78
อิทธิพลของการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินตอการเกิดปรากฏการณ เกาะความรอนพื้นผิวของกรุงเทพมหานคร Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan วิษณุ กอพิมพ Wisanu Kophim สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปการศึกษา 2556

Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

อิทธิพลของการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนพื้นผิวของกรุงเทพมหานคร

Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan

วิษณุ กอพิมพ

Wisanu Kophim

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ปการศึกษา 2556

Page 2: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan

Wisanu Kophim

A thematic paper submitted in partial fulfillment of the requirements

For the degree of Master of Science Graduate School of Geographic information System Technology

Mahanakorn University of Technology 2013

Page 3: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

อิทธิพลของการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนพื้นผิวของกรุงเทพมหานคร

วิษณุ กอพิมพ

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ปการศึกษา 2556

Page 4: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

ชื่อเรื่องสารนิพนธ อิทธิพลของการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนพ้ืนผิวของกรุงเทพมหานคร

นักศึกษา วิษณุ กอพิมพ รหัสนักศึกษา 5517650004 ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ปการศึกษา 2556 อาจารยที่ปรึกษา ดร.สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร อนุมัติใหสารนิพนธฉบับน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต โดยผานการพิจารณาจากคณะกรรมการสอบสารนิพนธ ดังมีรายชื่อตอไปน้ี

………………..………………… (ดร.สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ)

ประธานกรรมการ

………………..………………… ………………..…………………

(น.อ.ดร.ชํานาญ ขุมทรัพย) กรรมการ

(พ.อ.ดร.โชคชัย พัวธนาโชคชัย) กรรมการ

………………..………………… ………………..…………………

(ผศ.ดร.กาญจนา นาคะภากร) กรรมการ

(ผศ.ดร.อรประภา ภุมมะกาญจนะ โรแบร) กรรมการ

Page 5: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

 

ชื่อเรื่องสารนิพนธ อิทธิพลของการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินตอการเกิด

ปรากฏการณเกาะความรอนพ้ืนผิวของกรุงเทพมหานคร นักศึกษา วิษณุ กอพิมพ รหัสนักศึกษา 5517650004 ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ปการศึกษา 2556 อาจารยที่ปรึกษา ดร.สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ

บทคัดยอ

การศึกษาอุณหภูมิพ้ืนผิวและสัดสวนการใชประโยชนที่ ดินและสิ่งปกคลุมดิน เ พ่ือหาความสัมพันธที่สงผลตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยประยุกตใชขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 และ LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 จากชวงคลื่นความรอนในการประมาณคาอุณหภูมิพ้ืนผิว รวมทั้งทําการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินออกเปน 4 ประเภท 1) พ้ืนที่เมือง 2) พ้ืนที่สีเขียว 3) พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้า 4) พ้ืนที่ดินเปด เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ จนถึงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพ้ืนผิวและสัดสวนการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน

ผลการศึกษาพบวา การเปลี่ยนแปลงสัดสวนการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินมีความสัมพันธแปรผกผันกับอุณหภูมิพ้ืนผิวในพื้นที่เมือง สัดสวนการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 19 มกราคม พ.ศ.2552 พ้ืนที่เมืองมีพ้ืนที่ 850.86 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 54.23 ของพื้นที่ พ้ืนที่สีเขียวมีพ้ืนที่ 586.21 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 37.36 ของพื้นที่ พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้ามีพ้ืนที่ 60.68 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 3.86 ของพื้นที่ พ้ืนที่ดินเปดมีพ้ืนที่ 71.18 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 4.53 ของพื้นที่

สัดสวนการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 พ้ืนที่เมืองมีพ้ืนที่ 1025.92 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 65.39 ของพื้นที่ พ้ืนที่สีเขียวมีพ้ืนที่ 382.51 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 24.38 ของพื้นที่ พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้ามีพ้ืนที่ 47.11 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 3 ของพื้นที่ พ้ืนที่ดินเปดมีพ้ืนที่ 113.33 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 7.22 ของพื้นที่

โดยพบวาพื้นที่เมืองมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 11.16 ของพื้นที่ พ้ืนที่สีเขยีวลดลงรอยละ 12.98 ของพ้ืนที่ พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นทีนํ้่า ลดลงรอยละ 0.86 ของพื้นที่ และพ้ืนที่ดินเปดเพิ่มขึ้นรอยละ 2.69 ของพื้นที่ ซ่ึงจากการที่พ้ืนที่เมืองเพ่ิมขึ้น อยางมีนัยสําคัญที่วาพื้นที่ที่มีความเปนเมืองสูงยิ่งสงผลตออุณหภูมิที่สูงเพ่ิมขึ้นมากกวาพื้นที่ที่มีสัดสวนความเปนเมืองต่ํา

Page 6: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

II 

 

Project Title Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island                                           in Bangkok Metropolitan 

Student Name Wisanu Kophim Student ID 5517650004 Degree Master of Science Programe Geographic information System Technology Year 2013 Advisor Dr. Sompong Liangrocapart

ABSTRACT

This research aims to study land surface temperature along with proportion of land use and land cover in order to explore a relationship which results in urban heat island (UHI) of Bangkok Metropolitan. The researcher applied the image date of LANDSAT 5 TM satellite on January 19,2009 and LANDSAT 8 OLI satellite on February 2, 2014 by using thermal infrared band to estimate the land surface temperature. Plus, the thermal infrared band was used to classify the land use and land cover into 4 categories; 1) Urban 2) Green 3) Wetland and Water 4) Bare soil. These were manipulated to find out the area change and analysis of relationship between land surface temperature and proportion of land use and land cover. The results stated that the proportion change of land use and land cover has an inverse relationship with urban land surface temperature. The land use and land cover on January 19,2009 consisted of urban with its 850.86 sq.km.(54.23%), 586.21 sq.km. of green (37.36%), 60.68 sq.km. of wetland and water (3.86%) and 71.18 sq.km. of bare soil (4.53%). Likewise, the land use and land cover on February 2,2014 were divided as follows; the urban covers an area of 1025.92 sq.km.(65.39%), green is 382.51 sq.km.(24.38%), wetland and water has 47.11 sq.km.(3%) and bare soil covers 113.33 sq.km.(7.22%) The finding indicated that the urban area increased. by 11.16 %. On the other hand, green area decreased by 12.98 %, Wetland and Water area reduced by 0.86% and bare soil dropped by 2.69%. Accordingly, rise of urban area showed a significant matching which suggested that a high proportion of urbanization resulted in higher temperature than a low proportion of urbanization.

Page 7: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

III 

 

กิตติกรรมประกาศ

  การศึกษาครั้งน้ีสําเร็จตามวตัถุประสงค ดวยความชวยเหลืออยางดียิ่งของคณาจารย ผูศึกษา ขอขอบพระคณุ ดร.สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ, ผศ.ดร.กาญจนา นาคะภากร, นอ.ดร.ชํานาญ ขุมทรัพย ผศ.ดร.อรประภา ภุมมะกาญจนะ, พอ.ดร.โชคชัย พัวธนาโชคชัย, และอาจารยทานอ่ืนๆ ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาที่มีคุณคา ทั้งแนวคิดและคําปรึกษา ซ่ึงจะเปนประโยชนในการประยุกตใชในอนาคต ขอขอบพระคณุ ผศ.ดร.ศิริลักษณ ชุมชื่น ที่ไดใหความอนุเคราะหและคําปรึกษาในเรื่องการศึกษา แนวคิดรวมทั้งการปฏิบัตตินทีดี่ทั้งในการทํางานและการใชชีวติ

ขอขอบพระคณุ อาจารยวลัยรัตน บุญไทย, ดร.รัชเวช หาญชูวงศ, ที่ไดใหคําปรึกษาในเรื่องการศึกษาตลอดระยะเวลาที่ทํางานที่ศูนยวิจัยนํ้าและภูมิอากาศ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ขอขอบคุณ พ่ี เพ่ือน นอง นิสิตปริญญาโท สาขาวชิาเทคโนโลยรีะบบสารสนเทศภูมิศาสตร ที่คอยชวยเหลอื ใหคําแนะนํา และขอเสนอแนะที่ดี ตลอดระยะเวลาที่ไดรวมศึกษา

สุดทายขอกราบขอบพระคณุบิดา คุณพอคําจันทร กอพิมพ และมารดา คุณแมหนูเดน กอพิมพ ที่เปนกําลังใจที่สําคัญ ซ่ึงคอยอบรม สั่งสอนในเรื่องการศึกษาและการดําเนนิชีวติอยางมีคุณคาและมีความสุขเสมอมา

วิษณุ กอพิมพ

Page 8: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

IV

 

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ…………………………………………………………………………………………….I Abstract…………………………………………………………………………………………… II กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………………IIIสารบัญ………...…………….………...………….…………….…………………………………IV สารบัญตาราง……….………………………………………….……………..............................VI สารบัญรูป...…………………………………….……….….………………….………....………VII บทที่ 1 บทนาํ 1.1 ที่มาและความสําคัญ .........................................................................................1 1.2 วัตถุประสงค ..……………………………...........................................................2 1.3 ขอบเขตการศกึษา....………..............................................................................3 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ..………...................................................................3 1.5 นิยามศัพท..………………………………...........................................................3

บทที่ 2 งานวิจัยและทฤษฎทีี่เกี่ยวของ 2.1 ความเปนมาของการศึกษา ความหมายของปรากฏการณเกาะความรอน ............5 2.2 ลักษณะของการเกิดเกาะความรอน ...................................................................7 2.3 คุณสมบตัิของคลื่นอินฟราเรดความรอน ............................................................9 2.4 การประยุกตใชคลื่นอินฟราเรดความรอน..........................................................12 2.5 ลักษณะของภาพจากดาวเทียม….....................................................................16 2.6 การจําแนกขอมูลจากการสํารวจจากระยะไกล...................................................18 บทที่ 3 วิธีการศึกษา 3.1 พ้ืนที่ศึกษา .....................................................................................................25 3.2 อุปกรณและเครื่องมือที่ใชในการวิจัย….............................................................27 3.3 การเตรียมขอมูล....……...................................................................................28 3.4 ขั้นตอนการศึกษา.....……….............................................................................30 3.5 ขั้นตอนการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิว..................................................................32

Page 9: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

V

 

สารบัญ (ตอ)

หนา 3.6 ขั้นตอนการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน ...............................35 บทที่ 4 ผลการศึกษา 4.1 ผลการจาํแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลมุดิน ......................................38 4.2 ผลการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิว..……………....................................................56 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 5.1 การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางขอมูลการใชประโยชนใ............................64 ที่ดินและส่ิงปกคลุมดินรวมกับผลการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิว 5.2 ขอเสนอแนะ …………………………………....................................................64 เอกสารอางอิง ..…….…….…………………………………...................................................65

Page 10: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

VI

 

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา

ตารางที่ 2.1 คา Lmin และ Lmax ของขอมูลตางๆจากภาพถายดาวเทียม…………………..11 LANDSAT 5 TM ตารางที่ 2.2 ขอมูลการบันทึกชวงคลื่น ดาวเทียม LANDSAT 5 ระบบ TM..………………...16 ตารางที่ 2.3 ขอมูลการบันทึกชวงคลื่น ดาวเทียม LANDSAT 8 ระบบ OLI .………………..17 ตารางที่ 2.4 ตัวอยางเมทริกซความคลาดเคลื่อน …………………………...………………...23 ตารางที่ 2.5 ตารางแสดงความถูกตองของการจําแนกประเภทสิ่งปกคลุมดินรวม.....………..24 (Overall Accuracy) ตารางที่ 3.1 แสดงรายละเอียดคาอุณหภูมิพ้ืนที่เขตหนองจอก………..……………………...26 ตารางที่ 3.2 แสดงรายละเอียดขอมูลภาพถายดาวเทยีมที่ใชในการศึกษา……….…………..29 ตารางที่ 3.3 ตารางแสดงพื้นที่ตนแบบจากขอมูลภาพถายดาวเทยีม LANDSAT 5..………..36 TM และ LANDSAT 8 OLI ตารางที่ 4.1 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวและผลการจําแนกการใช .......………..41 ประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครที่ได จาก LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 ตารางที่ 4.2 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวและผลการจําแนกการใช .......………..45 ประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2552 ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน ตารางที่ 4.3 แสดงตารางเปรียบเทยีบการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ..…....………..52 ประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครที่ได จาก LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 ตารางที่ 4.4 เปรียบเทยีบการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน...………………....………..56 สิ่งปกคลุมดิน 19 มกราคม พ.ศ.2552 และ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 11: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

VII

 

สารบัญรูป

รูปที่ หนา

รูปที่ 2.1 แสดงภาพตัดขวางของการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนในเขตเมือง…………...6 รูปที่ 2.2 แสดงวงจรของคลื่นรังสีความรอน และความเขมขนของพลังงานความรอน..………6 ในพื้นที่เมืองและในชนบทในวันที่ทองฟาเปด รูปที่ 2.3 แสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในแตละพ้ืนที่ ..………………………...…………....9 รูปที่ 2.4 เปรียบเทียบการจําแนกสิ่งปกคลุมดินแบบกาํกับดูแลและไมกํากับดูแล.…………..19 รูปที่ 2.5 ลักษณะ Equiprobability contours ของตัวจําแนกแบบความนาจะปนไปได.……..22 สูงสุด รูปที่ 2.6 ความถี่ของความนาจะเปน ในความหมายของความนาจะเปนไปไดสูงสุด.………..22 รูปที่ 3.1 แสดงพื้นที่ศึกษาจาก LANDSAT 8 OLI : วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 .………..25 รูปที่ 3.2 แสดงภาพบริเวณพื้นที่อางอิง 19 มกราคม พ.ศ.2552....……………...………….26 รูปที่ 3.3 แสดงภาพบริเวณพื้นที่อางอิง 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ..………………………..27 รูปที่ 3.4 แสดงภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM แบนด 1,2,3,4,5,7 …………….……..28 และภาพหลังผสมสี RGB: 3:2:1: บันทึกภาพวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 รูปที่ 3.5 แสดงภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI แบนด 2,3,4,5,6,7 ...………….……..29 และภาพหลังผสมสี RGB: 4:3:2: บันทึกภาพวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 รูปที่ 3.6 ผังแสดงแนวทางการศึกษา ...………………………………………………………..31 รูปที่ 3.7 แสดงผลหลังการคํานวณคาการแผรังสีเชิงคลื่น ...……………………...…………..33 รูปที่ 3.8 แสดงผลหลังการคํานวณอุณหภูมิสัมบูรณจากการแผรังสีเชิงคลื่น ...….…………..34 รูปที่ 3.9 แสดงผลหลังทําการแปลงคาอุณหภูมิเคลวินเปนคาองศาเซลเซียส...….…………. 34 รูปที่ 3.10 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 .……..35 แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:432) รูปที่ 3.11 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ...…..36 แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:543) รูปที่ 3.12 แสดงภาพการจําแนกแบบกาํกับโดยใชตวัจําแนกความนาจะเปนไปไดสูงสุด..…..37 (Maximum-Likelihood Classifier) ภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI

Page 12: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

VIII

 

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา

รูปที่ 4.1 ภาพตัวอยางพืน้ที่ศึกษาของ LANDSAT 5 TM..……………….…………….…….39 (RGB:432)และผลการจําแนก วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 รูปที่ 4.2 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552....……..39 แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:432) รูปที่ 4.3 แผนที่แสดงการจําแนกการใชประโยชนทีดิ่นและสิ่งปกคลุมดิน ………….....…….40 19 มกราคม พ.ศ.2552 รูปที่ 4.4 แสดงความสัมพันธระหวางขอมูลที่ทําการจาํแนกกับขอมูลการใช ....…….....……49 ประโยชนที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ป พ.ศ.2552 รูปที่ 4.5 แสดงความสัมพันธระหวางขอมูลที่ทําการจาํแนกกับขอมูลการใช……….....……..49 ประโยชนที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ป พ.ศ.2552 รูปที่ 4.6 ภาพตัวอยางพืน้ที่ศึกษาของ LANDSAT 8 OLI..……………...……………..…….50 (RGB:543)และผลการจําแนก วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 รูปที่ 4.7 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557.....…...51 แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:543) รูปที่ 4.8 แผนที่แสดงการจําแนกการใชประโยชนทีดิ่นและสิ่งปกคลุมดิน....………..………..51 วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 รูปที่ 4.9 แสดงภาพเชิงความรอน วันที ่19 มกราคม พ.ศ.2552....……………...…………..58 รูปที่ 4.10 แสดงภาพเชิงความรอน วันที ่2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557..……………...…………..58 รูปที่ 4.11 แผนที่แสดงผลตางอุณหภูมิเฉลี่ยจากพื้นทีอ่างอิง ...…………..……...…………..59 วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 รูปที่ 4.12 แผนที่แสดงผลตางอุณหภูมิเฉลี่ยจากพื้นทีอ่างอิง ...…………..……...…………..59 วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 รูปที่ 4.13 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่เมืองกับคาเฉลี่ย...…...……..……..60 อุณหภูมิพ้ืนผิว 19 มกราคม พ.ศ.2552 รูปที่ 4.14 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่เมืองกับคาเฉลี่ย...….....…………..60 อุณหภูมิพ้ืนผิว 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 รูปที่ 4.15 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่สีเขียวกับคาเฉลี่ย ...…...…………62 อุณหภูมิพ้ืนผิว 19 มกราคม พ.ศ.2552

Page 13: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

IX

 

สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา

รูปที่ 4.16 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่สีเขียวกับคาเฉลี่ย….....…………..62 อุณหภูมิพ้ืนผิว 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 14: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

