรายตอฟนและกระดูกขากรรไกรหัก การผาตัดแกไขความวิกล

รูปของขากรรไกร ปากแหวงเพดานโหว และความผิดปกติของใบหนาและกะโหลกศีรษะ การรักษาโรคของขมับและ

ขอตอขากรรไกรโดยวิธีการอนุรักษ และการผาตัด

ทพศศ ๕๓๑ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๑ ๔(๐-๑๒-๖) ฝกปฏิบัติในการรักษาอยางมีจริยธรรมในการผาฟนคุดและฟนฝงอยางยาก การทําศัลยกรรมปลายรากฟน

การวินิจฉัยแยกโรคและตัดชิ้นเนื้อเพื่อสงตรวจพิเคราะห การรักษากระดูกใบหนาและขากรรไกรหกั

ทพศศ ๕๓๒ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๒ ๓(๐-๙-๕)

ฝกปฏิบัติในการรักษาอยางมีจริยธรรมในการเตรียมผูปวยกอนดมยาสลบและกอนผาตัด การดูแลหลัง

ผาตัด การเปนผูชวยในการผาตัดใหญและเปนผูชวยวิสัญญีแพทย

Page 44: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๔

ทพศศ ๕๓๓ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๓ ๔(๐-๑๒-๖) ฝกปฏิบัติในการรักษาอยางมีจริยธรรมในผูปวยที่มีการในการติดเชื้อในชองปากและใบหนาที่มีสาเหตุจาก

ฟน

ทพศศ ๕๓๔ ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลทางคลินิก ๔ ๓(๐-๙-๕) ฝกปฏิบัติในการรักษาอยางมีจริยธรรมโรคถุงน้ําและเนื้องอกของกระดูกขากรรไกรในรายที่ไมยุงยาก

แกปญหาการเกิดรูทะลุระหวางชองปาก และโพรงอากาศแม็กซิลลา ที่มีสาเหตุจากฟน การผาตัดเพื่อแกไขสันเหงือก

ใหเหมาะสมตอการใสฟนเทียม

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพผส ๕๙๖ สัมมนาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ๒(๒-๐-๔) ศึกษาเอกสารทางวิชาการทางศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ จาก

วารสารตางๆ ทั้งในและตางประเทศ เสนอรายงาน อภิปรายและตอบคําถามทางวิชาการในชั้นเรียน

๑๘.๖.๔ หมวดวิชาเลือก ไมนอยกวา ๑-๒ หนวยกิต

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง )

ทพกย ๖๐๑ กายวิภาคศาสตรประยุกตของศีรษะและคอ ๑(๑-๐-๒) ระบบโครงสรางตางๆ บริเวณศีรษะและลําคอ หนาที่ของระบบกลามเนื้อ ระบบประสาท และอวัยวะ ตาง ๆ

เพื่อนําความรูที่ไดรับไปประยุกตสําหรับการบําบัดรักษาทางทันตกรรม

ทพกย ๕๔๑ แมทริกซนอกเซลลและเนื้อเยื่อที่มีแรสะสม ๑(๑-๐-๒) โครงสรางและหนาที่ของเนื้อเยื่อยึดตอ รายละเอียดเกี่ยวกับชีวสังเคราะหขององคประกอบเสนไยซึ่งไดแก

คอลลาเจน, อีลาสติน และ ไกลโคอมิโนไกลแคน ชีวเคมีของ แมทริกซอินทรีย และสวนประกอบที่มีแรสะสมทั้งกระดูก

และฟน เมตาบอลิสมของกระดูก การชักนําใหเกิดการเจริญและการปรับรูปรางของกระดูกซึ่งควบคุมโดยระบบตอมไร

ทอในรสภาวะปกติและกระบวนการทางพยาธิวิทยา ซึ่งเกี่ยวของกับเนื้อเยื่อยึดตอทั่ว ๆ ไป โดยเฉพาะบริเวณศีรษะ

และใบหนาในระดับเซลลและโมเลกุล

ทพจว ๕๔๐ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกันทางทนัตแพทยศาสตร ๑(๑-๐-๒) นิเวศวิทยาของจุลินทรียในชองปาก คราบจุลินทรียและบทบาทในการกอโรค จุลินทรียที่ทําใหเกิดโรคฟนผุ

โรคปริทันต และการติดเชื้อในชองปากที่สําคัญ การตอบสนองของระบบภูมิคุมกันตอเชื้อกอโรคในชองปาก ทพจว ๕๔๑ วิธีทางจุลชีววิทยาในการวิจยัทางทันตแพทยศาสตร ๑(๑-๐-๒) การทดลองและปฏิบัติการโดยวิธีที่ใชในงานวิจัยทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกันชองปาก การตรวจและ

