21
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา 30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท6 แผนการจัดการเรียนรู้ที3 เรื่อง อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) เวลา 4 ชั่วโมง ********************************************* 1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรูว1.2 ม.4 -6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู1. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต ในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนาเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์ ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. สาระสาคัญ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจาแนกตามหลักฐานของซากดึกดาบรรพ์ หลักฐานจากกายวิภาค เปรียบเทียบ หลักฐานจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล และความสัมพันธ์ ทางสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต มีดังนีอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ได้แก่พวกแบคทีเรียมีรูปร่าง 3 แบบคือ ทรงกลม เป็น ท่อน และเป็นเกลียว ส่วนใหญ่สร้างอาหารไม่ได้ แบคทีเรียมี 2 อาณาจักรย่อยคือ 1.อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) 1.1 กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา สามารถดารงชีวิตในน้าพุร้อน และนาที่มีความเป็นกรดสูงได้ 1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา สามารถดารงชีวิตในน้าทะเลลึกได้ 2. อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) 2.1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) บางกลุ่มสังเคราะห์ด้วยแสงได้ บางกลุ่มตรึง ไนโตรเจนได้ เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) 2.2 กลุ่มคาร์ไมเดีย (Chlamydias) เป็นปรสิต เช่น เชื่อโกโนเรีย

km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา ว30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) เวลา 4 ชั่วโมง

*********************************************

1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรู้

ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน

ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล ส ารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่างๆ

2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และน าเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

2. สาระส าคัญ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจ าแนกตามหลักฐานของซากดึกด าบรรพ์ หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ หลักฐานจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล และความสัมพันธ์ทางสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต มีดังนี้ อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ได้แก่พวกแบคทีเรียมีรูปร่าง 3 แบบคือ ทรงกลม เป็นท่อน และเป็นเกลียว ส่วนใหญ่สร้างอาหารไม่ได้ แบคทีเรียมี 2 อาณาจักรย่อยคือ 1.อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) 1.1 กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา สามารถด ารงชีวิตในน้ าพุร้อน และน้ าที่มีความเป็นกรดสูงได้ 1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา สามารถด ารงชีวิตในน้ าทะเลลึกได้ 2. อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)

2.1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) บางกลุ่มสังเคราะห์ด้วยแสงได้ บางกลุ่มตรึงไนโตรเจนได้ เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) 2.2 กลุ่มคาร์ไมเดีย (Chlamydias) เป็นปรสิต เช่น เชื่อโกโนเรีย

Page 2: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

2.3 กลุ่มสไปโรคีทหรือแบคทีเรียแกรมลบ (Spirochetes) ด ารงชีวิตแบบอิสระ เช่น เชื้อซิฟิลิส 2.4 แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) บางชนิดสร้างLactobacillus sp. ได้ ใช้ผลิตโยเกิร์ต บางชนิดสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ได้ เช่น เชื้อแอนแทรกซ์ 2.5 ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) สังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่น แอนนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอราแบ่งได้เป็น 2 ไฟลัม คือ -ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) -ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) (K) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) (P)

3. ตระหนักถึงความส าคัญของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) กับการด ารงชีวิตของมนุษย์ (A)

4. น าความรู้เรื่องอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน (A) 4. สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 3. ประโยชน์ของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 5. สมรรถนะส าคัญ 1. ความสามรถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. อยู่อย่างพอเพียง 3. มุ่งม่ันในการท างาน

Page 3: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

4. มีวินัย 7. ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน : สมุดบันทึก จัดนิทรรศการ ภาระงาน : ใบงานที่ 1 อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) รายงานประโยชน์ของ

อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมน าสู่การเรียน 1. ขั้นสร้างความสนใจ

1.1 ให้นักเรียนสังเกตภาพสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต และสายวิวัฒนาการของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)

1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงกันของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ลักษณะ รูปร่าง และการด ารงชีวิตของมอเนอรา รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นกับมนุษย์และการน าไปใช้ประโยชน์

1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งค าถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ขั้นส ารวจและค้นหา

2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและศึกษาอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการสืบค้นและศึกษาอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom

Monera) 3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการศึกษาเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด

3.3 ครูตั้งค าถามว่า - แผนภาพสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สร้างโดยใช้เกณฑ์ใด - แบคทีเรียมีลักษณะอย่างไรจึงสามารถด ารงชีวิตอยู่ได้ในน้ าทะเลที่มีสภาพร้อนจัด หนาวจัด

ความเค็มสูง และความเป็นกรดสูง

Page 4: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

- การสร้างเอนโดสปอร์ภายในเซลล์ของยูแบคทีเรีย 1 สปอร์ต่อ 1 เซลล์ จัดเป็นการสืบพันธ์หรือไม่ เพราะเหตุใด