1  

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ที่มาและความสําคัญ

พ้ืนที่เมืองในปจจุบันมีการพัฒนาเนื่องมาจากการเจริญเติบโตในดานเศรษฐกิจ ซ่ึงสงผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน พ้ืนที่ตางๆถูกพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเพ่ือรองรับการพัฒนาไปเปนพ้ืนที่เศรษฐกิจ พ้ืนที่เดิมซ่ึงเปนพ้ืนที่เกษตรกรรม พ้ืนที่วางเปลา ถูกแทนที่ดวยระบบสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน อาธิ อาคาร ถนน และโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ จากพ้ืนที่เดิมซ่ึงเปนพ้ืนผิวที่นํ้าสามารถแทรกซึมไดดีและมีความชื้น เชนพืชพรรณ ดิน แหลงนํ้า เปลี่ยนเปนพ้ืนผิวที่มีสวนประกอบของคอนกรีต ยางมะตอย ทําใหพ้ืนผิวบริเวณตัวเมืองจากลักษณะดังกลาวดูดซับความรอนจากแสงอาทิตยไดมากขึ้นและดูดซับในชวงเวลากลางวันไดมากกวาพื้นผิวธรรมชาติซ่ึงสวนใหญเปนพ้ืนที่สีเขียวซึ่งเปนพ้ืนที่เกษตร โดยในเวลากลางคืนพ้ืนผิวในบริเวณตัวเมืองจะปลดปลอยพลังงานความรอนที่ถูกสะสมไวในตอนกลางวันออกสูชั้นบรรยากาศไดมากกวาพื้นผิวธรรมชาติ ซ่ึงจากลักษณะพื้นผิวเมืองดังกลาวเรงการระเหยความชื้นไดมากกวาพื้นผิวธรรมชาติซ่ึงมีคุณสมบัติดูดซับความชื้นไวไดดีกวา จึงสงผลทําใหอุณหภูมิบริเวณพื้นที่เมืองมีอุณหภูมิสูงขึ้นเม่ือเทียบกับพ้ืนที่ชนบทโดยรอบ อุณหภูมิที่แตกตางกันทําใหเกิดการกอตัวของปรากฏการณเกาะความรอนในเขตเมือง (Urban Heat Island, UHI)ซ่ึงอุณหภูมิของอากาศระหวางวันของเมืองใหญอาจสูงกวาพื้นที่โดยรอบ 1 ถึง 3 องศาเซลเซียส และในชวงเวลากลางคืนความแตกตางของอุณหภูมิอาจสูงถึง 12 องศาเซลเซียส แมแตในเมืองหรือชุมชนเล็กๆที่มีประชากรไมมากนัก ปรากฏการณเกาะความรอน (Urban Heat Island) โดยผลที่เกิดขึ้นลดต่ําลงตามจํานวนประชากรที่นอยลง (การสังเกตปรากฏการณเกาะความรอนในเขตเมืองดวยดาวเทียม,สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ , 2556) จากงานศึกษาหลายชิ้นยอมรับกันอยางแพรหลายจากความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับสิ่งปกคลุมดิน (Asaeda, Ca & Wake, 1996; Eliasson, 1996; Kimura & Takahashi, 1991; Svensson & Eliasson,2002,วารสารจัดการสิ่งแวดลอม,วันเพ็ญ เจริญตระกูลปติ,2555) โดยระบุวาพื้นที่สีเขียวระดับของอุณหภูมิจะต่ํากวาพ้ืนที่ที่มีสิ่งปลูกสราง  (Wong & Yu, 2005) จากงานวิจัยซ่ึงทําการศึกษาอิทธิพลของสิ่งปกคลุมดินที่มีผลตออุณหภูมิในบรรยากาศของพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร (การสังเกตปรากฏการณเกาะความรอนในเขตเมืองดวยดาวเทียม,สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ,) การประยุกตใชภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM พบวาหากมีการเพ่ิมพ้ืนที่ตนไมทุกๆรอยละ 1 บนพ้ืนที่ขนาด 0.1 ตารางกิโลเมตร พบวาอุณหภูมิจะลดลง 0.028 องศาเซลเซียส ดังนั้นการเปลี่ยนสัดสวนสิ่งปกคลุมดิน โดยการจัดสรรพื้นที่สีเขียวและแหลงน้ําอยางเหมาะสม (วันเพ็ญ เจริญตระกูลปติ, 2555)

Page 15: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

2  

การประยุกตใชเทคโนโลยีการรับรูระยะไกล และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ในการศึกษาการใชที่ดินและสิ่งปกคลุมดินดวยขอมูลดาวเทียมสํารวจชวยศึกษาพื้นที่ในบริเวณกวาง และติดตามการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดอยางรวดเร็ว อาทิเชน ดาวเทียม LANDSAT 5 TM+ และ LANDSAT 7 ETM+ เพ่ือวิเคราะหการใชที่ดิน ซ่ึงโดยมากนิยมใชขอมูลดาวเทียมในชวงคลื่นที่ตามองเห็น (Visible) และชวงคลื่นอินฟราเรด (Infrared) เปนหลัก มีรอบเวลาการบันทึกขอมูลซํ้าที่ เหมาะสมในการประยุกตใช จึงมีความเหมาะสมในการติดตามสถานการณการใชที่ดินและสิ่งปกคลุมดินไดเกือบใกลกับเวลาจริง นอกจากนั้นยังสามารถวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวโดยใชชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal Infrared Band)

ในการศึกษาครั้งน้ี ทําการศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยทําการศึกษาความสัมพันธของการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมือง (Urban Heat Island ,UHI) โดยทําการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวโดยใชชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal Infrared Band) รวมกับการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินเพ่ือหาสัดสวนการใชพ้ืนที่ โดยทําการจําแนกออกเปน 4 ประเภท คือ 1) พ้ืนที่เมือง 2) พ้ืนที่สีเขียว 3) พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้า 4) พ้ืนที่ดินเปด จากภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 ระบบ TM (Thematic Mapper) Path 129 Row 50 และ Path 129 Row 51 บันทึกเม่ือวันที่ 19 มกราคม 2552 จํานวน 1 ภาพ ชวงเวลาทองถิ่น 10.22 น. และ LANDSAT 8 ระบบ OLI (Operational Land Imager) Path 129 Row 50 และ Path 129 row 51 บันทึกเม่ือวันที่ 2 กุมภาพันธ 2557 จํานวน 1 ภาพ ชวงเวลาทองถิ่น 10.39 น ซ่ึงเปนภาพที่ไมมีเมฆปกคลุม และครอบคลุมพ้ืนที่ศึกษา ซ่ึงความละเอียดเชิงพ้ืนที่ของภาพถายจากดาวเทียมในชวงคลื่น ที่ตามองเห็น (Visible band) 30 x 30 เมตร และในชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal Infrared band) แบนด 6 จากภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM ความละเอียด 120 x 120 เมตร ในชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal Infrared band) แบนด 10 จากภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 Thermal Infrared Sensor (TIRS) ความละเอียด 100 x 100 เมตร  ประกอบกับอางอิงพ้ืนที่เขตหนองจอกซึ่งพ้ืนที่สวนใหญเปนพ้ืนที่สีเขียวจึงมีความเหมาะสมในการอางอิงเพ่ือใชในการศึกษา 1.2 วัตถุประสงค ศึกษาอุณหภูมิพ้ืนผิวและสัดสวนการใชที่ดินและสิ่งปกคลุมดินเพ่ือหาความสัมพันธที่สงผลตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนพ้ืนผิวของกรงุเทพมหานคร

Page 16: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

3  

1.3 ขอบเขตการศึกษา

ในการศึกษาครั้งน้ีทําการศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยทําการศึกษาความสัมพันธของการเกิดเกาะความรอนเมือง (Urban Heat Island ,UHI) โดยทําการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวโดยใชชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal Infrared Band) รวมกับการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินเพ่ือหาสัดสวนการใชพ้ืนที่ จากภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM Path 129 Row 50 และ Path 129 Row 51 บันทึกเม่ือวันที่ 19 มกราคม 2552 จํานวน 1 ภาพ และ LANDSAT 8 OLI Path 129 Row 50 และ Path 129 Row 51 บันทึกเม่ือวันที่ 2 กุมภาพันธ 2557 จํานวน 1 ภาพ ซ่ึงเปนภาพที่ไมมีเมฆปกคลุม และครอบคลุมพ้ืนที่ศึกษา ซ่ึงความละเอียดเชิงพ้ืนที่ของภาพถายจากดาวเทียมในชวงคลื่น ที่ตามองเห็น (Visible band) 30 x 30 เมตร และ ในชวงคลื่นความรอน (Thermal Infrared band) แบนด 6 120 x 120 เมตร จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 5 TM และ แบนด 10 TIRS 1 ความละเอียด 100 x 100 เมตร  จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 Thermal Infrared Sensor (TIRS)

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.4.1 ทําใหทราบถึงสัดสวนการใชประโยชนที่ดิน สิ่งปกคลุมดินที่มีผลตออุณหภูมิพ้ืนผิวที่สงผลตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมืองของกรุงเทพมหานคร 1.4.2 ทําใหทราบถึงความสัมพันธระหวางการใชประโยชนที่ดิน สิ่งปกคลุมดินและอุณหภูมิพ้ืนผิวที่วิเคราะหได

1.5 นิยามศัพท 1.5.1 การใชที่ดิน สิ่งปกคลุมดิน สรรคใจ กลิ่นดาว ,การสํารวจจากระยะไกล ,น.257 ใหความหมาย “การใชที่ดิน” (Land Use) และ “สิ่งปกคุลมดิน” (Land Cover) ไวดังน้ี “การใชที่ดิน” (Land Use) เปนการดําเนินกิจกรรมของมนุษยบนที่ดินโดยไดรับผลตอบแทนในเชิงเศรษฐกิจ เชน การทําสวนผลไม การทํานา การดําเนินกิจกรรมดังกลาวเปนการใชที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมตามลําดับ โดยไดรับผลตอบแทนเปนเม็ดเงินแกผูดําเนินกิจกรรมเหลานั้น

Page 17: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

4  

“สิ่งปกคุลมดิน” (Land Cover) มีความหมายที่กวางกวา กลาวคือ เปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ปาไม ทุงหญา แหลงนํ้า หิน ดิน เปนตน รวมทั้งสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชน ที่อยูอาศัย มหาวิทยาลัย อางเก็บน้ํา เปนตน บุญเกียรติ แสงวัณณ (2535 อางถึงใน พรพรรณ จันทรแจง,2549 : 20) กลาววา “การใชประโยชนที่ดิน” หมายถึง การใชที่ดินของมนุษยเพ่ือทํากิจกรรมที่เปนประโยชนตามความตองการของมนุษยโดยมีขอบเขต ขนาดของที่ดินในการใชประโยชนตางๆ ทําใหสภาพพ้ืนที่เดิมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน การเกษตร พาณิชกรรม อุตสาหกรรม บานเรือนที่อยูอาศัย แหลงนํ้า และพ้ืนที่ปาไม เปนตน 1.5.2 ปรากฏการณเกาะความรอน (Urban Heat Island) ธนกฤต เทียนมณี (2545) ใหความหมายวา “เกาะความรอน” เปนปรากฏการณที่อุณหภูมิของบรรยากาศเหนือเมืองมีคาสูงกวาพื้นที่รอบนอกเมือง ลักษณะของเสนอุณหภูมิมีลักษณะคลายเกาะหรือโดมขนาดใหญเหนือเมือง 1.5.3 การรับรูจากระยะไกล ทรงกต(2550) ใหความหมายไววา เปนศาสตรของการศึกษาโครงสรางและองคประกอบของพื้นผิวและบรรยากาศโลกจากระยะไกล โดยอาศัยอุปกรณตรวจวัด ซ่ึงมักใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนสื่อในการไดมาซึ่งขอมูล อาทิเชน กลองถายภาพจากทางอากาศ หรือเครื่องกวาดภาพที่ติดตั้งไวบนดาวเทียม สุภี อิงคากุล (2548) “ระบบสัมผัสระยะไกล” เปนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในการจําแนกหรือวิเคราะหวัตถุเปาหมายโดยไมมีการสัมผัสโดยตรง การเก็บขอมูลใชพลังงานรังสีแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Energy) เชน แสง ความรอน คลื่นวิทยุ เปนตัวการในการสํารวจจับเปาหมาย พลังงานที่สะทอนหรือแผออกจากวัตถุ สุรชัย (2546) ใหความหมายวา “การสํารวจขอมูลจากระยะไกล” เปนวิทยาศาสตรและศิลปะของการไดมาซึ่งขอมูลเกี่ยวกับวัตถุ พ้ืนที่ ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งตางๆ พ้ืนที่และปรากฏการณตาง ๆ ดวยการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากเครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล ซ่ึงเคร่ืองมือบันทึกขอมูลโดยปราศจากการเขาไปสัมผัสกับวัตถุเปาหมาย ทั้งน้ีอาศัยคุณสมบัติของคลื่นแมเหล็กไฟฟา เปนสื่อการไดมาซึ่งขอมูล ใน 3 ลักษณะคือ ชวงคลื่น (Spectral) รูปทรงสัณฐานของวัตถุบนพ้ืนผิวโลก (Spatial) และการเปลี่ยนแปลงตามชวงเวลา (Temporal)

Page 18: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

5

บทที่ 2

งานวิจัยและทฤษฎีที่เก่ียวของ

2.1 ความเปนมาของการศึกษา ความหมายของปรากฏการณเกาะความรอน จากวัตถุประสงคที่ตองการศึกษา ที่มาของการศึกษาในครั้งน้ีทั้งในดานทฤษฎีรวมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพ่ือศึกษาถึงความเปนมา ความหมาย สาเหตุของการเกิดรวมทั้งปจจัยตางๆซึ่งกอใหเกิดความสัมพันธที่สงผลทําใหเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมือง ในปจจุบันความกาวหนา การพัฒนาในดานเศรษฐกิจ รุดหนาไปมาก ทําใหสงผลตอการขยายตัวในดานตางๆไมวาจะเปนในดานเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรม จากการพัฒนาดังกลาวทําใหพ้ืนที่เมืองมีการขยายตัวเพ่ือสอดรับกับการพัฒนา และเม่ือมีการพัฒนาจึงสงผลถึงการใชประโยชนที่ดินมากขึ้น เพ่ือใชในการสรางระบบสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน อาคาร สิ่งกอสรางตางๆ รวมทั้งพ้ืนที่โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อตอบสนองใหทันตอการพัฒนาในระยะสั้นและในระยะยาว ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนดังกลาวเปรียบเสมือนเปนสิ่งที่กระตุนทําใหเกิดปรากฏการณเกาะความรอน หรือที่เรียกวา Urban Heat island ซ่ึงเกิดจากการสะสมความรอนของพ้ืนผิวซึ่งเปนวัสดุที่สะสมความรอน อาธิเชน พ้ืนถนน หลังคาอาคาร ความรอนจากเครื่องปรับอากาศ ควันเสียจากโรงงาน ซ่ึงสงผลตอการดํารงชีวิตรวมทั้งสงผลตอสุขภาพของกลุมคนที่อาศัยอยูในตัวเมือง และมีแนวโนมของอุณหภูมิในตัวเมืองซึ่งมีการพัฒนาอยางตอเน่ืองจะยิ่งเพ่ิมสูงมากขึ้นในอนาคต ธนกฤต เทียนมณี (2545 : 7) ในการเขียนรายงานของ Gordon Monley ในป 1953 ลงตีพิมพใน Quarterly Journal Of The Royal Meteorological Society เกาะความรอนเมือง เปนชื่อเรียกลักษณะภูมิอากาศ ซ่ึงแสดงความแตกตางของอุณหภูมิ (Helmut 1981 : ไมปรากฏเลขหนา,อางถึงใน ธนกฤต เทีนยมณี 2545:7) มีลักษณะเปนเสนโคงที่ใชแสดงความแตกตางทางดานภูมิศาสตรมีความคลายคลึงกันกับรูปเกาะ เปนความเกี่ยวพันของอุณหภูมิที่มีความอบอุน (Warming) กับอุณหภูมิที่มีความเย็นที่อยูรอบเมืองในเขตชนบท (ดังรูปที่ 2.1) แสดงใหเห็นถึงเสนอุณหภูมิเปนรูปหนาผา (Cliff) แสดงใหเห็นถึงความอบอุนของอากาศซึ่งมีแนวโนมที่อุณหภูมิอากาศจะเพิ่มมากขึ้นในบริเวณพื้นที่เมือง รูปแบบของเสนอุณหภูมิ (Isotherm) ของเสนโคงแบบที่ราบสูง (Plateau) เปนรูปแบบของสิ่งที่รบกวนโดยอิทธิพลของความแตกตางของอุณหภูมิที่ถูกปลอยจากสิ่งปลูกสรางและการใชที่ดินบริเวณตัวเมือง ในบริเวณใจกลางเมืองเสนอุณหภูมิไดแสดงเสนเปนยอดภูเขาสูง (Peak) เปนจุดสูงสุดของเสนโคง ที่แสดงใหเห็นการกอตัวของพลังงานความรอน ปรากฏการณเกาะความรอน จะมีความแตกตางของอุณหภูมิที่มีความชัดเจนในตอนกลางคืนมากกวาตอนกลางวัน และในฤดูหนาวมากกวาในฤดูรอนและชัดเจนมากเมื่อไมมีลม

Page 19: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

รูปที่ 2.1 แสที่มา : Wonghttp://www.w รูปที่ 2.2 แสเมืองและในชที่มา : Tim เลขหนา, อาพ้ืนที่ตอปราประเทศไทย

สดงภาพตัดขg, Urban Hewhitetopsny

สดงวงจรของชนบทในวันทีOke, ไมระบางอิงถึงใน มกฏการณเกายกับภูมิอากาศ

ขวางของการeat Island [oc.org/proble

งคลื่นรังสีควาที่ทองฟาเปด บุชื่อหนังสือ, านัส ศรีวณิชาะความรอนเศโลก ครั้งที่

รเกิดปรากฏกonline], acceem.html

ามรอน และค (New York ช, “ผลกระทเมือง” (เอกสา1 ,2553),44

การณเกาะควessed 10 De

ความเขมขนข

: Principlesทบการเปลี่ยารประกอบก

4.