วินิจฉัยแบคทีเรียในชองปากโดยการเพาะเลี้ยง การทดสอบความเสี่ยงตอการเกิดโรคฟนผุ การตรวจและวินิจฉัย

แบคทีเรียในชองปากโดยวิธีอื่นๆ เชน การใชดีเอ็นเอตรวจสอบ ปฏิกิริยาลูกโซโพลีเมอเรส ระเบียบวิธีทางวิทยา

ภูมิคุมกัน การประยุกตใช

Page 45: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๕

ทพจว ๕๔๒ ภูมิคุมกันโรคในชองปาก ๑(๑-๐-๒)

โครงสรางพื้นฐานและชนิดของอิมมิวโนโกลบูลิน ภูมิคุมกันตอการติดเชื้อทั้งแบบ innate และ acquired

ภูมิคุมกันในชองปากเนื้อเยื่อน้ําเหลือง ในชองปาก น้ําลาย ไอจี เอ น้ําเหลืองเหงือก วิทยาภูมิคุมกันในโรคฟนผุ โรค

ปริทันต โรคติดเชื้อแคนดิดา และโรคติดเชื้อไวรัส การสรางภูมิคุมกัน

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพชค ๕๔๐ ชีววิทยาระดับโมเลกุลทางทันตแพทยศาสตร ๑(๑-๐-๒)

แนะนําและการประยุกตใชทางทันตแพทยศาสตร พื้นฐานของอณูชีววิทยา ศึกษาสวนประกอบของเซลล

ยีน พันธุศาสตรระดับโมเลกุล การสังเคราะหโปรตีน การโคลนยีน การควบคุมการแสดงออกของยีน และหลักการ

พื้นฐานของเทคนิคทางอณูชีววิทยา และการประยุกตใชทางทันตแพทยศาสตร

ทพทพ ๕๗๐ ชีวสถิติเบ้ืองตน ๑ (๑-๐-๒) หลักการพื้นฐานทางสถิติ เพื่อใหนักศึกษานําความรูมาประยุกตใชในงานวิจัยทางทันตกรรม อีกทั้งยังเปน

การชวยใหนักศึกษามีความรู ความเขาใจ และสามารถใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับงานวิจัยทางทันต

แพทยศาสตร

ทพวด ๖๗๙ วิทยาเอ็นโดดอนตประยุกต ๒(๑-๓-๓) ความรูพื้นฐานทางวิทยาเอ็นโดดอนต ขอบเขตและเหตุผล พยาธิสภาพของเนื้อเยื่อในและปลาย รากฟน

การควบคุมอาการปวด การใชยาตานจุลชีพ การวางแผนรักษาในกรณีทั่วไป วัสดุทางวิทยาเอ็นโดดอนต เครื่องมือ

และเทคนิค การฝกปฎิบัติในหองปฎิบัติการ

ทพทห ๖๘๐ ทันตกรรมหตัถการประยุกต ๒(๑-๓-๐)

ทฤษฎีการรักษาบูรณะในแบบตางๆซึ่งรวมถึง วัสดุและวิธีการ และวิธีการประเมินการบูรณะภายหลังการรักษา โดยรวมถึงการฝกปฎิบัติวิธีการเหลานี้ ทพผส ๕๔๒ หลักการของเทคนิคที่ใชในทางวิทยาการชองปาก ๑(๑-๐-๒) หลักการพื้นฐานของเทคนิคที่ทันสมัยตาง ๆ ที่ใชในการทําวิจัยทางดานชีววิทยาชองปาก

ทพผส ๕๔๓ สัมมนารวมสาขา ๑(๑-๐-๒) การรวบรวมนําเสนอรายงานผูปวยรายสัปดาห สัปดาหละ ๑ ชั่วโมง โดยประมวลความรูจากวิชาตางๆ ที่

เรียนมา เพื่อใหมีความเชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผูปวยแบบเบ็ดเสร็จ สามารถนําหลักการพื้นฐานมาประยุกตใชได

การแลกเปลี่ยนความเห็นกันระหวางนักศึกษาแตละสาขาวิชา

ทพผส ๕๔๔ ประสาทชีววิทยาของความเจ็บปวด ๑(๑-๐-๒)

Page 46: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๖

ประสาทสรีรวิทยาของระบบประสาทสั่งการ-รับความรูสึกของชองปาก ความรูพื้นฐานของระบบประสาทรับ

ความรูสึกและระบบประสาทสั่งการในบริเวณใบหนาและชองปาก กลไกของความเจ็บปวดบริเวณใบหนาและชอง