- เพราะเหตุใดเกษตรกรจึงนิยมน าแหนแดงซึ่งมีแอนาบีนามาเลี้ยงในนาข้าว 3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นและศึกษาอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) กิจกรรมรวบยอด 4. ขัน้ขยายความรู้ 4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ไปใช้ประโยชน์

4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)

5. ขั้นประเมินผล 5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ

ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะท าอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพ่ิมเติม)

5.2 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก

เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพ่ิมเติม 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้

สื่อ 1. ใบงาน 2. แผนภาพสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

3. แผนภาพวิวัฒนาการของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 4. ใบความรู้ เรื่อง อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)

แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. ฐานข้อมูล Internet http://www. members.thai.net/krusurnkru.main.htm 3. หนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ชีววิทยา เล่ม 5

Page 5: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

10. วิธีการวัดและประเมินผล 1.) ด้านความรู้

จุดประสงค์ เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

1. K - ใบงานที่ 1 - แบบประเมินการท างานกลุ่ม

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

2. P - แบบประเมินการน าเสนองาน

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

3. A - แบบประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมินสมรรถนะ

ผ่านระดับดีข้ึนไป

11. การน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 11.1 ผู้สอนน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดการเรียนรู้ 3 ห่วง ประเด็น

พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน

เนื้อหาสาระ ก าหนดเนื้อหา ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐานตัวชี้วัด เพ่ือให้นักเรียนเกิด K : P : A สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

- จัดเตรียมเนื้อหาให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน - มีการเตรียมการสอนล่วงหน้า

กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมโดยการสืบค้นข้อมูลและน าเสนอที่เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน สอดคล้องกับเวลา งบประมาณในการท างาน

สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและชิ้นงานมีคุณภาพ พัฒนานักเรียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด

วิธีการสอนและกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์

สื่อ / วัสดุอุปกรณ์ - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน

นักเรียนได้ใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิด

- จัดสื่ออุปกรณ์ สื่อส ารองในการจัดการ

Page 6: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

องค์ความรู้ เรียนรู้ - มีวิธีการคิด ประดิษฐ์สื่ออย่างหลากหลาย

เวลา เวลาที่ก าหนดเหมาะสมกับภาระงาน / ชิ้นงานที่มอบหมาย

รูปแบบกิจกรรมส่งผลให้นักเรียนสามารถท าภาระงาน / ชิ้นงานได้ตามเวลาที่ก าหนด

ใช้เวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและเกิดความคุ้มค่า

การวัดและประเมินผล

ก าหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับภาระงาน ตัวชี้วัดและศักยภาพของนักเรียน

การวัดและประเมินผลสอดคล้อกับมาตรฐานและตัวชี้วัด สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

วางแผนติดตาม ประเมินผลการท างานของนักเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง

ความรู้ 1. ครูมีความรูในหลักสูตรและเนื้อหาสาระ 2. ครูมีความรู้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 3. ครูมีความรู้ในการใช้สื่อเทคโนโลยี

คุณธรรม 1. มีความรับผิดชอบ 2. มีความขยันหมั่นเพียรและอดทน 3. มีความพอเพียง

11.2 ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ

หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี 1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสมตามศักยภาพ 2. ใช้เวลาในการสืบค้นข้อมูลเหมาะสม 3. ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า 4. ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและประหยัด

1. วิเคราะห์อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 2. รู้จักเลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม 3. เลือกวิธีการน าเสนอข้อมูลได้เหมาะสม (เอามาจากจุดประสงค์) - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สมรรถนะ

1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสม ตามศักยภาพ 2. รู้จักการวางแผนการท างานอย่างเป็นระบบ 3. สักเรียนรู้จักการวางแผนในการใช้สื่อเทคโนโลยี

Page 7: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

ความรู้

1. ความหมายของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 3. น าความรู้เรื่องอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีในการสืบค้น / น าเสนอข้อมูล

คุณธรรม 1. รู้บทบาทและหน้าที่ของตนเอง 2. มีวินัยในการท างาน 3. ความรับผิดชอบ 4. มีความมุ่งม่ันในการท างาน 5. มีความซื่อสัตย์ 6. มีจิตสาธารณะ 7. มีเจตคติในการน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด าเนินชีวิต

11.3 ประเมินผลลัพธ์ (K : P : A) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ อยู่อย่างพอเพียง สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ

วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้

(K) - ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า

- มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี - นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ที่มีต่อสิงแวดล้อม

-

ทักษะ (P)

- มีกระบวนการในการสืบค้น น าเสนอข้อมูล - เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม

- มีทักษะในการท างาน / สืบค้น - มีความสามารถในการน าความรู้ไปร่วมกันแก้ปัญหา

- ใช้ประโยชน์จากอาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ในสิ่งแวดล้อมอย่างระมัดระวังและคุ้มค่า