วามรอนในเขecember 201

ของพลังงาน

s & Practiceยนแปลงภูมิอการประชุมวิช

ขตเมือง 11, Available

นความรอนใน

es , 1988) ไอากาศกับลักชาการระดับช

6

e from

นพ้ืนที่

ไมปรากฏษณะเชิงชาติ เรื่อง

Page 20: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

7

การศึกษาในครั้งนี้ไดนําแนวคิดเกี่ยวกับ คุณสมบัติของคลื่นอินฟราเรดความรอน การคํานวณอุณหภูมิพ้ืนผิวจากคลื่นอินฟราเรดความรอน การจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินรวมถึงการประยุกตใชความรอนเพ่ือใชในการศึกษา

2.2 ลักษณะของการเกิดเกาะความรอน ลักษณะของการเกิดเกาะความรอนเมือง สามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังน้ี 2.2.1 การเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมืองบนพ้ืนผิวของสิ่งปกคลุม (Surface ;UHI) 2.2.2 การเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมืองในบรรยากาศ (Atmospheric ;UHI) (อางอิง : สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ :จดหมายขาวสํานกักิจการอวกาศแหงชาต;ิ2556) 2.2.1 การเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมืองบนพื้นผิวของสิ่งปกคลุม (Surface;UHI) ในวันที่มีอุณหภูมิสูงเนื่องมาจากสภาวะอากาศที่รอนจัด แสงจากดวงอาทิตยสามารถใหความรอนกับพ้ืนผิวชนิดตางๆในเขตเมือง เชน ผิวอาคาร พ้ืนผิวของหลังคา และพ้ืนถนน ซึ่งสะสมความรอนไดมาก ทําใหมีอุณหภูมิสูงกวาบรรยากาศโดยรอบไดถึง 27-50 องศาเซลเซียส ในขณะเดียวกันที่ พ้ืนที่ในรมเงาหรือพ้ืนผิวที่มีความชื้น ซ่ึงเปนพ้ืนผิวที่ซ่ึงอยูในชนบทเปนสวนใหญ สงผลใหยังคงมีอุณหภูมิใกลเคียงกับบรรยากาศ การเกิดปรากฏการณเกาะความรอน(Urban Heat Island) ที่พ้ืนผิวสามารถเกิดขึ้นทั้งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน แตมีแนวโนมที่จะเกิดมากในชวงกลางวัน เม่ือแสงอาทิตยสองลงมายังพ้ืนผิวความแตกตางของอุณหภูมิโดยเฉลี่ย ในชวงกลางวันพ้ืนผิวระหวางเขตพื้นที่เมืองที่มีการพัฒนาและพื้นที่ชนบท อาจสูงถึง 10-15 องศาเซลเซียส และชวงกลางคืน ความแตกตางจะมีคาประมาณ 5-10 องศาเซลเซียส

ปรากฏการณเกาะความรอนเมือง (Urban Heat Island) ที่พ้ืนผิวมากหรือนอยจะเปลี่ยนไปตามฤดูกาล อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆ ไดแก ความเขมของแสงจากดวงอาทิตย สิ่งปกคลุมดิน และสภาพอากาศ ซ่ึงสงผลทําใหปรากฏการณเกาะความรอนที่พ้ืนผิวเกิดขึ้นมากที่สุดในชวงฤดูรอน เน่ืองจากในฤดูรอนทองฟาโปรงเปดโลง จึงสงผลใหรังสีจากดวงอาทิตยสามารถทะลุผานชั้นบรรยากาศลงกระทบพื้นผิวไดมากกวาฤดูอ่ืนๆ ทั้งยังไมมีกระแสลมชวยพัดพาความรอนออกจากเขตเมืองไปสูเขตชนบท ทําใหความแตกตางของอุณหภูมิระหวางเขตเมืองและเขตชนบทเพิ่มสูงขึ้นในฤดูรอน

Page 21: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

8

2.2.2 การเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมืองในบรรยากาศ (Atmospheric ;UHI) เขตพ้ืนที่เมืองจะมีอากาศในชั้นบรรยากาศที่รอนกวาเม่ือเทียบกับพ้ืนที่ชนบทโดยรอบ ซ่ึงเกิดขึ้นจากปรากฏการณเกาะความรอนเมืองในบรรยากาศ การเกิดปรากฏการณลักษณะนี้สามารถแบงลักษณะการเกิดกับชั้นบรรยากาศออกเปนสองประเภทที่แตกตางกันไดแก

1. ปรากฏการณเกาะความรอนที่เกิดในชั้นของบรรยากาศที่ต่ํากวาเรือนยอดตนไม เกิดกับชั้นบรรยากาศที่ติดกับพ้ืนผิวเปนชั้นบรรยากาศที่ผูคนอาศัยอยู ปรากฏการณน้ีนับจากพ้ืนดินขึ้นไปจนถึงเรือนยอดตนไมหรือหลังคาบาน 2. ปรากฏการณเกาะความรอนที่เกิดในชั้นของบรรยากาศที่สูงกวาเรือนยอดตนไปข้ึนไป เร่ิมนับจากยอดตนไมหรือหลังคาบานและขยายขึ้นไปถึงยังจุดที่เขตเมืองไมสงผลตอชั้นบรรยากาศ โดยทั่วไปชั้นน้ีจะมีความสูงขึ้นไปในบรรยากาศไดถึง 1.5 กิโลเมตรจากพื้นผิวโลก  

ปรากฏการณเกาะความรอนในบรรยากาศจะสงผลคอนขางนอยในชวงสาย ตลอดถึงทั้งวันและจะสงผลมากขึ้นมากเมื่อดวงอาทิตยลับขอบฟาไป เน่ืองจากการปลดปลอยความรอนอยางชาๆจากโครงสรางพื้นฐานตางๆในเมือง ชวงเวลาที่อุณหภูมิขึ้นสูงสุดจะขึ้นอยูกับคุณสมบัติของพื้นผิวเมืองและชนบทโดยรอบ ฤดู และสภาพอากาศ  

อุณหภูมิของพื้นผิวสงผลโดยออมแตมีความสําคัญอยางยิ่งตออุณหภูมิของอากาศในชั้นที่ติดกับพ้ืนผิว อยางเชน ในสวนสาธารณะหรือในพ้ืนที่เพาะปลูก จะมีอุณหภูมิพ้ืนผิวที่เย็นกวาจึงทําใหอากาศเย็นกวา ในทางตรงขามในพื้นที่ที่เต็มไปดวยอาคารในเมืองสงผลใหมีอุณหภูมิในอากาศที่รอนกวา เน่ืองจากอากาศที่ผสมปนเปกันในชั้นบรรยากาศ ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิของพ้ืนผิวและอากาศจะไมคงที่ และอุณหภูมิของอากาศโดยทั่วไปจะต่ํากวาอุณหภูมิของพื้นผิวทั่วทุกพื้นที่ตามรูปที่ 2.3

Page 22: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

9

รูปที่ 2.3 แสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในแตละพ้ืนที่ ที่มา: http://www.epa.gov/heatisland/about/index.htm

2.3 คุณสมบัติของคลื่นอินฟราเรดความรอน

คุณสมบัติของคลื่นอินฟราเรดความรอน Lillesand et al. (2004) คลื่นอินฟราเรดความรอนเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาหนึ่ง ซ่ึงเกิดจากพลังงานของรังสีซ่ึงแผออกมาจากเทหวัตถุสีดํา ซ่ึงเปนไปตามกฏของ Stefan-Boltzmann โดยวัตถุที่มีอุณหภูมิ มากกวา 0 ºK หรือ -273 ºC จะมีคุณสมบัติในการแผรังสี ซ่ึงความเขมในการแผรังสี องคประกอบเชิงคลื่น ขึ้นอยูกับคุณสมบัติในตัววัตถุ และอุณหภูมิของวัตถุจากการแผรังสีจากวัตถุ จึงจะสามารถคํานวณคาจากการแผรังสีของวัตถุ ณ อุณหภูมิหน่ึงหารดวยการแผรังสีเทหวัตถุสีดําที่อุณหภูมิเดียวกัน (อางอิง ญาณภัทร ทองมี,กรพินธุ วิไลลักษณ : 2554; 2-4)

Page 23: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

2.3.1 คํานว ในการ(อางอิงเอกสการแผรังสีเชิคํานวณอุณหดังนี้

การคํานวณค

ณอุณหภูมิพืรคํานวณอุณสาร:Center fชิงคลื่น (Speหภูมิสัมบูรณ

คาการแผรังสี

หรือ C โดย C g

D

b

พื้นผิวจากคหภูมิพ้ืนผิว for Earth Obectral radi

ณจากการแผรั

สเีชิงคลื่น

CVR1 = 0

CVR1 = ค

gain = 0

DN = คbias = 1

In

ลืน่อินฟราเมีการคํานวณbservation (iance) จากครังสี (Absolut

0.05518 * (B

คาการแผรังสี

0.05518 (คา

าการสะทอน.2378 (คา O

nfrared) จาก

เรดความรอณดวยกันหลYCEO); Yaคาการสะทอนte Radiance

B1) + 1.2378

สเีชิงคลื่น (Sp

gain LAND

น (Digital NuOffset มาจาก

กตาราง Lmin

อน ลายวิธี แตมีวิle Universityนแลวนําคากe Temperatu

8

pectral radia

SAT 5 TM ม

umber) กคา Lmin ขอ

n ,Lmax : LA

วิธีที่เปนที่นิy) คือ การคําการแผรังสีเชิure) ซ่ึงมีสูตร

ance)

มาจาก

อง Band 6 :T

ANDSAT 5 T

10

ยมอีกวิธี านวณคาชงคลื่นไปรคํานวณ

Thermal

TM)

Page 24: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

2.3.2 การแป(Chander&M

ตารางที่ 2.1ที่มา : (Chan

ProcessingDateBand

1234567

ปลงคาเชิงตัMarkham,20

CVR1 Lmax Lmin QCA

QCA

DN

1 คา Lmin แnder et., 200

g

LMIN-1.52-2.84-1.17-1.51-0.37

1.2378-0.15

FSpec

ตัวเลขของข003)

= คx = ค = คLmin = ค มี

Lmax = ค มี

= ค

และ Lmax ข07)

LMAX152.10296.8204.30206.2027.19

15.30314.38

To May 4,From March ctral Redianc

อมูลเปนคา

าการแผรังสเีารังสีสูงสุดขคารังสีต่ําสุดขคาเชิงตัวเลขตมีคาเทากับ 0คาเชิงตัวเลขสูมีคาเทากับ 2าเชิงตัวเลขข

องขอมูลตาง

X(IC) 1/Gresca

0 1.661 0.850 1.240 1.23

9 9.253 18.1

8 17.5

20031, 1984

ces, LMIN an

าการแผรังสี

เชิงคลื่น (Spองแตละแบนของแตละแบนต่ําสุดของขอ สงูสุดของขอ55 ของแตละจุดภ

ๆจากภาพถ

ale(IC) LM6 -1.5 -2.4 -1.3 -1.5 -0.

13 1.2355 -0.

nd LMAX in

ณ อุปกรณ

ectral Radiaนด (m²w sr⎯นด (m²w sr⎯มูลภาพถาย

มูลภาพถายด

ภาพ (Digital

ายดาวเทียม

MIN LMA.52 19.84 36.17 26.51 22.37 3378 15.15 1

To AprFrom M

W/(m².sr.µm

ณบันทกึ

ance) ⎯¹ μm⎯¹) ⎯¹ μm⎯¹) ดาวเทยีม

ดาวเทยีม

l Number)

LANDSAT

AX(LUT03) 1/G93.065.064.021.0

30.25.30316.5

ril 1, 2007May 5, 2003m)

11

5 TM

Grescale(LUT03)

1.310.690.961.158.34

18.1315.32

Page 25: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

12

2.3.3 คํานวณอุณหภูมิสัมบูรณจากการแผรังสีเชิงคลื่น (Chander et al,2009a;2009b)

T = อุณหภูมิสัมบูรณจากการแผรังสีเชิงคลื่น เคลวิน (K) CVR = คาการแผรังสีเชิงคลื่น (Spectral radiance) K1 = คาคงที่ของ LANDSAT 5 TM คือ 607.76 K2 = คาคงที่ของ LANDSAT 5 TM คือ 1260.56

K1 = คาคงที่ของ LANDSAT 8 TIR 1 Band 10 คือ 774.89 K2 = คาคงที่ของ LANDSAT 8 TIR 1 Band 10 คือ 1321.08 ε = คาสัมประสิทธิ์การแผรังสี LANDSAT 5 TM คือ 0.95 ε = คาสัมประสิทธิ์การแผรังสี LANDSAT 8 TIR 1 Band 10 คือ 1 2.4 การประยุกตใชคลื่นอินฟราเรดความรอน Xiao et al. (2008) ไดทําการศึกษาอุณหภูมิพ้ืนผิว บริเวณเมืองปกกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยการศึกษาครั้งน้ีไดนําอุณหภูมิพ้ืนผิว มาทําการศึกษาความสัมพันธกับลักษณะทางชีววิทยา และประชากรของเมืองที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เชน เมืองปกกิ่ง โดยไดใชขอมูลดาวเทียม LANDSAT 5 TM มาประยุกตใชในการศึกษารวมกับขอมูลความสูงของอาคารที่คํานวณจากเงาอาคารในขอมูลดาวเทียม SPOT Panchromatic และความหนาแนนของประชากร โดยจําแนกการใชประโยชนที่ดินดวยวิธีความเปนไปไดมากที่สุด มีประเภทการใชที่ดิน 7 ประเภท คือ ถนน หนาดินเปด ปาไม แหลงน้ํา สิ่งปลูกสรางหนาแนนนอย สิ่งปลูกสรางหนาแนนมาก และพ้ืนที่เกษตรกรรม การคํานวณอุณหภูมิพ้ืนผิวมีความซับซอนมากกวา โดยมีการปรับแกคาการเปลงรังสีจากบรรยากาศ และนําคาดัชนีพืชแบบปรับความแตกตาง (NDVI) มาปรับคาการเปลงรังสีของดิน และพืช ผลการศึกษา พบวาอุณหภูมิพ้ืนผิวมีความสัมพันธกับการใชที่ดินในทิศทางเดียวกัน สําหรับการใชที่ดินประเภทสิ่งปลูกสรางหนาแนนนอย สิ่งปลูกสรางหนาแนนมาก อาคารที่มีความสูงมาก ความหนาแนนประชากร มีความสัมพันธผกผันกับปาไมพ้ืนที่เกษตรกรรม และแหลงนํ้า

Page 26: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

13

Lu and Weng (2006) and Weng (2009) ไดศึกษาโดยการนําคลื่นอินฟราเรดความรอนมาใชประโยชนตั้งแตทศวรรษ 1980 มาจนถึงปจจุบัน โดยเปนการประยุกตดานอุตุนิยมวิทยา ซ่ึงในระยะแรกมีการใชคลื่นอินฟราเรดความรอนของขอมูลระยะไกลที่มีรายละเอียดภาพต่ํา ขอมูลดาวเทียมที่เคยมีการนํามาใชประโยชนดานการสํารวจระยะไกลดวยคลื่นอินฟราเรดความรอน อาธิHCMM,NOAA,AVHRR,LANDSAT TM/ETM+,MODIS,ASTER และ TIMS ในระยะแรกเปนการศึกษาการกระจายตัวของอุณหภูมิในภูมิภาคตางๆทั่วโลก รวมทั้งปรากฏการณ El Niño และ La niña ตอมาเม่ือมีขอมูลดาวเทียมที่มีรายละเอียดสูง เชน LANDSAT , ASTER และ MODIS เปนตน มีการศึกษาอุณหภูมิพ้ืนผิวในเขตเมือง อันเน่ืองมาจากปรากฏการณเกาะความรอนเมือง (Urban Heat Island) ซ่ึงทวีความรุนแรงมากขึ้น       Cox et al. (2005) ไดทําการศึกษาอุณหภูมิผิวพ้ืนของเมือง New York โดยใชขอมูลดาวเทียม LANDSAT 7 ETM+ , ASTER และ MODIS แลวนํามาวิเคราะหรวมกับตัวแปรดานที่ตั้ง ลักษณะเชิงเรขาคณิต ประกอบดวย รูปทรงตามฐานของอาคาร อายุของอาคาร ความสูงของอาคาร ความหนาแนนของโครงขายถนน การใชพลังงานในอาคาร ระยะทางที่หางจากแหลงนํ้าหรือขนาดของแหลงน้ํา รวมทั้งความหนาแนนของประชากร จากน้ันจึงสรุปความสัมพันธของอุณหภมิพ้ืนผิว และปจจัยที่เกี่ยวของ   โดยจากการศึกษาพบวาบริเวณใจกลางเมืองที่เปนยานการคา มีอาคารและประชากรอยูอยางหนาแนน เปนบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกวาบริเวณอ่ืน ในขณะที่สวนสาธารณะ พ้ืนที่ชนบท พ้ืนที่เกษตรกรรม เปนพ้ืนที่ซ่ึงมีอุณหภูมิต่ํากวา และนํามาสรางแบบจําลองของปรากฏการณโดมความรอนในเขตเมือง เพ่ือแสดงความสัมพันธของอุณหภูมิพ้ืนผิว และการใชที่ดินประเภทตางๆ  Weng, Lu and Scubring (2004) การศึกษาความสัมพันธของอุณหภูมิพ้ืนผิวกับการใชที่ดินในระยะหลังเริ่มใชขอมูลรายละเอียดสูงมากขึ้น คือ มีคลื่นอินฟราเรดความรอนที่มีขนาดจุดภาพ 60 เมตร หลังจากการสงดาวเทยีม LANDSAT 7 ETM+ ขึ้นปฏิบัตเิพ่ือศกึษาอุณหภูมิพ้ืนผิว (Land Surface Temperature - LST) ที่ Marion County มลรัฐ Indiana สหรัฐอเมริกา การคาํนวณอุณหภูมิพ้ืนผิวใชหลักการของ LANDSAT Project Science Office, (2002) เริ่มจากการคํานวณคาการแผรังสีเชิงคลื่น แลวคํานวณอุณหภูมิของเทหวัตถสุีดํา จากนั้นทําการปรับแกคาการเปลงรังสีใหอุณหภูมิพ้ืนผิว แลวนําอุณหภูมิที่ไดไปเปรียบเทยีบกบัปริมาณพืชที่ไดจากการคํานวณและการใชที่ดินที่จําแนกดวยวธิีความเปนไปไดมากที่สุด ซ่ึงมีอยู 7 ประเภท คือ ที่อยูอาศัย การคาและอุตสาหกรรมพื้นที่เพาะปลกูทุงหญาเลี้ยงสัตว ทุงหญาธรรมชาติ ปาไม และแหลงนํ้า ผลการศึกษา พบวาอุณหภูมิพ้ืนผิวมีความสัมพันธกับปริมาณพืชแบบผกผนั คือ พ้ืนที่ซ่ึงมีอุณหภูมิสูงปริมาณพืชนอย พ้ืนที่ซ่ึงมีอุณหภูมิต่ํามีปริมาณพืชมากกวา สวนแหลงนํ้ามีคาสหพันธต่ํา หมายถึง ไมมีความสัมพันธกบัจํานวนพืชในพ้ืนที่มากนัก