ปาก

ทพผส ๕๕๐ เทคนิคปฏิบัติการวิทยาการชองปาก ๑(๐-๓-๑) ฝกปฏิบัติเทคนิคที่ทันสมัยตางๆ ที่ใชในการทําวิจัยทางดานชีววิทยาชองปาก

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพผส ๖๐๙ การถายภาพในชองปาก ๑(๐-๒-๑) ความรูเกี่ยวกับสวนประกอบตางๆ ของกลองถายภาพแบบธรรมดาและแบบดิจิทอล ฟลมและเลนส ฝกหัด

ถายภาพในชองปากที่มีคุณภาพเพื่อการนําเสนออยางมีจริยธรรม

ทพผส ๖๓๐ คอมพิวเตอรประยุกตทางทันตแพทยศาสตร ๑(๐-๓-๑) การประยุกตใชคอมพิวเตอร ในงานวิจัย หรืองานวิทยานิพนธสําหรับทันตแพทย เนื้อหาครอบคลุม การใช

เครื่องคอมพิวเตอร, การสืบคนขอมูลทางทันตกรรม การจัดทําฐานขอมูลการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อการเขียน

วิทยานิพนธการใชโปรแกรมการคํานวณทางสถิติ การตกแตงรูปภาพและการเขียนเว็บเพจเบื้องตน ทพผส ๖๓๑ จิตวิทยา และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ๑(๑-๐-๒)

จิตวิทยาเพื่อใหเขาใจถึงพฤติกรรมและความคาดหวังของผูปวย ที่สงเสริมนักศึกษาถึงมุมมองและ

ความสามารถในการจัดการกับกรณีที่ยุงยาก เรียนรูการประยุกตจิตวิทยาในงานทันตกรรมเพื่อเสริมความรวมมือของ

ผูปวย ซึ่งนําไปสูความสําเร็จของการรักษาทางทันตกรรม การปองกัน และการสงเสริมสุขภาพชองปาก การคํานึงถึง

ความสําคัญของศีลธรรมและจรรยาบรรณที่เกี่ยวกับทันตแพทยศาสตร บทบาทของทันตแพทยในนิติทันต

แพทยศาสตร

ทพพย ๕๔๐ พยาธิวิทยาชองปากวินิจฉัย ๑(๑-๐-๒) หลักการวินิจฉัยโรคชองปาก เทคนิคหองปฏิบัติการและการแปลผล นิติวิทยาศาสตและชีววิทยาชองปาก

โรคของตอมน้ําลาย เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และกระดูก ความผิดปกติในการพัฒนาใบหนาและศรีษะ มะเร็งชองปาก รอย

โรคชองปากในผูสูงอายุ และผูมีฮอรโมนพรอง และพยาธิวิทยาภูมิคุมกันชองปาก ทพภส ๕๔๐ เภสัชวิทยาและการรักษาทางทันตกรรม ๑(๑-๐-๒)

หลักการทางเภสัชวิทยาคลินิก การทดลองยาเพื่อการบําบัดรักษาและกระบวนการพัฒนายาใหม ยาที่ใชในการปองกันและรักษาโรคในชองปาก เชน ยาตานจุลชีพ ยาตานการอักเสบ ยาแกปวด ยาชา ยาออกฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง ผลกระทบของยาในชองปากและโครงสรางที่เกี่ยวของ

ทพรบ ๕๔๔ หลักการและการบําบัดการสบฟน ๑(๑-๐-๒)

Page 47: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๗

กายวิภาคศาสตรดานการทําหนาที่ของระบบบดเคี้ยว ชีวกลศาสตรและขอกําหนดของการสบฟน หลักและแนวคิดการสบฟน กลอุปกรณขากรรไกรจําลองและการใชงาน การวิเคราะหการสบฟน ความรูพื้นฐานการทําหนาที่ผิดปกติของระบบบดเคี้ยวและการรักษาการสบฟน การกรอปรับการสบฟน

ทพรบ ๕๔๕ ความผิดปกติบริเวณขมับ-ขากรรไกร ๑(๑-๐-๒) ทบทวนกายวิภาคศาสตรดานการทําหนาที่ของระบบบดเคี้ยว สาเหตุและปจจัยที่เกี่ยวของของความพิการ

รวมขมับและขากรรไกร หลักการตรวจพิเคราะหวินิจฉัย และแนวคิดการบําบัดรักษาความพิการรวมขมับและ

ขากรรไกร การรักษาการสบฟนและการใชเฝอกสบฟน

หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง ) ทพรบ ๕๔๖ ความเจ็บปวดชองปาก-ใบหนา ๑(๑-๐-๒)