Page 27: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

14

อนุศาสน สิทธิเวช (2554) ทําการศึกษารูปแบบ และองคประกอบทางกายภาพของเมืองที่มีผลกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเมือง ซ่ึงเปนสาเหตุของการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมือง (Urban Heat Island) โดยใชขอมูลดาวเทียม LANDSAT 5 TM ของพื้นที่เมืองเชียงใหมระหวาง ป พ.ศ.2544 และป พ.ศ.2553 ทําใหพบวาพื้นที่เกาะความรอนเมืองมีขนาด และระดับของอุณหภูมิเพ่ิมขึ้น และใชการวิเคราะหความสัมพันธของปจจัยในการพัฒนาเมืองดวยวิธี Multiple Regression โดยปจจัยที่ศึกษาสะทอนรูปแบบการพัฒนาออกเปน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการพัฒนาเมืองในแนวราบ (2 มิติ) รูปแบบการพัฒนาเมืองในแนวดิ่ง (3 มิติ) เพ่ือหาปจจัยที่มีผลตอการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิ จากการศึกษาพบวาสามารถนํามาเปรียบเทียบผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาเมือง ทั้ง 2 รูปแบบ ไดแก รูปแบบการพัฒนาเมืองแบบแนวราบ หรือ Suburbanization กับการพัฒนาแนวดิ่งตามแนวคิด Compact City ไดในเชิงปริมาณอยางชัดเจน ซ่ึงนําไปสูขอเสนอแนะสนับสนุนรูปแบบการพัฒนาเมืองแบบ Compact City ของเชียงใหมที่มีผลในการบรรเทาการเกิดปรากฏการณเกาะความรอนเมือง โดยเนนการพัฒนาในแนวดิ่ง เพ่ือลดการใชพ้ืนที่แนวราบ และเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวประเภทไมยืนตนที่มีความอุดมสมบูรณ และสนับสนุนรูปแบบอาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน การมีสวนบนหลังคาและสวนแนวตั้ง เอกลักษณ สลักคํา (2553) ประยุกตใชขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 ชวงคลื่นความรอนในการประมาณคาอุณหภูมิพ้ืนผิวที่ดิน จากพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินประเภทตางๆ ตลอดจนวิเคราะหความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพ้ืนผิวที่ดิน และประเภทการใชประโยชนที่ดินโดยนําขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 บันทึกขอมูลในรูปแบบขอมูลเชิงตัวเลข จําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน และหาคาเกี่ยวกับอุณหภูมิพ้ืนผิว กระบวนการในการศึกษาครั้งน้ี ประกอบดวย ขั้นตอนการปรับแกขอมูลภาพถายดาวเทียม วิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิว และวิเคราะหความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพ้ืนผิวที่ดินและประเภทการใชประโยชน ที่ดิน ทั้งจากขอมูลภาพถายดาวเทียมและสํารวจในภาคสนาม ผลการศึกษาพบวา อุณหภูมิพ้ืนผิวในเขตพื้นที่อยูอาศัย พ้ืนที่เปดโลงและพื้นที่ถูกเผา มีอุณหภูมิพ้ืนผิวที่สูงกวาในเขตพื้นที่แหลงน้ําและปาไม นอกจากนี้อุณหภูมิพ้ืนผิวที่ดินที่ไดจากการประมาณคาและการตรวจวัดในภาคสนามนั้นมีความสัมพันธกันคอนขางมาก  

 

 

 

 

Page 28: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

15

ศุทธินี ดนตรี, ชาคริต โชติอมรศักดิ์ (2552) ศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพ้ืนผิว และรูปแบบการใชที่ดินจากขอมูลระยะไกล ในแองเชียงใหม-ลําพูน วัตถุประสงคเพ่ือเปรียบเทียบอุณหภูมิพ้ืนผิวที่ดินจากคลื่นอินฟราเรดความรอนของขอมูลดาวเทียม LANDSAT กับอุณหภูมิพ้ืนผิวที่ไดจาก แบบจําลองสภาพอากาศ และศึกษาความสัมพันธระหวางประเภทการใชที่ดิน และอุณหภูมิพ้ืนผิวโดยใชขอมูลดาวเทียม LANDSAT 7 ETM+ และ LANDSAT 5 TM ในพ.ศ.2545 และ พ.ศ.2549 เพ่ือจําแนกการใชที่ดิน คํานวณอุณหภูมิพ้ืนผิว และเปรียบเทียบอุณหภูมิพ้ืนผิวจากขอมูลดาวเทียม กับแบบจําลอง MM5 ดวยการวิเคราะหทางสถิติ และการวิเคราะหความสัมพันธระหวางประเภทการใชที่ดิน และอุณหภูมิพ้ืนผิวดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ผลการศึกษาพบวาไมมีความแตกตางกันมาก ระหวางอุณหภูมิพ้ืนผิวจากขอมูลดาวเทียม กับแบบจําลอง MM5 และมีรูปแบบการกระจายตัวของอุณหภูมิเชิงพ้ืนที่ที่เหมือนกัน จึงมีความนาเชื่อถือในดานความถูกตอง ในดานความสัมพันธระหวางประเภทการใชที่ดิน และ อุณหภูมิพ้ืนผิว พบวาวัตถุที่เปนปาไมผลัดใบ และน้ําลึกมีอุณหภูมิพ้ืนผิวต่ําที่สุด และพ้ืนที่ชุมชนเมือง หนาดินเปดตางๆ และพ้ืนที่ถูกเผามีอุณหภูมิพ้ืนผิวสูงที่สุด พบวาอุณหภูมิพ้ืนผิวเปลี่ยนแปลงแบบผกผัน กับปริมาณของน้ําหรือความชื้นพืชที่ปกคลุมดิน และระดับความสูงของการใชที่ดินแตละประเภท กนกวรรณ โกมลวีระเกตุ (2541) คาอุณหภูมิพ้ืนผิว คาดัชนีพืชพรรณ ขอมูลการใช

ประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน ที่คํานวณไดจากขอมูล LANDSAT 5 TM สามารถใชประเมิน

การเกิดปรากฎการณเกาะความรอนของเมืองในกรุงเทพมหานครได โดยหาความสัมพันธ

ระหวางคาอุณหภูมิพ้ืนผิว และคาดัชนีพืชพรรณของพ้ืนที่การใชประโยชนที่ดินและส่ิงปกคลุม

ดิน 9 ประเภท จากการศึกษาพบวาคาดัชนีพืชพรรณมีความสัมพันธแบบผกผันกับอุณหภูมิ

พ้ืนผิว นอกจากนี้คาดัชนีพืชพรรณ และอุณหภูมิพ้ืนผิวยังแปรผันไปตามลักษณะและคุณสมบัติ

ของพ้ืนผิวที่ปกคลุมดวย โดยพ้ืนที่ที่มีพืชปกคลุมสูงจะมีคาดัชนีพืชพรรณสูง และมีคาอุณหภูมิ

พ้ืนผิวต่ํา ในขณะพื้นที่กอสรางและพื้นที่เปดโลงจะมีคาดัชนีพืชพรรณต่ํา และมีอุณหภูมิพ้ืนผิว

สูง ดังน้ันการลดลงของพืชพรรณ และการเพิ่มขึ้นของพื้นที่กอสรางจะมีผลทําใหอุณหภูมิพ้ืนผิว

สูงขึ้น

Page 29: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

16

ความยาวคล่ืน ความละเอียดเชิงพ้ืนที่(ไมโครเมตร) (เมตร)

1 0.45 - 0.52 Blue-Green 30 ตรวจสอบชายฝง ,ความแตกตางหรือแยกประเภท

ตนไมชนดิผลัดใบละไมผลัดใบออกจากกัน ,หรือแยก

ดินจากพืชพรรณตางๆ2 0.52 - 0.60 Green 30 แสดงคาการสะทอนพลังงานสีเขียวจากพืชพรรณที่

เจริญเติบโตเต็มที่,ประเมินความแข็งแรงของพืช3 0.63 - 0.69 Red 30 แยกความแตกตางการดูดกลืนคลอโรฟลดในพืชพันธุ

ชนดิตางๆ4 0.76 - 0.90 Near IR 30 ตรวจวัดปริมาณมวลชีวภาพ, ความแตกตางของน้ํา

และสวนที่ไมใชน้าํ5 1.55 - 1.75 Middle IR 30 ตรวจสอบความชื้นในพืช,ความแตกตางระหวางเมฆ

หิมะและน้ําแข็ง

6 10.40 - 12.50 Thermal IR 120 ตรวจสอบความแตกตางของความรอน,ความชื้นในดิน

7 2.08 - 2.35 Middle IR 30 ตรวจสอบความรอนในน้ํา , แยกประเภทแรธาตุและดิน

แบนด คุณลักษณะขอมูลแลนดแซตทีเอ็มชวงคล่ืน

2.5 ลักษณะของภาพจากดาวเทียม 2.5.1 ดาวเทยีม LANDSAT-5 TM ดาวเทียม LANDSAT-5 ระบบ Thematic Mapper (TM) เปนหนึ่งในระบบบันทึกขอมูลที่

ติดตั้งอยูในดาวเทียม LANDSAT-5 ขึ้นสูวงโคจรวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ.1986 ระบบ TM สามารถ

บันทึกขอมูลได 7 แบนด ดังตารางที่ 2.2 แบงออกเปน ชวงคลื่นสีนํ้าเงิน(0.45-0.52) ชวงคลื่น

สีเขียว(0.52-0.60) ชวงคลื่นสีแดง(0.63-0.69) และชวงคลื่นอินฟราเรดไกล (0.76-0.90) รวม

4 แบนด ซ่ึงมีความละเอียดเชิงพ้ืนที่ 30 เมตร ชวงคลื่นอินฟราเรดกลาง (1.55-1.75 และ 2.08-

2.35) 2 แบนด ความละเอียดเชิงพ้ืนที่ 30 เมตร ชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal-IR) 1

แบนด ความละเอียดเชิงพ้ืนที่ 120 เมตร ระบบการเก็บขอมูล 8บิต (0-255) โดยจะโคจรกลับมา

ถายภาพซ้ําตําแหนงเดิมทุกๆ 16 วัน

ตารางที่ 2.2 ขอมูลการบันทึกชวงคลื่น ดาวเทียม LANDSAT 5 ระบบ TM ที่มา : (ศุทธินี ดนตรี , 2542)

Page 30: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

17

ความยาวคล่ืน ความละเอียดเชิงพ้ืนที่

(ไมโครเมตร) (เมตร)

1 0.43 -0.45 Coastal Aerosol

30

2 0.45 - 0.51 Blue 30

3 0.53 - 0.59 Green 30

4 0.64 - 0.67 Red 30

5 0.85 - 0.88 Near IR 30

6 1.57 - 1.65 SWIR 1 30

7 2.11 - 2.29 SWIR 2 30

8 0.50 - 0.68 Panchromatic 15

9 1.36 - 1.38 Cirrus 30

10 10.60 - 11.19 Thermal IR (TIRS 1) 100

11 11.50 - 12.51 Thermal IR (TIRS 2) 100

แบนด ชวงคล่ืน

2.5.2 ดาวเทยีม LANDSAT 8 OLI ดาวเทียม LANDSAT 8 ระบบ OLI ขึ้นสูวงโคจร เม่ือวันที่ 11 กุมภาพันธ พ.ศ.2556 มีลักษณะการโคจรรอบโลกหนึ่งรอบในเวลา 99 นาทีในแนวขัว้โลกเหนือใตโดยประมาณ ที่ระดับความสูงจากพื้นโลกประมาณ 705 กิโลเมตร ถายภาพในชวงความยาวคลื่นตางๆไดแก ชวงคลื่นCoastal aerosol(0.43-0.45) ชวงคลื่นสีนํ้าเงนิ(0.45-0.51) ชวงคลื่นสีเขียว(0.53-0.59) ชวงคลื่นสีแดง(0.64-0.67) อินฟราเรดใกล(0.85-0.88) จํานวน 1 ชวงคลื่น และอินฟราเรดคลื่นสั้น(1.57-1.65 และ 2.11-2.29) จํานวน 2 ชวงคลื่น ความละเอียดของจุดภาพ 30 เมตร ในชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน (Thermal IR) จํานวน 2 ชวงคลื่นความละเอียด 100 เมตร และภาพขาวดํา(Panchromatic) ความละเอียด 15 เมตร ระบบการเกบ็ขอมูล 16 บิต โคจรกลับมาถายภาพซ้ําตาํแหนงเดิมทุก 16 วัน ตารางที่ 2.3 ขอมูลการบันทึกชวงคลื่น ดาวเทียม LANDSAT 8 OLI ที่มา : http://landsat.usgs.gov/

Page 31: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

18

2.6 การจําแนกขอมูลจากการสํารวจจากระยะไกล การจําแนกประเภทขอมูล คือ การรวมกลุมคาระดับสีเทาของขอมูลสัมผัสระยะไกลที่มีลักษณะคลายกันออกเปนกลุมๆ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือแยกประเภทวัตถุตางๆบนพื้นผิวโลกออกเปนประเภทหรือชนิดของขอมูล (Spectral Classes) จําแนกประเภททําโดยการใชคอมพิวเตอรดวยเทคนิคการจําแนกเชิงคณิตศาสตร ผลที่ไดจากกระบวนการจําแนกขอมูลคือ ไดขอมูลภาพ (Digital Image) ที่มีลักษณะเปนแผนที่จุดภาพแตละจุดภาพจะถูกระบุเปนรหัสโดยใชสัญลักษณหรือสีแสดงการจับกลุมของขอมูล กระบวนการจําแนกขอมูลทําใหขอมูลจํานวนมากในแตละแบนดลดขนาดลงและแบงขอมูลเปนชนิดและไดขอมูลภาพเปนผลลัพธสุดทายเพียง 1 ขอมูลภาพ และภาพที่ไดน้ีคือ แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic map) ที่สรางจากขอมูลสัมผัสระยะไกล

2.6.1 ประเภทการจําแนกขอมูลจากการสํารวจจากระยะไกล 1 . การจําแนกแบบกาํกับดูแล (Supervised Classification) เปนกระบวนการที่ผูวิเคราะหตองมีปฏิสัมพันธคอนขางมากกับคอมพิวเตอร กลาวคือ ผูวิเคราะหตองชี้นําการจําแนก โดยการระบุ (Identify) พ้ืนที่บนภาพดาวเทียมที่ทราบวาเปนสิ่งปกคลุมดินประเภทใด ซ่ึงเรียกขั้นตอนนี้วาการกําหนดพื้นที่ฝกฝน (Training Site) หรืออาจเรียกวาพื้นที่ตนแบบ (สรรคใจ กลิ่นดาว) จากนั้นโปรแกรมจะนําคาความสวางของพื้นที่ตนแบบไปทําการคํานวณคาสถิติ ไดแก คาต่ําสุด คาสูงสุด คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปนตน จากน้ันโปรแกรมจะทําการเปรียบเทียบจุดภาพแตละจุดภาพวามีความสวางไกลเคียงกับคาความสวางเฉลี่ยของพื้นที่ตนแบบใด ก็จะถูกจัดใหจุดภาพนั้นเปนสมาชิกของสิ่งปกคลุมเดียวกับพ้ืนที่ตนแบบน้ัน 2. การจําแนกแบบไมกํากับดูแล (Unsupervised Classification) เปนกระบวนการที่ผูวิเคราะหมีปฏสิัมพันธกับโปรแกรมนอยที่สุด ในการรวมกลุมภาพที่มีคาการสะทอนแสงใกลเคียงกันเปนประเภทของสิ่งปกคลุมดินเดียวกัน จากนั้นผูวิเคราะหตองระบุกลุมของจุดภาพแตละกลุมที่ไดจําแนกไวแลววาเปนสิ่งปกคลุมดินประเภทใด

Page 32: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

รูปทีที่มา

2.6.2 ทฤษฎีกระบวนการ 1. การจํClassificati มีการกกระจายแบบ(Mean Vect วิธีการLikelihood C

การจ

ที่ 2.4 เปรียบา : หนังสือกา

ฎีการจําแนกรจําแนกขอมูลจําแนกประเภion)

กําหนดการกบปกติ (Normtor) และเมทริรจําแนกโดยใClassifier)

จําแนกแบบก

บเทียบการจําารสํารวจจาก

กประเภทขอลสัมผัสระยะไภทขอมูลโด

กระจายของขmal Distributiรกิซความแปใชตัวแปร ได

กํากับดูแล 

แนกสิ่งปกคลกระยะไกล,กา

อมูล ไกล (Classif

ดยใชตัวแปร

ขอมูลในแตละon) และมีพาปรปรวนรวม ดแก ตัวจําแน

ลุมดินแบบกาํารประมวลผล

fication Algoรหรือพารามิ

ะประเภทของารามิเตอร เช(Covarianceนกแบบความ

การจํา

ากับดูแลและลภาพเชิงเลข

orithm) แบงอมิเตอร (Para

งขอมูล (Clasชน คาเฉลี่ยหe Matrix) มนาจะเปนสงู

าแนกแบบไม

ะไมกํากับดูแขเบื้องตน

ออกเปน 2 ปametric

ss) โดยใชกาหรือทศิทางคา

งสุด (Maximu

มกํากับดูแล 

19

ประเภท

าราเฉลี่ย

um-

Page 33: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

20

2. การจําแนกประเภทขอมูลโดยไมใชตัวแปรหรือพารามิเตอร (Nonparametric Classification) วิธีน้ีไมมีการพิจารณาในเรื่องการกระจายของความนาจะเปน (Probability Distribution)แตจําแนกขอมูลไปตามสภาพที่เปนจริง โดยมีการแบงกลุมที่ชัดเจนและสมเหตุสมผล วิธีการจําแนกโดยไมใชตวัแปรหรือพารามิเตอร ไดแก ตัวจําแนกแบบสี่เหลี่ยมคูขนาน (Parallelepiped Classifier) ตัวจําแนกแบบระยะหางต่าํสุด (Minimum-Distance to Mean Classifier) ตวัจําแนกแบบการประมาณฮิสโทแกรม (Histogram Estimation Classifier)

2.6.3 การกําหนดพื้นที่ตนแบบ Campbell, (1996) ใหคําจํากัดความ “พ้ืนที่ตนแบบ” หมายถึงพ้ืนที่ที่ราบลักษณะของสิ่งปกคลุมดินที่ชัดเจน โดยสามารถกําหนดไดหลายวิธี เชนการกําหนดของมุมรูปสี่เหลี่ยม กําหนดดวยแถวและคอลัมน พิกัดภาพ โดยที่ผูวิเคราะหภาพอาจทําการศึกษาจาก แผนที่ ภาพถายทางอากาศ หรือสํารวจขอมูลภาคสนาม ในการกําหนดขอบเขตของพื้นที่ตนแบบจะตองกําหนดดวยความแมนยํา เพ่ือสามารถใชเปนตัวแทนคาสะทอนแสงในขอมูลแตละประเภทอยางถูกตองซ่ึงคุณลักษณะที่สําคัญของพ้ืนที่ตนแบบ (กอบกาญน สาครพันธ,2550) มีดังน้ี 1. จํานวนจุดภาพ (Number of Pixel) ในการกําหนดพื้นที่ตนแบบ สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ จํานวนจุดภาพของสิ่งปกคลุมดินแตละชนิด อยางนอยควรถูกกําหนดดวยจํานวน 100 จุดภาพ และควรมีความหลากหลายเพียงพอที่จะเปนตัวแทนของจุดภาพประเภทนั้นๆของขอมูลทั้งภาพ 2. ขนาดของพื้นที่ (Size) ขนาดคืออีกปจจัยหน่ึงที่สําคัญ เน่ืองจากในการกําหนดพื้นที่ตนแบบใหมีความถูกตอง พ้ืนที่จะตองมีขนาดที่มีความเหมาะสม เพ่ือใหมีคาความถูกตองมากขึ้น แตไมควรมีขนาดใหญมากจนขอมูลที่ไดไมเปนลักษณะขอมูลประเภทเดียวกัน 3. รูปราง (Shape) รูปรางของพื้นที่ตนแบบไมมีลักษณะที่ตองกําหนดตายตัวและไมมีความเกี่ยวของกันกับความถูกตองในการจําแนก โดยปกติจะใชรูปรางที่งายเพ่ือสะดวกตอการกําหนด เชน รูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา หรือจตุรัส 4. ที่ตั้ง (Location) ที่ตั้งของพื้นที่ เปนปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่ง แมจะไมเกี่ยวของโดยตรงตอความถูกตองในการจําแนก แตการเลือกที่ตั้งพ้ืนที่ตัวอยางอยางเหมาะสมจะชวยใหผูวิเคราะหกําหนดพื้นที่เปาหมายไดถูกตองและชัดเจนมากยิ่งขึ้น ดังนั้นการเลือกพื้นที่จึงควรเลือกพื้นที่ที่งายตอการสังเกต เชน จุดตัดถนน และไมควรกําหนดพื้นที่ตนแบบที่กระจุกตัวในบริเวณใดบริเวณหนึ่งมากจนเกินไป เพราะจะทําใหขาดความหลากหลายในการกําหนดพื้นที่ตนแบบ 5. จํานวนของพื้นที่ตนแบบ (Number) จํานวนที่เหมาะสมของพื้นที่ตนแบบ ขึ้นอยูกับจํานวนชั้นของขอมูลที่ตองการจําแนก และความหลากหลายของขอมูลในแตละชั้นในการกําหนดพื้นที่ตนแบบแตละประเภท ดังนั้นควรเลือกพื้นที่ที่มีความหลากหลายอยางนอย 5-10

Page 34: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

21

พ้ืนที่ใน 1 ชั้นขอมูล เพ่ือใหพ้ืนที่ตนแบบครอบคลุมตัวแทนในแตละชั้นขอมูลทั้งหมดไดอยางเพียงพอ 6. ความคลายคลึง (Uniform) ความคลายคลึงของขอมูลที่ถูกกําหนดเปนพ้ืนที่ตนแบบ เปนปจจัยที่มีความสําคัญในการเลือกพื้นที่ตนแบบ ผูวิเคราะหจะตองเลือกพื้นที่ตนแบบที่มีความคลายคลึงกันเพ่ือใหไดลักษณะขอมูลที่เปนประเภทเดียวกันภายหลังจําแนกขอมูล

2.6.4 กรรมวธีิในการจําแนกแบบกํากับดูแล (Supervised Classification) การศึกษาในครั้งน้ีใชตัวจําแนกแบบความนาจะเปนไปไดสูงสุด (Maximum-Likelihood Classifier) ซ่ึงเปนวิธีการจําแนกเปนวิธีที่จุดภาพที่มีความนาจะเปนไปไดสูงสุด โดยจะถูกจัดใหอยูในกลุมที่เหมาะสมซึ่งมีความนาจะเปนไปได (Likelihood) ในที่น้ีจะใชคาทางสถิติมาพิจารณา ไดแก ความแปรปรวนและคาความแปรปรวนรวม ในการกําหนดประเภท โดยสมมติฐานวาขอมูลจะมีการกระจายแบบปกติ (Normal Distribution) หลักการสําคัญของตัวจําแนกชนิดนี้คือ Scatter Plot ของสิ่งปกคลุมดินแตละชนิดจะมีรูปรางคลายคลึงวงรีหลายวงซอนกัน จะมีจุดศูนยกลางรวมกันที่คาเฉลี่ยของกลุมขอมูล โดยชุดของวงรีน้ีเรียกวา Equiprobability Contours โดยการวางตัวและขนาดของวงรีจะขึ้นอยูกับความแปรปรวนรวมของแบนดตางๆ หากคาของจุดภาพตกอยูในเสนชั้นความนาจะเปนของกลุมใดก็จะเปนสมาชิกของกลุมน้ัน

Page 35: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

รูปที่ 2.5 ลกัที่มา : http://

กษณะ Equip/wgbis.ces.ii

probability coisc.ernet.in/e

รูปที่ 2.6 คว ที่มา : Lilles

ontours ของenergy/pape

วามถี่ของควsand and Kie

ตัวจําแนกแบer/TR-111/ch

ามนาจะเปนefer, 1994

บบความนาจhapter3

นไดสูงสุด

จะปนไปไดสงู

22

งสุด

Page 36: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

23

2.6.5 การประเมินความถูกตองของการจําแนก หลังทําการจําแนกประเภทสิ่งปกคลุมดิน จําเปนตองมีการประเมินความถูกตองของการจําแนก (Classification Accuracy Assessment) ซ่ึงเปรียบเทียบผลที่ไดจากการจําแนกกับแผนที่ที่ใชอางอิง ซ่ึงผูวิเคราะหเปนผูสรางขึ้น จากการออกสํารวจภาคสนามหรือใชภาพถายทางอากาศ โดยเลือกสุมตัวอยางเฉพาะบางบริเวณ ในการเลือกจุดภาพเพื่อทําการตรวจสอบความถูกตองน้ัน ไมควรเลือกใชจุดภาพจากพื้นที่ตนแบบที่มาใชในการจําแนกแบบกํากับดูแลมาเปนพ้ืนที่สําหรับการตรวจสอบ (สรรคใจ กลิ่นดาว ,2550) จํานวนจุดภาพเพื่อใชในการสรางแผนที่อางอิงสําหรับการประเมินความถูกตองสามารถหาไดจากสมการ

N ² p q E² โดยที่ p คือ ความถูกตองที่คาดหวังเปนรอยละ q คือ 100-p E คือ ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได Z คือ คาเบี่ยงเบนมาตรฐานสําหรับชวงความเชื่อม่ันทีต่องการ จากนั้นนําผลของการวิเคราะหสรางเมทริกซความคลาดเคลื่อน (Error Matrix) หรือ

เมทริกซของความสับสน (Confusion Error Matrix) ที่สรางขึ้นจะมีจํานวนแถวและสดมภ เทากับจํานวนประเภทการใชที่ดินที่จะทําการตรวจสอบ ตารางที่ 2.4 ตัวอยางเมทริกซความคลาดเคลื่อน ที่มา : (สรรคใจ กลิ่นดาว, 2550)

1,748 พ้ืนท่ีเมือง พืชไร ทุงหญา แหลงน้ํา ปาไม ท่ีรกราง รวม

พื้นที่เมือง 150 21 0 7 17 30 225

พืชไร 0 730 93 14 115 21 973

ทุงหญา 33 121 320 23 54 43 594

แหลงนํ้า 3 18 11 83 8 3 126

ปาไม 23 81 12 4 350 13 483

ที่รกราง 39 8 15 3 11 115 191

รวม 248 979 451 134 555 225 2,592

แผนท่ีท่ีถูกประเมิน

แผนท

ี่อางอ

ิง

Page 37: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

24

ตารางที่ 2.5 ตารางแสดงความถูกตองของการจําแนกประเภทสิ่งปกคลุมดินรวม (Overall Accuracy)

Overall Accuracy = (150+730+320+83+350+115)/2,592 = 67% จากตารางที่ 2.4 , 2.5 คาที่ไดจากการประเมินความถูกตองสามารถจําแนกไดดังน้ี

คาความถูกตองของการจําแนกรวม (Overall Accuracy) เปนคาที่แสดงถึงความถูกตองทั้งหมดของการจําแนก คํานวณโดย นําผลรวมของจุดภาพที่จําแนกถูกตองหารดวยจํานวนจุดภาพทั้งหมด คูณดวย 100 เพ่ือใหไดผลออกมาในรูปรอยละ

คาความถูกตองของผูผลิต (Producer's Accuracy ) เปนคาที่แสดงใหเห็นถึงความ ผิดพลาดของจุดภาพที่สนใจ ถูกจําแนกเปนขอมูลประเภทอ่ืน คํานวณโดย นําผลรวมของจุดภาพที่จําแนกถูกตองในชั้นขอมูลน้ัน หารดวยจํานวนจุดภาพทั้งหมดของชั้นคูณดวย 100 เพ่ือใหไดผลที่ไดออกมาในรูปรอยละ

ประเภทส่ิง User's Accuracy

ปกคลุมดิน

พ้ืนท่ีเมือง (150/248)*100 = 60 (150/225)*100 = 67

พืชไร (730/979)*100 = 75 (730/973)*100 = 75

ทุงหญา (320/451)*100 = 71 (320/594)*100 = 54

แหลงนํ้า (83/134)*100 = 62 (83/126)*100 = 66

ปาไม (350/555)*100 = 63 (350/483)*100 = 73

ท่ีรกราง (115/225)*100 = 51 (115/191)*100 = 62

(%)

Producer's

Accuracy (%)

Page 38: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

25

บทที่ 3 วิธีการศึกษา

3.1 พื้นที่ศึกษา

การศึกษาครั้งน้ีใชขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 ระบบ TM (Thematic Mapper)

Path 129 Row 50 และ Path 129 Row 51 บันทึกเม่ือวันที่ 19 มกราคม 2552 จํานวน 1 ภาพ ชวงเวลาทองถิ่น 10.22 น.และ LANDSAT 8 ระบบ OLI (Operational Land Imager) Path 129 Row 50 และ Path 129 row 51 บันทึกเม่ือวันที่ 2 กุมภาพันธ 2557 จํานวน 1 ภาพ ชวงเวลาทองถิ่น 10.39 น. ซ่ึงเปนภาพที่ไมมีเมฆปกคลุม และครอบคลุมพ้ืนที่ศึกษา ซ่ึงความละเอียดเชิงพ้ืนที่ของภาพถายจากดาวเทียมในชวงคลื่นที่ตามองเห็น (Visible band) 30 x 30 เมตร และในชวงคลื่นความรอน (Thermal Infrared band) Band 6 จากภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM ความละเอียด 120 x 120 เมตร ในชวงคลื่นความรอน (Thermal Infrared band) Band 10 TIRS 1 จากภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 ความละเอียด 100 x 100 เมตร ประกอบกับอางอิงพ้ืนที่เขตหนองจอกเพ่ือใชในการอางอิงอุณหภูมิซ่ึงพ้ืนที่อางอิงดังกลาวสวนใหญเปนพ้ืนที่เกษตรกรรม จึงมีความเหมาะสมในการอางอิงเพ่ือใชในการศึกษา

รูปที่ 3.1 แสดงพื้นที่ศึกษาจาก LANDSAT 8 OLI : วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 39: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

26

ตารางที่ 3.1 แสดงรายละเอียดคาอุณหภูมิพ้ืนที่เขตหนองจอก

Min Max Mean SD

19 มกราคม 255223.9 34.76 27 1.29

Band 6 Thermal Infrared

LANDSAT5 TM

2 กุมภาพันธ 2557 21.1 34.22 26.5 1.26Band 10 Thermal Infrared (TIRS) 1

LANDSAT 8

วัน/เดือน/ป ตารางแสดงคาอุณหภูมิเฉล่ียพ้ืนที่เขตหนองจอก

ชวงคล่ืน

รูปที่ 3.2 แสดงภาพบริเวณพื้นที่อางอิง 19 มกราคม พ.ศ.2552

Page 40: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

27

3.2 อุปกรณและเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องคอมพิวเตอรสําหรับการแสดงผลผานทางจอภาพ และใชวิเคราะหขอมูลทางสถิติ สําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอรที่นํามาใชในการวิเคราะห ประกอบดวยโปรแกรมตางๆดังน้ี

• โปรแกรมดานภูมิสารสนเทศสําหรับการจัดเก็บ จัดการ วิเคราะหขอมูลเชิงพ้ืนที่ การสรางแผนที่ และการนําเสนอผลการวิเคราะห

• โปรแกรมสําหรบัการแปลงขอมูลภาพถายดาวเทียมเปนชนิดไฟลในการวิเคราะห อุณหภูมิ โดยแสดงเปนขอมูลไฟลภาพ ขอมูลคาตัวเลข

• โปรแกรมสําหรับใชในการบันทึกขอมูลตัวอักษรเพื่อจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ

รูปที่ 3.3 แสดงภาพบริเวณพื้นที่อางอิง 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 41: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

3.3 การเต ี

การศึกภาพถายดาว129 Row 5ซ่ึงจําแนกควเพ่ือทําการจํพิกเซล และแผนที่เชิงควOLI (Operaกุมภาพันธ 2ไดเปน 11 แการใชประโยแบนด 10 ระบบพิกัดกริ

รู แ

รียมขอมูล

กษาครั้งนี้เปวเทียม LAND51 บันทึกเม่ืวามถี่ของภาจําแนกการใช ชวงคลื่นคววามรอนซึ่งมีรtional Land 2557 จํานวนแบนด ซ่ึงชวยชนที่ดินแล(Thermal Inรดิ UTM หมุ

รปที่ 3.4 แสดและภาพหลังผ

ปนการศึกษาDSAT 5 ระบอวันที่ 19 มพออกเปน 7ชประโยชนที่ดิามรอน (Theรายละเอียด Imager) Paน 1 ภาพ ชววงคลื่นนํามาะสิ่งปกคลุมดิnfrared:เซนเมุดหลักฐานอา

ดงภาพถายดผสมสี RGB:

า เพ่ือทํากาบบ TM (Theกราคม 2552

7 แบนด ซ่ึงชดินและสิ่งปกermal Infrare 120X120 เath 129 Rowงเวลาทองถิ่นใชในการศึกดิน มีรายละเซอร TIR 1างอิง WGS

าวเทียม LAN 3:2:1: บันทึ

รวิเคราะหภematic Mapp2 จํานวน 1 ชวงคลื่นที่นํากคลุมดิน โดยed) แบนด 6เมตรตอ 1 พิw 50 และ Paน 10.39 น.ซึษาคือ แบนดเอียด 30X30) มีรายละเอี1984 โซน 4

NDSAT 5 Tกภาพวนัที่ 1

ภาพถายดาวper) Path 12ภาพ ชวงเวลมาใชศึกษาคืยมีรายละเอีย6 เพ่ือใชในกพิกเซล และ ath 129 row ซ่ึงสามารถจําด 2,3,4,5,6,0 เมตร แลยด 100X100

47

M แบนด 1,219 มกราคม

วเทียม โดยใ29 Row 50 แลาทองถิ่น 10คือ แบนด 1,2ยด 30X30 เมการวิเคราะหLANDSAT 51 บันทึกเมืาแนกความถี่7 เพ่ือทํากาละชวงคลื่นค0 เมตร ในที

2,3,4,5,7 พ.ศ.2552 

28

ใชขอมูลและ Path 0.22 น. 2,3,4,5,7 มตรตอ 1 และสราง8 ระบบ ม่ือวันที่ 2 ของภาพารจําแนกความรอน ที่น้ีอางอิง

Page 42: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

ตารางที่ 3.2

ดาวเที

ระบบเคตรวจ

ความละเอีพ้ืนท

จํานวนภา

วันทําบันทึกภ

รูปที่ 3.5 แ และภาพห

2 แสดงรายล

ทยีม

ครื่องจวัด

T

อียดเชิงที่

าพที่ใช จํ

การภาพ

1

P

แสดงภาพถาหลังผสมสี RG

ะเอียดขอมูล

LAN

Thematic Ma

แบนด 1,2,3,

แบนด 6 (12

จํานวน 1 ภา

19 มกราคม พ

Path 129 , R

วลา 10:22 น

ายดาวเทียม GB: 4:3:2: บ

ลภาพถายดาว

NDSAT 5

apper (TM)

4,5,7 (30 เม

20 เมตร)

พ.ศ. 2552

Row 50,51

น.

LANDSAT 8บันทึกภาพวัน วเทยีมที่ใชใน

Oper

Ther

มตร) แบน

แบน

จํานว

2 กุม

Path

เวลา

8 OLI แบนดันที่ 2 กุมภาพ

นการศึกษา

LAND

rational Lan

rmal Infrared

ด 2,3,4,5,6

ด 10 (100

วน 1 ภาพ

มภาพันธ พ.ศ

h 129 , Row

10:39 น.