ประสาทชีววิทยาของความเจ็บปวดบริเวณชองปากและใบหนา หลักการประเมินผูปวยและพิเคราะหแยกปญหาความเจ็บปวด หลักการดูแลบําบัดผูปวยที่มีความทรมานอันเนื่องจากความเจ็บปวด ทพศศ ๕๑๐ การทบทวนวรรณกรรม ๒(๐-๖-๓) เรียบเรียง และนําเสนอรายงานทางวิทยาศาสตร ที่เกี่ยวของกับศัลยศาสตรชองปากและ

แม็กซิลโลเฟเชียล โดยการคนควารวบรวมจากตําราและวารสารทางวิชาการทั้งในและตางประเทศ

บฑคร ๖๐๓ ชีวสถิติ ๓(๓-๐-๖) วิธีการรวบรวมขอมูลทางสถิติและการวิเคราะห การแจกแจงความนาจะเปน การแจกแจงการชัก ตัวอยาง

สมมติฐานของการทดสอบและความเชื่อม่ัน การทดสอบนัยสําคัญโดยใชวิธีทางพาราเมตริกและไมพาราเมตริก ไดแก

Z-test, t-test, F-test, การทดสอบดวยไคกําลังสอง, Wilcoxon, Mann-Whitney U test, Kruskal-Wallis และ

Friedman tests การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหสหสัมพันธแบบพหุคูณและบางสวน การวิเคราะหความ

ถดถอย บฑคร ๖๑๒ ชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกุล ๓(๓-๐-๖) หลักการเบื้องตนของระบบชีวภาพที่เกี่ยวของกับลักษณะสําคัญของเซลลทั้งทางดานองคประกอบ หนาที่

และโครงสรางทางชีวภาพ ทั้งในระดับเซลลและระดับโมเลกุล หัวขอในการเรียนการสอนครอบคลุมการจัดโครงสราง

ของเซลลในระดับโมเลกุลและกระบวนการทางเคมีของเซลล กลไกทางพันธุศาสตรของเซลล การศึกษาเซลลโดย

เทคนิคตางๆ หนาที่ของเยื่อหุมเซลลและกระบวนการขนสงผานเยื่อหุมเซลล ลักษณะโครงสรางขององคประกอบ

ตางๆของเซลล การสื่อสัญญานและกระบวนการสื่อระหวางเซลล การทํางานของเอนไซม การใชพลังงานและ

กระบวนการเมทาบอลิซึมของเซลล การเติบโตของเซลล การแบงตัวและวัฏจักรของเซลล วิวัฒนาการของเซลลและ

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ๑๙. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ๑๙.๑ การบริหารหลักสูตร

Page 48: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๘

อาจารยผู รับผิดชอบหลักสูตรฯ ทําหนาที่บริหารจัดการหลักสูตรใหเปนไปตามแนวทางการจัด

การศึกษาที่ระบุในหลักสูตร โดยมีการปฐมนิเทศ จัดทําส่ือการเรียนและเอกสารตางๆ การสัมมนา เพื่อใหนักศึกษาได

สามารถเรียนรูในเนื้อหาวิชาตางๆ ไดครบถวน นอกจากนี้ทางหลักสูตรไดกําหนดจํานวนนักศึกษาในหลักสูตรฯ ใหมี

อัตราสวนระหวางจํานวนนักศึกษาตออาจารยไมมากกวา ๔ ตอ ๑ โดยการคัดเลือกนักศึกษาที่เขามาศึกษาใน

หลักสูตรฯ ตองเปนไปตามเงื่อนไข ซึ่งกําหนดโดยคณะกรรมการสอบคัดเลือกนักศึกษาของหลักสูตรและบัณฑิต

วิทยาลัย และจัดระบบการประเมินกระบวนการเรียนการสอน การประเมินผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาในรายวิชาตางๆ

โดยมีการปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ป

๑๙.๒ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน จัดใหมีเอกสารที่เกี่ยวของกับเนื้อหาของวิชา รายละเอียดการประเมินผล เอกสารที่เปนคูมือการเรียน

การสอนทั่วไป ไดแก คูมือนักศึกษาบัณฑิตศึกษา คูมือการศึกษาคนควาเอกสารทางวิชาการจากแหลงสารสนเทศ

นอกจากนี้ยังมีหนังสือที่เกี่ยวของกับความรูในสาขาวิชาตางๆ ในหองสมุดของคณะ และหองสมุดของภาควิชา