ด 2,3,4,5,6,7พันธ พ.ศ.25

DSAT 8

d Imager (O

d Sensor (T

6,7 (30 เมตร

เมตร)

ศ. 2557

50,51

29

557

OLI)

IRS)

ร)

Page 43: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

30

3.4 ข้ันตอนการศึกษา การศึกษาครั้งน้ีทําการประยุกตใชขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19

มกราคม พ.ศ.2552 โดยทําการรวมชวงคลื่น แบนด 1,2,3,4,5,7, แลวทําการจําแนกการใชประโยชนที่ดินแบบกํากับดูแล (Supervised Classification) เพ่ือใหไดมาซึ่งขอมูลเชิงพ้ืนที่การใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน โดยทําการจําแนกออกเปน 4 ประเภท คือ 1) พ้ืนที่เมือง 2) พ้ืนที่สีเขียว 3) พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้า 4) พ้ืนที่ดินเปด และนําชวงคลื่นความรอน (Thermal Infrared) แบนด 6 มาทําการวิเคราะหภาพเชิงความรอน

ทําการประยุกตใชขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI บันทึกภาพวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 โดยทําการรวมแบนด 2,3,4,5,6,7, แลวทําการจําแนกการใชประโยชนที่ดินแบบกํากับดูแล (Supervised Classification) เพ่ือใหไดมาซึ่งขอมูลเชิงพ้ืนที่การใชประโยชนที่ดิน รวมทั้งสิ่งปกคลุมดิน โดยจําแนกออกเปน 4 ชั้นขอมูล คือ 1) พ้ืนที่เมือง 2) พ้ืนที่สีเขียว 3) พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้า 4) พ้ืนที่ดินเปด และนําแบนด 10 (Thermal Infrared) มาทําการวิเคราะหภาพเชิงความรอน

Page 44: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

31

ขอมูลถาพถายดาวเทียมLANDSAT 5 TM

จําแนกขอมูลแบบกํากับดูแล(Supervised Classification)

รวมภาพถายดาวเทียม แบนด1,2,3,4,5,7 ทําการผสมสี 4:3:2

วิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิว

วิเคราะหความสัมพันธระหวาง การใชประโยชนที่ดิน ,สิ่งปกคลุมดิน รวมกับ อุณหภูมิพื้นผิว

ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน,สิ่งปกคลุมดิน

ขอมูลถาพถายดาวเทียมLANDSAT 8 OLI

รวมภาพถายดาวเทียม แบนด2,3,4,5,6,7 ทําการผสมสี 5:4:3

จําแนกขอมูลแบบกํากับดูแล(Supervised Classification)

ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน,สิ่งปกคลุมดิน

ชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน

10.40-12.50 ไมโครเมตร

ชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน

10.60-11.19 ไมโครเมตร

แปลงคาจุดภาพเปนคาการแผรังสี ณ

อุปกรณบนัทึกขอมูล

แปลงคาจุดภาพเปนคาการแผรังสี ณ อุปกรณบนัทึกขอมูล

เปนคาการแผรังสีพื้นผิว

ประมาณคาอุณหภูมิพื้นผิว

อุณหภูมิพื้นผิว

รูปที่ 3.6 ผังแสดงแนวทางการศึกษา

Page 45: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

3.5 ข้ันตอน การศึก

ขอมูลภาพถPath 129 Rน. โดยใชชวรอนมีรายละPath 129 RชวงเวลาทอTIR 1) มีราย 3.5.1 คํานวการคํานวณค

หรื โด

นการวิเครา

กษาครั้งนี้เปนายดาวเทียม

Row 51 บันทึวงคลื่นความะเอียดเชิงพ้ืนRow 50 และ งถิ่น 10.39 ยละเอียดเชิง

ณอุณหภูมิพืคาการแผรังสี

รือ CVR1

ดย CVR

gain

DN bias

าะหอุณหภูมิ

นการศึกษาเ LANDSAT ทึกเม่ือวันที่ มรอน (Thermนที่ 120 เมตร Path 129 roน.โดยใชชวพ้ืนที่ 100 เม

พื้นผิวจากคสเีชิงคลื่น

1 = 0.055

R1 = คากาn = 0.055

= คากา = 1.23

Band)

มิพื้นผิว

พ่ือทําการวิเ 5 ระบบ TM19 มกราคม mal Infraredร และ LANDow 51 บันทึกงคลื่นความรมตร ซ่ึงมีวิธกี

ลืน่อินฟราเ

518 * (B1) +ารแผรังสีเชิงค518 (คา gain

ารสะทอน (D78 (คา Offs

) จากตารางข

คราะหภาพถM (Thematic 2552 จํานว) แบนด 6 เ

DSAT 8 (Thกเม่ือวันที่ 2 รอน แบนด การวิเคราะห

เรดความรอ

+ 1.2378 คลื่น (Spectrn LANDSAT

Digital Numbet มาจากคา

ขอมูล Lmin ,

ถายดาวเทียมMapper) Paน 1 ภาพ ชวเพ่ือใชในการhermal Infra กุมภาพันธ 10 (Thermaอุณหภูมิพ้ืนผิ

อน

ral radianceT 5 TM มาจา

ber) า Lmin ของ B

Lmax ของ L

ม โดยประยุกath 129 Rowวงเวลาทองถิรสรางแผนที่เared:เซนเซอ2557 จํานวนal Infrared:ผิว ดังนี้

) าก

Band 6 ;The

LANDSAT 5

32

กตใช w 50 และ ถิ่น 10.22 เชิงความร TIR 1) น 1 ภาพ เซนเซอร

ermal

TM)

Page 46: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

3.5.2 คํานว

ณอุณหภูมิส

T = CVR = K1 = K2 = K1 = K2 = ε = ε =

รูปที่ 3.7 แซาย : LANขวา : LAN

สัมบูรณจาก

อุณหภูมิสัม คาการแผรัง คาคงที่ของ คาคงที่ของ คาคงที่ของ คาคงที่ของ คาสัมประสิ คาสัมประสิ

สดงผลหลังกDSAT 5 ชว

NDSAT 8 ชว

กการแผรังสี

บูรณจากการงสีเชิงคลื่น (S LANDSAT LANDSAT LANDSAT LANDSAT สทิธิก์ารแผรงัสทิธิก์ารแผรงั

การคํานวณคงคลื่นความรวงคลื่นความร

เชิงคลื่น (C

รแผรังสีเชิงคSpectral rad5 TM คือ 605 TM คือ 128 TIR แบน8 TIR แบนดงสี LANDSAงสี LANDSAT

าการแผรังสีรอน แบนด 6รอน แบนด 1

hander et a

คลื่น เคลวิน (iance) 07.76 260.56 นด 10 คือ 77ด 10 คือ 13

AT 5 TM คือ T 8 TIR 1 B

เชิงคลื่น 6 (Thermal I10 (Thermal

l,2009 a;200

(K)

74.89 321.08 0.95

Band 10 คือ

nfrared) l Infrared)

33

09b)

1

Page 47: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

3.5.3 การแป

รูปซาขว

รูปซาขว

ปลงคาอุณห

อุณหภ

ปที่ 3.8 แสดาย : LANDSวา : LANDS

ปที่ 3.9 แสดาย : LANDSวา : LANDS

หภูมิเคลวินเ

[°ภูมิองศาเซล

งผลหลังการSAT 5 ชวงค ืSAT 8 ชวงค

งผลหลังทํากSAT 5 ชวงค ืSAT 8 ชวงค

เปนคาอุณห

°C] = [K] −เซียส = อุณห

รคํานวณอุณหลื่นความรอนคลื่นความรอน

การแปลงคาอุลื่นความรอนคลื่นความรอน

หภูมิองศาเซ

− 273.15 หภูมิเคลวิน –

หภูมิสัมบูรณน แบนด 6 (Tน แบนด 10

อุณหภูมิเคลวิน แบนด 6 (Tน แบนด 10

ซลเซียส

– ศูนยสัมบรู

ณจากการแผรัThermal Infra(Thermal In

วนิเปนคาองศThermal Infra(Thermal In

รณ

รงัสีเชิงคลื่น ared)

nfrared)

ศาเซลเซียส ared)

nfrared)

34

Page 48: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

35

3.6 ข้ันตอนการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 3.6.1 การจําแนกขอมูลภาพถายดาวเทียม

การศึกษาครั้งน้ีทําการประยุกตใชขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 โดยทําการรวมชวงคลื่น แบนด 1,2,3,4,5,7, แลวทําภาพสีผสมเท็จ (False color composite) แบนด 432 (RGB) ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI บันทึกภาพวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 โดยทําการรวม แบนด 2,3,4,5,6,7,แลวทําภาพสีผสมเท็จ (False color composite) แบนด 543 (RGB) ซ่ึงบริเวณที่มีพืชพรรณปกคลุมจะแสดงเปนสีแดง ทั้งน้ีใชวิธีการจําแนกการใชประโยชนที่ดินแบบกํากับดูแล (Supervised classification) โดยใชตัวจําแนกแบบความนาจะเปนไปไดสูงสุด (Maximum-Likelihood Classifier) ซ่ึงตัวจําแนกชนิดนี้ใชเกณฑความนาจะเปนของจุดภาพซึ่งจะถูกจัดอยูในสมาชิกกลุมใดกลุมหน่ึงที่มีความนาจะเปนมากที่สุด ในที่น้ีกําหนดพื้นที่ตนแบบ (Training Area) ออกเปน 4 ประเภท คือ

1) พ้ืนที่เมือง 2) พ้ืนที่สีเขียว 3) พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้า 4) พ้ืนที่ดินเปด

ทําการกําหนดจุดภาพของพื้นที่ตนแบบใหเหมาะสม และมีคุณลักษณะที่เหมาะสมในดานขนาด รูปราง และที่ตั้ง แลวจะตองทําการคํานวณคาทางสถิติของพ้ืนที่ตนแบบของแตละประเภท

รูปที่ 3.10 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:432)

Page 49: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

36

LANDSAT 5 TM (RGB:432) LANDSAT 8 OLI (RGB:543)

19 มกราคม พ.ศ.2552 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

พ้ืนที่เมือง

พ้ืนที่สีเขียว

พ้ืนที่นํ้า

พ้ืนที่ดินเปด

ตัวอยางพื้นท่ีตนแบบ

ประเภทขอมูล

                           

รูปที่ 3.11 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:543)

ตารางที่ 3.3 ตารางแสดงพื้นที่ตนแบบจากขอมูลภาพถายดาวเทยีม LANDSAT 5 TM และ LANDSAT 8 OLI

Page 50: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

37

3.6.2 ตัวจําแนกแบบความนาจะเปนไปไดสูงสุด (Maximum-Likelihood Classifier) วิธีการจําแนกการใชประโยชนที่ดินแบบกํากับดูแล (Supervised classification) โดยใชตัวจําแนกแบบความนาจะเปนไปไดสูงสุด (Maximum-Likelihood Classifier) ซ่ึงตัวจําแนกชนิดนี้ใชเกณฑความนาจะเปนของจุดภาพซึ่งจะถูกจัดอยูในสมาชิกกลุมใดกลุมหน่ึงที่มีความนาจะเปนมากที่สุดซึ่งมีความถูกตองมากกวาตัวจําแนกอื่น จึงนํามาใชในการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินในการศึกษาครั้งน้ี 3.6.3 ตรวจสอบผลการวิเคราะห หลังทําการวิเคราะหขอมูล มีความจําเปนที่จะตองทําการประเมินความถูกตองของการจําแนก ของภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 และ LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 เพ่ือนําไปสรางเมทริกซความคลาดเคลื่อน หรือเมทริกซของความสับสน

รูปที่ 3.12 แสดงภาพการจําแนกแบบกาํกับโดยใชตวัจําแนกความนาจะเปนไปไดสูงสุด (Maximum-Likelihood Classifier) ภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI

Page 51: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

38

บทที่ 4 ผลการศึกษา

จากการวิเคราะหขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM ชวงวันที่ 19 มกราคม

พ.ศ.2552 และขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI ชวงวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557ซ่ึงทําการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินออกเปน 4 ประเภท คือ 1) พ้ืนที่เมือง 2) พ้ืนที่สีเขียว 3) พื้นที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้า 4) พ้ืนที่ดินเปด จากกรรมวิธีการจําแนกดวยวิธีกํากับดูแล (Supervised Classification) โดยใชตัวจําแนกแบบความนาจะเปนไปไดสูงสุด (Maximum-Likelihood Classifier) ซ่ึงตัวจําแนกนี้จะทําการจําแนกโดยเลือกจุดภาพใดก็ตามที่มีความนาจะเปนไปไดสูงสุด จะถูกจัดใหอยูในกลุมที่เหมาะสม โดยสาเหตุที่เลือกใชตัวจําแนกนี้เน่ืองจากเปนวิธีที่ใหผลดีที่สุดแตมีขอเสียคือใชเวลามากที่สุด และนําผลที่ไดจากการจําแนก จากภาพถายดาวเทียมทั้ง 2 ชวงเวลา 2 ป คือ จากขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM ชวงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 และขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI ชวงวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 มาทําการเปรียบเทียบการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากที่ทําการจําแนกออกเปน 4 ประเภท โดยเนนผลการวิเคราะหที่สัดสวนพ้ืนที่เมือง เพ่ือที่จะไดนําไปหาความสัมพันธกับการแผนที่เชิงความรอนที่ไดจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวจากชวงคลื่นอินฟราเรดความรอน ของ LANDSAT 5 TM แบนด 6 และ ชวงคลื่นอินฟราเรดความรอนของ LANDSAT 8 TIR 1 แบนด 10 ในบริเวณพื้นที่ศึกษาคือ กรุงเทพมหานคร

4.1 ผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 4.1.1 ผลการจําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 19 มกราคม พ.ศ.2552

ผลการจําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 19 มกราคม พ.ศ.2552จากภาพสีผสมเท็จ (False Color) ซ่ึงประกอบดวยชวงคลื่น 432/RGB พบวาความถูกตองโดยรวม (Overall accuracy) ของการจําแนก 99.89 % และคาสัมประสิทธิ์แคปปาของความสอดคลองกัน (Kappa Coefficient of agreement) เทากับ 0.99

Page 52: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

39

พ้ืนที่เมืองมีพ้ืนที่ 850.86 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 54.23 ของพื้นที่ พ้ืนที่สีเขียวมีพ้ืนที่

586.21 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 37.36 ของพื้นที่ พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้ามีพ้ืนที่ 60.68 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 3.86 ของพื้นที่ พ้ืนที่ดินเปดมีพ้ืนที่ 71.18 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 4.53 ของพ้ืนที่

รูปที่ 4.2 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552

แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:432)

รูปที่ 4.1 ภาพตัวอยางพื้นที่ศึกษาของ LANDSAT 5 TM (RGB:432)และผลการจําแนก วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552

Page 53: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

40

รูปที่ 4.3 แผนที่แสดงการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 19 มกราคม พ.ศ.2552

Page 54: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

41

ตารางที่ 4.1 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครที่ไดจาก LANDSAT 5 TM วันที ่19 มกราคม พ.ศ.2552

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

1 พระนคร 29.68 4.997 92.454 0.043 0.799 0.358 6.616 0.007 0.131 5.405

2 ดุสิต 29.87 10.234 89.257 0.734 6.397 0.484 4.220 0.014 0.126 11.465

3 หนองจอก 27.04 27.653 11.674 173.058 73.059 1.378 0.582 34.786 14.686 236.874

4 บางรัก 29.35 3.915 97.101 0.005 0.112 0.087 2.162 0.025 0.625 4.031

5 บางเขน 29.41 27.231 66.710 12.240 29.985 0.321 0.787 1.028 2.518 40.820

6 บางกะป 29.67 21.945 79.378 5.336 19.302 0.177 0.642 0.188 0.678 27.646

7 ปทุมวัน 29.40 7.118 88.233 0.871 10.798 0.043 0.535 0.035 0.433 8.068

8 ปอมปราบฯ 30.21 2.421 99.889 0.003 0.111 0.000 0.000 0.000 0.000 2.424

9 พระโขนง 30.30 12.120 90.708 0.975 7.297 0.250 1.871 0.016 0.123 13.362

10 มีนบุรี 28.20 24.915 40.614 31.967 52.109 0.737 1.202 3.727 6.075 61.346

11 ลาดกระบัง 27.47 40.050 31.191 78.316 60.991 0.918 0.715 9.121 7.103 128.405

12 ยานนาวา 30.03 10.510 86.825 0.241 1.990 1.285 10.619 0.068 0.565 12.105

13 สัมพันธวงศ 29.50 1.265 89.854 0.000 0.000 0.143 10.146 0.000 0.000 1.408

14 พญาไท 30.35 8.960 98.897 0.085 0.934 0.009 0.099 0.006 0.070 9.060

15 ธนบุรี 30.32 7.651 94.696 0.069 0.856 0.342 4.227 0.018 0.221 8.079

16 บางกอกใหญ 30.21 5.778 91.610 0.458 7.256 0.072 1.134 0.000 0.000 6.308

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

Page 55: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

42

ตารางที่ 4.1 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครที่ไดจาก LANDSAT 5 TM วันที ่19 มกราคม พ.ศ.2552 (ตอ)

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

17 หวยขวาง 29.87 13.989 85.254 2.387 14.546 0.014 0.088 0.018 0.113 16.409

18 คลองสาน 29.71 5.389 90.455 0.035 0.589 0.527 8.842 0.007 0.113 5.957

19 ตลิ่งชัน 28.38 23.044 64.331 12.689 35.424 0.035 0.098 0.053 0.147 35.821

20 บางกอกนอย 29.71 10.138 82.300 1.963 15.936 0.199 1.613 0.019 0.152 12.319

21 บางขุนเทียน 26.85 48.260 39.459 30.241 24.727 41.918 34.274 1.884 1.540 122.303

22 ภาษีเจริญ 29.29 15.496 81.026 3.629 18.974 0.000 0.000 0.000 0.000 19.125

23 หนองแขม 28.76 23.000 63.704 12.997 35.999 0.014 0.037 0.094 0.260 36.104

24 ราษฎรบูรณะ 29.57 9.636 75.988 2.316 18.262 0.719 5.672 0.010 0.078 12.681

25 บางพลัด 29.75 10.126 85.941 0.838 7.114 0.817 6.931 0.002 0.014 11.782

26 ดินแดง 30.76 8.530 99.885 0.008 0.097 0.000 0.000 0.001 0.017 8.539

27 บึงกุม 30.02 18.717 79.668 4.281 18.223 0.226 0.961 0.270 1.148 23.493

28 สาทร 30.27 7.384 97.782 0.080 1.061 0.083 1.096 0.005 0.062 7.552

29 บางซื่อ 30.37 11.893 91.529 0.816 6.283 0.270 2.075 0.015 0.113 12.993

30 จตุจกัร 30.17 30.246 92.924 2.158 6.629 0.069 0.213 0.076 0.234 32.549

31 บางคอแหลม 29.90 7.352 87.184 0.147 1.739 0.932 11.056 0.002 0.021 8.433

32 ประเวศ 28.67 33.904 63.146 16.858 31.398 1.472 2.741 1.458 2.715 53.691

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

Page 56: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

43

ตารางที่ 4.1 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครที่ไดจาก LANDSAT 5 TM วันที ่19 มกราคม พ.ศ.2552 (ตอ)

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

33 คลองเตย 30.34 12.355 92.211 0.146 1.088 0.858 6.400 0.040 0.300 13.398

34 สวนหลวง 29.74 20.103 83.265 3.953 16.374 0.035 0.145 0.052 0.216 24.143

35 จอมทอง 29.35 18.101 78.200 5.046 21.800 0.000 0.000 0.000 0.000 23.147

36 ดอนเมือง 30.29 28.371 77.117 7.085 19.259 0.731 1.986 0.602 1.637 36.789

37 ราชเทวี 29.94 7.019 97.931 0.119 1.655 0.001 0.013 0.029 0.402 7.168

38 ลาดพราว 30.12 17.781 85.756 2.605 12.564 0.182 0.877 0.167 0.803 20.735

39 วัฒนา 29.85 12.508 96.229 0.474 3.647 0.000 0.000 0.016 0.124 12.999

40 บางแค 28.90 34.109 71.275 13.567 28.350 0.075 0.156 0.105 0.220 47.856

41 หลักสี่ 29.83 18.423 81.151 3.929 17.309 0.160 0.706 0.189 0.834 22.702

42 สายไหม 29.08 24.572 56.568 16.711 38.471 0.248 0.572 1.907 4.389 43.438

43 คันนายาว 29.34 15.509 60.665 9.270 36.259 0.194 0.760 0.592 2.316 25.565

44 สะพานสูง 28.86 17.640 62.773 9.369 33.341 0.613 2.181 0.479 1.705 28.101

45 วังทองหลาง 30.31 16.317 93.719 1.086 6.239 0.000 0.000 0.007 0.041 17.411

46 คลองสามวา 27.73 27.819 24.338 71.921 62.920 1.980 1.733 12.584 11.009 114.304

47 บางนา 30.02 15.609 87.899 1.751 9.863 0.331 1.863 0.067 0.375 17.758

48 ทวีวัฒนา 27.87 29.396 58.409 20.060 39.858 0.086 0.170 0.787 1.564 50.328

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

Page 57: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

44

ตารางที่ 4.1 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครที่ไดจาก LANDSAT 5 TM วันที ่19 มกราคม พ.ศ.2552 (ตอ)

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

49 ทุงครุ 28.14 19.737 60.743 11.230 34.560 1.067 3.283 0.460 1.415 32.493

50 บางบอน 28.69 21.626 63.497 12.054 35.392 0.227 0.666 0.152 0.445 34.058

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

Page 58: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

45

ตารางที่ 4.2 แสดงขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 50 เขต ของกรงุเทพมหานคร ป พ.ศ. 2552 ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน

พื้นที่เมอืง พื้นที่เมอืง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

01 พระนคร 4.794183 88.702927 0.075130 1.390070 0.535451 9.907021 0.000000 0.000000 5.404763

02 ดุสิต 10.724865 93.540814 0.000000 0.000000 0.740574 6.459186 0.000000 0.000000 11.465439

03 หนองจอก 62.800542 26.743638 145.813036 62.094543 20.243625 8.620756 5.967030 2.541062 234.824234

04 บางรกั 3.910583 97.002595 0.000000 0.000000 0.120837 2.997380 0.000000 0.000000 4.031421

05 บางเขน 35.085224 85.951897 4.271352 10.463972 1.453537 3.560880 0.009491 0.023251 40.819604

06 บางกะป 24.430988 88.370206 2.307839 8.347768 0.907354 3.282023 0.000000 0.000000 27.646182

07 ปทุมวัน 7.030525 87.143425 0.935063 11.590115 0.102174 1.266448 0.000000 0.000000 8.067763

08 ปอมปราบฯ 2.390390 98.614588 0.000000 0.000000 0.033582 1.385412 0.000000 0.000000 2.423972

09 พระโขนง 12.872366 96.430546 0.150799 1.129678 0.325682 2.439776 0.000000 0.000000 13.348847

10 มีนบุรี 32.709859 53.319957 17.392083 28.350630 6.449849 10.513823 4.794581 7.815590 61.346372

11 ลาดกระบัง 50.616414 40.650347 42.814635 34.384691 20.236481 16.252040 10.849031 8.712922 124.516562

12 ยานนาวา 10.538551 87.848250 0.072777 0.606661 1.384986 11.545097 0.000000 0.000000 11.996313

13 สัมพันธวงศ 1.207680 85.760850 0.000000 0.000000 0.200515 14.239150 0.000000 0.000000 1.408195

14 พญาไท 8.992283 99.253908 0.006620 0.073069 0.060975 0.673022 0.000000 0.000000 9.059878

15 ธนบุรี 7.639898 94.560414 0.060082 0.743646 0.379404 4.695953 0.000000 0.000000 8.079383

16 บางกอกใหญ 6.081484 96.414402 0.000000 0.000000 0.226167 3.585598 0.000000 0.000000 6.307651

ลําดับ เขต

Page 59: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

46

ตารางที่ 4.2 แสดงขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 50 เขต ของกรงุเทพมหานคร ป พ.ศ. 2552 (ตอ) ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน

พื้นที่เมอืง พื้นที่เมอืง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

17 หวยขวาง 15.641605 95.323828 0.409416 2.495083 0.357893 2.181089 0.000000 0.000000 16.408914

18 คลองสาน 5.366805 90.091263 0.000000 0.000000 0.590270 9.908720 0.000000 0.000000 5.957076

19 ตลิ่งชัน 28.649919 80.074452 6.221177 17.387740 0.841048 2.350668 0.066957 0.187140 35.779101

20 บางกอกนอย 11.167293 90.651654 0.663026 5.382182 0.488589 3.966172 0.000000 0.000000 12.318907

21 บางขุนเทียน 40.048631 33.589824 18.538087 15.548373 60.641747 50.861803 0.000000 0.000000 119.228465

22 ภาษีเจรญิ 16.504016 86.294782 2.311058 12.083862 0.310087 1.621356 0.000000 0.000000 19.125161

23 หนองแขม 22.785799 63.973259 12.008731 33.715634 0.823162 2.311104 0.000000 0.000000 35.617693

24 ราษฎรบูรณะ 9.824991 80.329670 1.469110 12.011525 0.936736 7.658805 0.000000 0.000000 12.230837

25 บางพลัด 10.895600 92.646847 0.020923 0.177911 0.843833 7.175233 0.000000 0.000000 11.760357

26 ดินแดง 8.508205 99.633993 0.000000 0.000000 0.031254 0.365995 0.000000 0.000000 8.539460

27 บึงกุม 20.908427 88.998260 1.532865 6.524753 1.051781 4.476983 0.000000 0.000000 23.493074

28 สาทร 7.269106 96.257264 0.179992 2.383448 0.102651 1.359301 0.000000 0.000000 7.551748

29 บางซือ่ 12.283973 95.020178 0.014570 0.112703 0.550012 4.254506 0.079197 0.612612 12.927752

30 จตุจกัร 30.467482 93.604807 1.618388 4.972150 0.463188 1.423046 0.000000 0.000000 32.549057

31 บางคอแหลม 7.125430 84.498182 0.205332 2.434966 1.101881 13.066852 0.000000 0.000000 8.432643

32 ประเวศ 41.296319 77.457053 4.097453 7.685349 7.723220 14.485985 0.198126 0.371613 53.315118

ลําดับ เขต

Page 60: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

47

ตารางที่ 4.2 แสดงขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 50 เขต ของกรงุเทพมหานคร ป พ.ศ. 2552 (ตอ) ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน

พื้นที่เมอืง พื้นที่เมอืง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

33 คลองเตย 12.124094 90.860810 0.377764 2.831052 0.841732 6.308137 0.000000 0.000000 13.343590

34 สวนหลวง 22.788879 94.391557 0.852036 3.529134 0.502007 2.079313 0.000000 0.000000 24.142921

35 จอมทอง 20.006568 86.433568 2.868859 12.394216 0.271330 1.172216 0.000000 0.000000 23.146757

36 ดอนเมอืง 34.843564 96.673163 0.685497 1.901905 0.513583 1.424932 0.000000 0.000000 36.042644

37 ราชเทวี 7.153977 99.809017 0.000000 0.000000 0.013689 0.190983 0.000000 0.000000 7.167666

38 ลาดพราว 18.693959 90.158147 1.345677 6.489997 0.694995 3.351856 0.000000 0.000000 20.734631

39 วัฒนา 12.628614 97.153199 0.126382 0.972269 0.243663 1.874524 0.000000 0.000000 12.998660

40 บางแค 34.355677 71.789122 12.569173 26.264361 0.912651 1.907062 0.018883 0.039458 47.856383

41 หลักสี่ 21.399260 94.268556 0.899955 3.964504 0.401100 1.766936 0.000000 0.000000 22.700316

42 สายไหม 30.350608 70.764026 10.265708 23.935034 1.881668 4.387207 0.391898 0.913731 42.889883

43 คันนายาว 18.948899 74.119696 5.245327 20.517395 1.371042 5.362909 0.000000 0.000000 25.565268

44 สะพานสูง 21.664478 77.094587 4.647247 16.537559 1.789441 6.367853 0.000000 0.000000 28.101166

45 วังทองหลาง 17.132687 98.401347 0.216398 1.242879 0.061944 0.355774 0.000000 0.000000 17.411029

46 คลองสามวา 45.827556 40.340873 56.520345 49.753473 9.943910 8.753380 1.308992 1.152274 113.600803

47 บางนา 15.406804 94.538186 0.540309 3.315407 0.349797 2.146401 0.000000 0.000000 16.296911

48 ทวีวัฒนา 31.657929 63.250346 16.663795 33.293106 0.950511 1.899055 0.779553 1.557493 50.051788

ลําดับ เขต

Page 61: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

48

ตารางที่ 4.2 แสดงขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 50 เขต ของกรงุเทพมหานคร ป พ.ศ. 2552 (ตอ) ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

49 ทุงครุ 16.613359 51.647290 8.174739 25.413471 7.378854 22.939239 0.000000 0.000000 32.166952

50 บางบอน 21.232825 62.651045 10.671065 31.486784 1.986726 5.862171 0.000000 0.000000 33.890616

ลําดับ เขต

Page 62: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

49

y = 1.194x ‐ 0.863R² = 0.819

0

10

20

30

40

50

60

70

0 10 20 30 40 50 60 70

พื้นท่ีเมือง ตรกม. (LU)

พื้นทีเ่มอืง (LU)

Linear (พื้นที่เมอืง (LU))

y = 0.847x + 17.01R² = 0.889

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

คารอยละพื้นท่ีเมือง %(LU)

พื้นทีเ่มอืง %(LU)

Linear (พื้นที่เมอืง %(LU))

รูปที่ 4.4 แสดงความสัมพันธระหวางขอมูลที่ทําการจาํแนกกับขอมูลการใช ประโยชนที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ป พ.ศ.2552 

รูปที่ 4.5 แสดงความสัมพันธระหวางขอมูลที่ทําการจาํแนกกับขอมูลการใช ประโยชนที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ป พ.ศ.2552 

Page 63: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

50

ความสัมพันธระหวางขอมูลที่ทําการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 กับขอมูลการใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ.2552 บริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร ของกรมพัฒนาที่ดิน จากรูปที่ 4.4 พบวาผลจากการจําแนกมีความสอดคลองกัน จากวิธีวิเคราะหขอมูล Scatter Plot ซ่ึงไดคา R² เทากับ 0.819 และจากรูปที่ 4.5 ไดคา R² เทากับ 0.889 ซ่ึงจากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดังกลาวสะทอนถึงความสัมพันธกันมากระหวางขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM กับขอมูลการใชประโยชนที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน ซ่ึงเปนความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน แตยังมีบางเขตที่มีความสับสนจากการจําแนกจากความคลายคลึงของพ้ืนที่ตนแบบ อาธิ พ้ืนที่เมืองมีการความสับสนทําใหเกิดการปะปนระหวางกับพ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้าและพื้นที่ดินเปดของภาพถายดาวเทียมจึงมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นไดแก เขตหนองจอก เขตบางขุนเทียน เขตคลองสามวา และเขตทุงครุ 4.1.2 ผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ผลการจําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 จากภาพสีผสมเท็จ (False Color) ซ่ึงประกอบดวยชวงคลื่น 543/RGB พบวาความถูกตองโดยรวม (Overall accuracy) ของการจําแนก 97.92% และคาสัมประสิทธิ์แคปปาของความสอดคลองกัน (Kappa Coefficient of agreement) เทากับ 0.97

ซ่ึงพ้ืนที่เมืองมีพ้ืนที่ 1025.92 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 65.39 ของพื้นที่ พ้ืนที่สีเขียวมีพ้ืนที่ 382.51 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 24.38 ของพ้ืนที่ พ้ืนที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้ามีพ้ืนที่ 47.11 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 3 ของพื้นที่ พ้ืนที่ดินเปดมีพ้ืนที่ 113.33 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 7.22 ของพื้นที่ รายละเอียดจากตารางที่ 4.3

รูปที่ 4.6 ภาพตัวอยางพื้นที่ศึกษาของ LANDSAT 8 OLI (RGB:543)และผลการจําแนก วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 64: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

51

รูปที่ 4.7 ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

แสดงภาพสีผสมเท็จ (RGB:543)

รูปที่ 4.8 แผนที่แสดงการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน

2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557

Page 65: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

52

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

01 พระนคร 29.73 4.86 89.86 0.03 0.55 0.32 5.94 0.20 3.65 5.40

02 ดุสิต 29.83 10.37 90.41 0.33 2.90 0.46 4.00 0.31 2.68 11.47

03 หนองจอก 26.51 54.55 23.03 151.40 63.92 0.81 0.34 30.11 12.71 236.87

04 บางรัก 29.21 3.94 97.77 0.00 0.00 0.07 1.82 0.02 0.40 4.03

05 บางเขน 29.21 32.87 80.53 5.01 12.26 0.28 0.68 2.66 6.52 40.82

06 บางกะป 29.55 24.35 88.09 2.60 9.39 0.06 0.21 0.64 2.31 27.65

07 ปทุมวัน 29.13 7.32 90.78 0.63 7.87 0.04 0.45 0.07 0.90 8.07

08 ปอมปราบฯ 30.33 2.42 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2.42

09 พระโขนง 30.14 12.60 94.34 0.53 3.97 0.23 1.69 0.00 0.00 13.36

10 มีนบุรี 28.04 33.32 54.31 19.99 32.59 0.54 0.87 7.50 12.23 61.35

11 ลาดกระบัง 27.25 56.47 43.98 53.85 41.93 0.58 0.45 17.51 13.64 128.40

12 ยานนาวา 29.44 10.55 87.15 0.23 1.90 1.17 9.68 0.15 1.27 12.11

13 สัมพันธวงศ 29.51 1.29 91.83 0.00 0.00 0.12 8.17 0.00 0.00 1.41

14 พญาไท 29.96 8.95 99.42 0.05 0.55 0.00 0.03 0.00 0.00 9.00

15 ธนบุรี 30.39 7.63 94.48 0.06 0.71 0.32 3.96 0.07 0.85 8.08

16 บางกอกใหญ 30.39 6.02 95.49 0.21 3.34 0.07 1.17 0.00 0.00 6.31

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

ตารางที่ 4.3 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดิน และสิ่งปกคลมุดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครทีไ่ดจาก LANDSAT 8 OLI วนัที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557

Page 66: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

53

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

17 หวยขวาง 29.60 14.87 90.61 1.37 8.38 0.00 0.03 0.16 0.99 16.41

18 คลองสาน 29.65 5.44 91.29 0.03 0.42 0.49 8.28 0.00 0.00 5.96

19 ตลิ่งชัน 28.81 30.65 85.56 4.47 12.48 0.01 0.03 0.69 1.94 35.82

20 บางกอกนอย 29.80 10.93 88.74 1.15 9.33 0.19 1.55 0.05 0.37 12.32

21 บางขุนเทียน 26.57 64.00 52.33 16.47 13.47 32.95 26.94 8.88 7.26 122.30

22 ภาษีเจริญ 29.58 17.44 91.20 1.53 7.98 0.00 0.00 0.16 0.82 19.13

23 หนองแขม 28.86 28.95 80.18 6.63 18.36 0.00 0.01 0.52 1.45 36.10

24 ราษฎรบูรณะ 29.28 10.43 82.26 1.47 11.61 0.69 5.42 0.09 0.71 12.68

25 บางพลัด 29.89 10.63 90.24 0.29 2.44 0.78 6.59 0.09 0.73 11.78

26 ดินแดง 30.33 8.47 99.22 0.03 0.36 0.00 0.00 0.04 0.42 8.54

27 บึงกุม 29.74 21.53 91.64 1.47 6.24 0.09 0.40 0.40 1.72 23.49

28 สาทร 29.99 7.36 97.36 0.07 0.89 0.07 0.92 0.06 0.82 7.55

29 บางซื่อ 30.20 12.37 95.24 0.34 2.59 0.22 1.69 0.06 0.48 12.99

30 จตุจักร 29.88 31.30 96.18 0.80 2.44 0.05 0.14 0.40 1.24 32.55

31 บางคอแหลม 29.82 7.42 88.01 0.11 1.34 0.83 9.81 0.07 0.83 8.43

32 ประเวศ 28.71 42.81 79.73 6.82 12.71 1.05 1.96 3.01 5.61 53.69

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

ตารางที่ 4.3 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดิน และสิ่งปกคลมุดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครทีไ่ดจาก LANDSAT 8 OLI วนัที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 (ตอ)

Page 67: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

54

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

33 คลองเตย 29.89 12.57 93.81 0.07 0.53 0.76 5.66 0.00 0.00 13.40

34 สวนหลวง 29.70 22.03 91.27 1.76 7.29 0.00 0.00 0.35 1.45 24.14

35 จอมทอง 29.57 20.13 86.97 2.73 11.78 0.00 0.00 0.29 1.25 23.15

36 ดอนเมือง 29.79 29.66 80.63 2.87 7.80 0.39 1.06 3.87 10.52 36.79

37 ราชเทวี 29.69 7.01 97.77 0.16 2.17 0.00 0.00 0.00 0.06 7.17

38 ลาดพราว 30.01 18.85 90.93 1.14 5.50 0.15 0.70 0.59 2.87 20.73

39 วัฒนา 29.48 12.74 98.00 0.19 1.43 0.00 0.00 0.07 0.58 13.00

40 บางแค 29.15 41.22 86.14 5.32 11.11 0.04 0.08 1.28 2.67 47.86

41 หลักสี่ 29.61 20.37 89.73 1.56 6.86 0.10 0.42 0.68 2.99 22.70

42 สายไหม 28.97 33.53 77.20 7.16 16.48 0.13 0.29 2.62 6.03 43.44

43 คันนายาว 29.23 19.90 77.83 4.58 17.90 0.15 0.59 0.94 3.68 25.57

44 สะพานสูง 28.99 20.34 72.37 5.13 18.24 0.48 1.70 2.16 7.68 28.10

45 วังทองหลาง 30.13 16.89 97.03 0.46 2.66 0.00 0.00 0.05 0.30 17.41

46 คลองสามวา 27.61 44.90 39.28 49.13 42.98 1.40 1.22 18.88 16.52 114.30

47 บางนา 29.80 15.91 89.59 0.86 4.83 0.31 1.74 0.68 3.84 17.76

48 ทวีวัฒนา 28.24 37.87 75.24 9.21 18.30 0.05 0.09 3.20 6.37 50.33

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

ตารางที่ 4.3 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดิน และสิ่งปกคลมุดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครทีไ่ดจาก LANDSAT 8 OLI วนัที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 (ตอ)

Page 68: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

55

พื้นที่เมือง พื้นที่เมือง พื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว พื้นที่น้ํา พื้นที่น้ํา พื้นที่ดินเปด พื้นที่ดินเปด พื้นที่รวม

ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม. % ตรกม.