ที่นักศึกษาสามารถศึกษาดวยตนเองและไดจัดใหมีเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องพิมพเอกสารฯ ใหกับนักศึกษาใน

หลักสูตรไดใชในระหวางการศึกษาในงานตรวจและรักษาผูปวย จัดผูปวยที่เหมาะสมสําหรับแตละสาขาสาขาวิชา

ใหกับนักศึกษา

๑๙.๓ การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา มีอาจารยที่ปรึกษาของนักศึกษาในงานที่เกี่ยวของกับการรักษาผูปวย งานสัมมนาในรายวิชาตางๆ

และการศึกษาอิสระเพื่อใหคําแนะนําแกนักศึกษาอยางใกลชิด

๑๙.๔ ความตองการของตลาดแรงงาน และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต สวนใหญนักศึกษาที่มาศึกษาในหลักสูตรนี้มีงานประจําทําอยูแลว เปนการลาเพื่อมาศึกษาตอเพิ่มเติม

อยางไรก็ตามทุกปจะมีแบบประเมินความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตไปยังตนสังกัด ที่นักศึกษากลับไปปฏิบัติงาน

๒๐. การเปดสอนหลักสูตรนี้ของมหาวิทยาลัยอื่น - ๒๑. ความรวมมือกับหนวยงานอื่น ๒๑.๑ หนวยงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล มีความรวมมือกับภาควิชาตาง ๆ ในคณะทันตแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะ

กายภาพบําบัดและวิทยาศาสตรการเคล่ือนไหวประยุกต คณะวิทยาศาสตรและหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล

ที่เกี่ยวของ

๒๑.๒ หนวยงานภายนอก ไดแก คณะวิทยาศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

โรงพยาบาลราชานุกูล และแผนกทันตกรรม และหองผาตัดโรงพยาบาล ตาง ๆ และหนวยงานภาครัฐและเอกชนตางๆ

ที่เกี่ยวของ

Page 49: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๔๙

๒๒. ความตองการของนักศกึษาที่จบหลักสูตร ๒๒.๑ ความตองการของผูเขาศึกษา

๒๒.๑.๑ มีความสามารถในการตรวจวินิจฉัย ปองกันโรคฟนผุ โรคเหงือก และโรคอื่น ๆ ในชองปาก

ตลอดทั้งบูรณะฟนผูปวยใหอยูในสภาพที่ใชงานไดและสวยงาม

๒๒.๑.๒ มีความรูพื้นฐานในการทําวิจัยในวิชาทันตแพทยสาขาตาง ๆ และสามารถคนควาหาความรู

จากแหลงตางๆ เพื่อใหกาวทันตอความเจรญิกาวหนาในงานทันตกรรม

๒๒.๑.๓ มีความสามารถในการถายทอดความรูใหแกผูอื่น ๒๒.๒ ความตองการของนักศึกษาที่จบหลักสูตรและเปาหมายในการทํางาน

๒๒.๒.๑ ไดทํางานที่ตรงกับความรูที่ไดจากการศึกษาในหลักสูตร

๒๒.๒.๒ นักศึกษาที่จบหลักสูตรสามารถทํางานทั้งในองคกรของรัฐบาล เชน มหาวิทยาลัย กระทรวง

สาธารณสุข เชน โรงพยาบาลของรัฐ และองคกรของเอกชน เชน โรงพยาบาลเอกชน คลินิก เปนตน ๒๓. การพัฒนาหลักสูตร แผนพัฒนาระยะเวลา ๕ ป (๒๕๕๐-๒๕๕๕)

วัตถุประสงค ดัชนีบงช้ี เกณฑการวัด

๑. ผลิตทันตแพทยใหมีความรูความสามารถ

ตามวัตถุประสงคของหลักสูตรฯ

ประเมินความพึงพอใจของผูใช มีความพึงพอใจ

ไมนอยกวา รอยละ ๘๐

๒. ผลิตบัณฑิตเพียงพอกับความตองการ

ของตลาด

จํานวนนักศึกษาที่ศึกษาในหลักสูตร ๒๐ คน/ป

๓. ผลิตทันตแพทยที่มีความรูความสามารถ

ในสามารถคนควาหาความรูดวยตนเองได

มีการเรียนรูอยางมีระบบและสามารถ

เผยแพรความรูใหกับผูอื่นได

จํานวนผลงานวิชาการที่ไดรับตีพิมพ หรือ

การเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุม

วิชาการตางๆ

๑๐ เรื่อง/๕ ป

Page 50: Higher Grade Thai Update

หลักสูตรใหมนี้ ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุมคร้ังที่ ๓๙๕ เมือ่วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

๕๐