49 ทุงครุ 28.09 23.40 72.02 5.87 18.07 0.62 1.91 2.60 8.00 32.49

50 บางบอน 28.69 26.46 77.70 6.39 18.75 0.08 0.24 1.13 3.31 34.06

ลําดับ เขตอุณหภูมิเฉลี่ย

(°C)

ตารางที่ 4.3 แสดงขอมูลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิวและผลการจําแนกการใชประโยชนที่ดิน และสิ่งปกคลมุดินของ 50 เขต ของกรุงเทพมหานครทีไ่ดจาก LANDSAT 8 OLI วนัที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 (ตอ)

Page 69: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

56

ตารางที่ 4.4 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน/สิ่งปกคลุมดิน 19 มกราคม พ.ศ.2552และ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

4.2 ผลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิว จากการศึกษาโดยใชภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM แบนด 6 ชวงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 โดยนํามาวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวบริเวณพื้นที่ศึกษาคือกรุงเทพมหานคร พบวาชวงเวลาดังกลาวมีอุณหภูมิต่ําสุด 23 องศาเซลเซียสอุณหภูมิสูงสุด 37.24 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ย 29.42 องศาเซลเซียส ผลจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวพบวา เขตดินแดงเปนเขตที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 30.76 องศาเซลเซียส โดยมีสัดสวนความเปนเมือง รอยละ 99.88 และมีสวนตางของอุณหภูมิจากพื้นที่อางอิงคือเขตหนองจอก 3.71 องศาเซลเซียส และเขตบางขุนเทียนเปนเขตที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุด 26.84 องศาเซลเซียส โดยมีสัดสวนความเปนเมืองรอยละ 39.45 และมีสวนตางของอุณหภูมิจากพื้นที่อางอิงคือเขตหนองจอก -0.19 องศาเซลเซียสตามรูปที่ 4.11 จากการศึกษาโดยใชภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI แบนด 10 ชวงวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 โดยนํามาวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวบริเวณพื้นที่ศึกษาคือกรุงเทพมหานคร พบวาชวงเวลาดังกลาวมีอุณหภูมิต่ําสุด 21 องศาเซลเซียสอุณหภูมิสูงสุดอยูที่ 36 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ย 29.31 องศาเซลเซียส ผลจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวพบวา เขตบางกอกใหญเปนเขตที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 30.39 องศาเซลเซียส โดยมีสัดสวนความเปนเมือง รอยละ 95.48 และมีผลตางของอุณหภูมิจากพื้นที่อางอิงคือเขตหนองจอก 3.88 องศาเซลเซียส และเขตหนองจอกเปนเขตที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุด 26.50 องศาเซลเซียส โดยมี

สัดสวนความเปนเมืองรอยละ 23.02 และไมมีผลตางของอุณหภูมิเน่ืองจากเปนพ้ืนที่อางอิงตามรูปที่ 4.12

การใชประโยชนท่ีดิน

ส่ิงปกคลุมดิน 19 ม.ค. พ.ศ.2552 2 ก.พ. พ.ศ.2557 การเปลี่ยนแปลง 19 ม.ค. พ.ศ.2552 2 ก.พ. พ.ศ.2557 การเปล่ียนแปลง

พื้นที่เมอืง 850.86 1025.92 175.06 54.23 65.39 11.16

พื้นที่สีเขียว 586.21 382.51 -203.70 37.36 24.38 -12.98

พื้นที่ชุมน้ําและพื้นที่นํ้า 60.68 47.11 -13.57 3.86 3.00 -0.86

พื้นที่ดินเปด 71.18 113.33 42.15 4.53 7.22 2.69

การเปลี่ยนแปลงของพื้นท่ี (ตร.กม.) การเปลี่ยนแปลงของพื้นท่ี (%)

Page 70: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

57

การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน จากตารางที่ 4.3 พบวา พ้ืนที่เมืองเพ่ิมสูงขึ้นจากในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 มีขนาดพื้นที่เมือง 850.86 ตร.กม. วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 มีขนาดพื้นที่เมือง 1025.92 ตร.กม. คือมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ความเปนเมืองเพ่ิมขึ้น 175.06 ตร.กม. โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 11.16 พ้ืนที่สีเขียวจากเดิมในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 มีขนาดพื้นที่ 586.21 ตร.กม. แตในวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 มีพ้ืนที่ 382.51 ตร.กม. คือการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ลดลง 203.70 ตร.กม. โดยลดลงรอยละ 12.98 พื้นที่ชุมนํ้าและพื้นที่นํ้าจากเดิมในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 มีขนาดพื้นที่ 60.68 ตร.กม. แตในวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 มีพ้ืนที่ 47.11 ตร.กม. มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ลดลง 13.57 ตร.กม. โดยลดลงรอยละ 0.86 พ้ืนที่ดินเปดจากเดิมในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 มีขนาดพื้นที่ 71.18 ตร.กม. แตในวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 มีพ้ืนที่ 113.33 ตร.กม. มีการเปลี่ยนแปลงพ้ืนที่เพ่ิมขึ้น 42.15 ตร.กม. โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 2.69

Page 71: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

58

รูปที่ 4.9 แสดงภาพเชิงความรอน วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552

รูปที่ 4.10 แสดงภาพเชิงความรอน วันที ่2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 72: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

59

รูปที่ 4.11 แผนที่แสดงผลตางอุณหภูมิเฉลี่ยจากพื้นทีอ่างอิง วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552

รูปที่ 4.12 แผนที่แสดงผลตางอุณหภูมิเฉลี่ยจากพื้นทีอ่างอิง วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 73: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

60

y = 0.040x + 26.29R² = 0.821

26

27

27

28

28

29

29

30

30

31

31

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

อุณหภูมิ °C : 19 มกราคม 2552

สัดสวนความเปนเมือง%

Linear (สัดสวนความเปนเมอืง%)

y = 0.050x + 25.02R² = 0.836

26

27

27

28

28

29

29

30

30

31

31

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

อุณหภูมิ °C : 2 กุมภาพันธ 2557

สัดสวนความเปนเมือง %

Linear (สัดสวนความเปนเมอืง %)

รูปที่ 4.13 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่เมืองกับคาเฉลี่ย อุณหภูมิพ้ืนผิว 19 มกราคม พ.ศ.2552

รูปที่ 4.14 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่เมืองกับคาเฉลี่ย อุณหภูมิพ้ืนผิว 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 

Page 74: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

61

ความสัมพันธระหวางขอมูลที่ไดจากการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 กับผลที่ไดจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวในวันเดียวกัน บริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากรูปที่ 4.13 พบวามีความสอดคลองกัน จากวิธีวิเคราะหขอมูล Scatter Plot ซ่ึงไดคา R² เทากับ 0.821 จากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดังกลาวสะทอนถึงความสัมพันธกันมากระหวางขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM กับผลอุณหภูมิที่ไดจากการวิเคราะหภาพเชิงความรอนของ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 ซ่ึงเปนความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน โดยสะทอนใหเห็นวายิ่งพ้ืนที่บริเวณใดมีสัดสวนความเปนพ้ืนที่เมืองมากขึ้นยิ่งสงผลตออุณหภูมิที่เพ่ิมสูงขึ้น

ความสัมพันธระหวางขอมูลที่ไดจากการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 กับผลที่ไดจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวในวันเดียวกัน บริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากรูปที่ 4.14 พบวามีความสอดคลองกัน จากวิธีวิเคราะหขอมูล Scatter Plot ซ่ึงไดคา R² เทากับ 0.836 จากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดังกลาวสะทอนถึงความสัมพันธกันมากระหวางขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI กับผลอุณหภูมิที่ไดจากการวิเคราะหภาพเชิงความรอนของ วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ซ่ึงเปนความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน โดยสะทอนใหเห็นวายิ่งบริเวณพื้นใดมีสัดสวนความเปนพ้ืนที่เมืองมากขึ้นยิ่งสงผลตออุณหภูมิที่เพ่ิมสูงขึ้น โดยผลที่ไดจากวิธีวิเคราะห Scatter Plot ในวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 สะทอนถึงความสัมพันธที่สอดคลองกันระหวางสัดสวนพ้ืนที่เมืองยิ่งสงผลตออุณหภูมิที่เพ่ิมสูงขึ้นดีขึ้นจากผลการวิเคราะหในวิธีเดียวกันของวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552

Page 75: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

62

y = ‐0.042x + 30.21R² = 0.704

26

27

27

28

28

29

29

30

30

31

31

0 10 20 30 40 50 60 70 80

อุณหภูมิ °C : 19 มกราคม 2552

สัดสวนพืน้ทีส่ีเขียว %

Linear (สัดสวนพื้นที่สเีขียว %)

y = ‐0.060x + 29.93R² = 0.703

26

27

27

28

28

29

29

30

30

31

31

0 10 20 30 40 50 60 70 80

อุณหภูมิ °C : 2 กุมภาพันธ 2557

สัดสวนพืน้ทีส่ีเขียว %

Linear (สัดสวนพื้นที่สเีขียว %)

รูปที่ 4.15 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่สีเขียวกับคาเฉลี่ย อุณหภูมิพ้ืนผิว 19 มกราคม พ.ศ.2552

รูปที่ 4.16 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนพ้ืนที่สีเขียวกับคาเฉลี่ย อุณหภูมิพ้ืนผิว 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557

Page 76: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

63

ความสัมพันธระหวางขอมูลที่ไดจากการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 กับผลที่ไดจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวในวันเดียวกัน บริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากรูปที่ 4.15 พบวามีความสอดคลองกัน จากวิธีวิเคราะหขอมูล Scatter Plot ซ่ึงไดคา R² เทากับ 0.704 จากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดังกลาวสะทอนถึงความสัมพันธกันปานกลางระหวางขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 TM กับผลอุณหภูมิที่ไดจากการวิเคราะหภาพเชิงความรอนของ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 ซ่ึงเปนความสัมพันธกันในทางตรงกันขาม โดยสะทอนใหเห็นวายิ่งบริเวณพ้ืนที่ใดมีสัดสวนความเปนพ้ืนที่สีเขียวมากขึ้นยิ่งสงผลทําใหอุณหภูมิลดลง

ความสัมพันธระหวางขอมูลที่ไดจากการจําแนกการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 กับผลที่ไดจากการวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิวในวันเดียวกัน บริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากรูปที่ 4.16 พบวามีความสอดคลองกัน จากวิธีวิเคราะหขอมูล Scatter Plot ซ่ึงไดคา R² เทากับ 0.703 จากคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดังกลาวสะทอนถึงความสัมพันธกันปานกลางระหวางขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหดวยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI กับผลอุณหภูมิที่ไดจากการวิเคราะหภาพเชิงความรอนของ วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 ซ่ึงเปนความสัมพันธกันในทางตรงกันขาม โดยสะทอนใหเห็นวายิ่งบริเวณพ้ืนที่ใดมีสัดสวนความเปนพ้ืนที่สีเขียวมากขึ้นยิ่งสงผลทําใหอุณหภูมิลดลง

Page 77: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

64

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย

จากการประมาณคาอุณหภูมิพ้ืนผิวในบรเิวณกรุงเทพมหานคร โดยใชขอมูลภาพถายจากดาวเทียม LANDSAT 5 TM ขอมูลวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2552 และ LANDSAT 8 OLI ขอมูลวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ.2557 โดยทําการวิเคราะหหาความสมัพันธระหวางขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินกับวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิว สรุปผลการวิเคราะหไดดังน้ี

5.1 การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิง่ปกคลุมดินรวมกับผลการวิเคราะหอุณหภูมิพื้นผิว

ความสัมพันธระหวางขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินกับอุณหภูมิพ้ืนผิวใน

เขตกรุงเทพมหานคร โดยใชขอมูลภาพถายจากดาวเทียม LANDSAT 5 TM ขอมูลวันที่ 19

มกราคม พ.ศ.2552 พบวาเขตดินแดงมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดที่ 30.76 องศาเซลเซียส โดยมี

สัดสวนความเปนเมืองสูงสุดที่รอยละ 99.88 ซ่ึงสอดคลองกันที่วาพื้นที่ใดมีสัดสวนความเปน

เมืองมากยิ่งสงผลทําใหอุณหภูมิเพ่ิมสูงขึ้น

ความสัมพันธระหวางขอมูลการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดินกับอุณหภูมิพ้ืนผิวใน

เขตกรุงเทพมหานคร โดยใชขอมูลภาพถายจากดาวเทียม LANDSAT 8 OLI ขอมูลวันที่ 2

กุมภาพันธ พ.ศ.2557 พบวาเขตบางกอกใหญมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดที่ 30.39 องศาเซลเซียส

โดยมีสัดสวนความเปนเมืองที่รอยละ 95.49 โดยที่เขตที่มีสัดสวนความเปนเมืองมากที่สุดคือ

เขตปอมปราบศัตรูพาย โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยอยูที่ 30.33 องศาเซลเซียส ซ่ึงมีอุณหภูมิเฉลี่ย

ใกลเคียงกับเขตบางกอกใหญ ซ่ึงผลดังกลาวยังคงสอดคลองกันที่วาพื้นที่ใดมีสัดสวนความเปน

เมืองมากยิ่งสงผลทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นตาม

5.2 ขอเสนอแนะ

5.2.1 การวิเคราะหอุณหภูมิพ้ืนผิว ควรมีการสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนาม มาประกอบ

การศึกษาเนื่องมาจากการเกิดอุณหภูมิพ้ืนผิวสามารถเกิดไดจากหลายปจจัย ซ่ึงจะทําใหผลมี

ความถูกตองและนาเชื่อถือมากขึ้น

5.2.2 ควรเลือกชวงเวลาขอมูลจากการรับรูระยะไกลใหสอดคลองกับการเกิดปรากฏการณ

เกาะความรอนในพื้นที่ที่จะศึกษา

Page 78: Island in Bangkok Metropolitan · Impacts of Land Use and Land Cover Toward Surface Urban Heat Island in Bangkok Metropolitan Wisanu Kophim A thematic paper submitted in partial fulfillment

65  

เอกสารอางอิง

ภาษาไทย สมพงษ เลี่ยงโรคาพาธ. (2556). การสังเกตปรากฏการณเกาะความรอนในเขตเมืองดวย ดาวเทียม, สํานักกิจการอวกาศแหงชาต ิวันเพ็ญ เจริญตระกูลปต.ิ (2555). อิทธิพลของสิ่งปกคลุมดินที่มีผลตออุณหภูมิในบรรยากาศ ของกรุงเทพมหานคร, วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม อนุศาสน สิทธิเวช. (2554). การศึกษาลักษณะเชิงพ้ืนที่ของปญหา และปจจัยสําคัญของ การเกิดเกาะความรอนในพื้นที่เมืองเชียงใหม เอกลักษณ สลักคํา. (2553). การประยุกตใชขอมูลการรับรูระยะไกลเพื่อประมาณคา อุณหภูมิพ้ืนผิวที่ดินปรากฏการณเกาะความรอนเมือง (Urban Heat Island). ศุทธินี ดนตรี, ชาคริต โชตอิมรศักดิ์ (2552). ศึกษาความสัมพันธระหวางอุณหภูมิพ้ืนผิว และ รูปแบบการใชที่ดินจากขอมูลระยะไกล ในแองเชียงใหม-ลําพูน. ปรากฏการณเกาะรอน : กรณีศึกษา บริเวณถนนสีลม กรุงเทพมหานคร.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลยั ธรรมศาตร, 2552. สรรคใจ กลิ่นดาว (2550). การสํารวจระยะไกล : การประมวลผลภาพเชิงเลขเบือ้งตน.พิมพครั้ง ที่ 1 กรุงเทพ : สํานักพิมพเอเดียนสโตร. ทรงกต ทศานนท (2550). เอกสารประกอบการสอนวิชา 106 601 หลักการรับรูจากระยะไกล สุรภี อิงคากุล (2548). การวิเคราะหขอมูลระยะไกล : Remote Sensing.พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยอีวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) (2546 : จากหวง อวกาศสูพ้ืนแผนดินไทย ธนกฤต เทียนมณี. (2545.) ปรากฏการณเกาะความรอนกับสภาพทางกายภาพของเมือง (Urban Heat Island and Urban Physical Environment.). วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง มหาวิทยาลยัศิลปากร, กนกวรรณ โกมลวีรเกต.ุ (2541). ผลของสิ่งปกคุลมดินตอการเกิดปรากฏการณเกาะความรอน

ของเมือง ในกรุงเทพมหานคร ภาษาตางประเทศ Manat Srivanit. (2012). Assessing the Impact of Urbanization on Urban Thermal Environment : A Case Study of Bangkok Metropolitan Dr.Kanchana Nakhapakorn. (2010). Urban Heat Island in Bangkok .Remote Sensing and Gis Applicaions on Urban Heat Climate and Health