ด ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

Page 8: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

ค่านิยม (A)

- ตระหนักถึงผลที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยี - ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

- มีความรับผิดชอบต่อการท างานของกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน - มีความเสียสละ อดทน - เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน

การใช้แหล่งเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 9: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

แบบบันทึกผลหลังสอน

ผลการจัดการเรียนรู้

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ การมีส่วนร่วม ปัญหา / อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

ปัญหา / อุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

Page 10: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

ประมวลผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ด้านความรู้

นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านคุณลักษณะอันพังประสงค์ นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... ลงชื่อ…………….……………….…………………..ผู้สอน (นางสาวพจนีย์ เคยสนิท) …………/……………./………… ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................. .................................................

.............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นางสาวกรวรรณ งามสม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Page 11: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

ความคิดเห็นของรองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากท่ีสุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................................................. ................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายนันธชัย แย้มโสพิศ) รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อ านวยการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................. .................................................

......................................................................................................................................................... ..................... ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายวินัย กรานมูล) ผู้อ านวยการโรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา

Page 12: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

ใบความรู้เรื่อง อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)

ลักษณะส าคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา

โครงสร้างของแบคทีเรีย 1. เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กประมาณ 1- 5 ไมโครเมตร โครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน 2. ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรมและโครงสร้างอื่นหลายชนิด เช่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม คือ ไรโบโซม 3. แบคทีเรียที่พบส่วนใหญ่ เซลล์เดียวหรืออาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นสาย เช่น

3.1 ทรงกลม

Page 13: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

3.2 ทรงท่อน

3.3 ทรงเกลียว

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้มีความส าคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ กล่าวคือ 1. "กลุ่มแบคทีเรีย" ท าหน้าที่เป็นผู้ย่อยอินทรีย์สารก่อให้เกิดการหมุนเวียนสารอนินทรีย์และอินทรีย์สารต่างๆ 2. "สาหร่ายสีเขียวแกมน้ าเงิน" ท าหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิต 2 กลุ่มนี้ยังมีความส าคัญในแง่เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพ่ิมมากขึ้น เพ่ือน าไปใช้ประโยชน์ในด้านการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษาพันธุศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึ้น กลุ่มอาณาจักรมอเนอรา เป็นออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) และ อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) 1. อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) เป็นแบคทีเรียที่ผนังเซลล์ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน สามารถด ารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มอ่ืนอาจไม่สามารถด ารงอยู่ได้ เช่น ในแหล่งน้ าพุร้อน ทะเลที่มีน้ าเค็มจัด ในบริเวณท่ีมีความเป็นกรดสูงและ

Page 14: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

บริเวณทะเลลึกเป็นต้น แบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มครีนาร์เคียโอตา ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด กลุ่มครีนาร์เคียโอตา

2.อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั้งในดิน น้ า อากาศ อาหาร นม และในร่างกายของสิ่งมีชีวิตอ่ืน สามารถพบได้ทั้ง ในน้ าเค็ม น้ าจืด น้ ากร่อย ในธารน้ าแข็ง หรือแม้กระทั่งแหล่งน้ าพุร้อน เป็นต้น นอกจากนี้ยูแบคทีเรียมีกระบวนการเมแทบอลิซึมในการด ารงชีวิตที่หลากหลาย จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทส าคัญต่อระบบนิเวศ ยูแบคทีเรียแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆดังนี้ 2.1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่หลากหลายบางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืชบางกลุ่มสามารถด ารงชีวืตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และให้ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfur bacteria) บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น

Page 15: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

2.2 กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และท าให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น

2.3 กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว มีความยาวประมาณ 0.25 มิลลิเมตร ยูแบคทีเรียในกลุ่มนี้มีทั้งด ารงชีวิตแบบอิสระและบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของ โรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู เป็นต้น

2.4 แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) เป็นยูแบคทีเรียที่พบแพร่กระจายทั่วไปในดิน อากาศ บางสปีชีส์สามารถผลิตกรดแลกติกได้ เช่น Lactobacillus sp. จึงน ามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การท าเนย ผักดอง และโยเกิร์ต เป็นต้น บางสปีชีส์ เช่น Streptomyces sp. ใช้ยาท าปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บ โตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน เป็นต้น ยูแบคทีเรียกลุ่มนี้บางสปีชีส์ เช่น Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ท าให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดีและบางชนิดเป็นสาเหตุท าให้เกิดโรคแอนแทรกซ์ ยูแบคทีเรียแกรมบวกอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มที่ไม่มีผนังเซลล์มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมันได้แก่ ไมโคพลาสมา (mycoplasms) เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 0.2-0.3 ไมโครเมตร สามารถเจริญและสืบพันธุ์ได้นอกเซลล์โฮสต์ ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอ่ืน แต่มีบางสปีชีส์ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว

Page 16: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

2.5 ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีสารสีเช่น คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และโฟโคบิลินอยู่ภายในถุงแบนๆที่มีเยื่อหุ้มเซลล์ พบแพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทั้งในแหล่งน้ าจืด น้ าเค็ม บางสปีชีส์พบในบ่อน้ าพุร้อน และภายใต้น้ าแข็งของมหาสมุทร เป็นต้น จากหลักฐานซากดึกด าบรรพ์ท าให้นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได้ว่าไซยาโนแบคทีเรียท าให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพ่ิมข้ึน มากขึ้นในโลกยุคนั้นและก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน

ไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่ส าคัญในระบบนิเวศและบางชนิดสามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรต เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria)

Anabaena Nostoc

Page 17: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

Oscillatoria

แบคทีเรียมีบทบาทส าคัญอย่างยิ่งในระบบนิเวศ เนื่องจากมีการด ารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลายจึงท าให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ มีการน าแบคทีเรียมาใช้ก าจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญ่ ใช้สลายคราบน้ ามันบริเวณชายฝั่งและบริเวณทะเล รวมทั้งก าจัดสารเคมีที่ตกค้างจากการเกษตรอีกด้วย นอกจากนี้อาร์เคียแบคทีเรียบางกลุ่มสามารถสลายกากของแข็งจากขยะให้เป็นปุ๋ยซึ่งสามารถน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป ในด้านการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศพบว่าแบคทีเรียหลายกลุ่มที่สามารถตรึงไนโตรเจน เช่น แบคทีเรียในกลุ่มไรโซเบียม อะโซโตแบคเตอร์และไซยาโนแบคทีเรียทางด้านอุตสาหกรรมได้น ายูแบคทีเรียมาใช้ในการผลิตสารเคมี เช่น แอซีโตน กรดแลคติก ยาปฏิชีวนะหลายชนิดและผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้ าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยวและเนยแข็งเป็นต้น ยูแบคทีเรียเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิดที่พบในคนและสิ่งมีชีวิตอ่ืน เช่น โรคปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู และ โรคแอนแทรกซ์ เป็นต้น ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอราแบ่งได้เป็น 2 ไฟลัม คือ -ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) -ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) 1.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมน้ าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่า Cyanobacteria ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยาโนไฟตา คือ 1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella 2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็น chloroplast 3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin 4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ 4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม 4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย

Page 18: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

การสืบพันธุ์ 1. การแบ่งตัว Binary fission. 2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย 3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เช่น akinete ประโยชน์ - เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2 - Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช้ท าอาหารเสริมคนและสัตว์ - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพ่ิมความตรึง N ท าเป็นปุ๋ยในดิน เช่น แหนแดง (Azolla) ซ่ึง Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ 2.ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้ได้แก่ แบคทีเรีย ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดา คือ 1. มีเซลล์ขนาดเล็ก 2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ 2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์) 2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหูพจน์) 2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหูพจน์) 3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวท าให้เกิดลักษณะเฉพาะ เช่น แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลมมีการเรียงตัวหลายแบบ - เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก staphylococci - เซลล ์8 เซลล์ เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่าทรงกลม แต่อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับสภาพของการเพาะเลี้ยงในอาหาร แบคทีเรียทีมี่รูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความยาว จ านวนเกลียว ความโค้ง 4. แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในน้ า ในอากาศ แหล่งที่เป็นน้ าพุร้อน เขตหิมะ ทะเลลึก 5. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการสารอาหาร 5.1 Photoautotroph 5.2 Photoheterotroph 5.4 Chemoheterotroph 6. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอากาศ

Page 19: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

6.1 Aerobic bacteria 6.2 Facultative bacteria 6.3 microaerophilic bacteria 6.4 Anaerobicbacteria 7. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอุณหภูมิ 7.1 Psychrophile 7.2 Mesophile 7.3 Thermophile โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อ่ืน ๆ 1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA) 2. ผนังเซลล์ (cell wall) ท าหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ป้องกันเซลล์แตกประกอบด้วย peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยน้ าตาล 2 ชนิด คือN-actyl glucosamine (NAG) และN-acytyl muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และ lipoprotein lipopolysac teichoic acid 3. Capsule เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อการท าลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง 4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการเคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation 5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm จะพบบริเวณ ที่จะมี การแบ่งเซลล์ 6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้ แฟลกเจลลาประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจลลา 1 เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายต าแหน่ง ส่วนของแฟลกเจลลา ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ basal body , hook และ filament 7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพลาสมิดเป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่ สามารถจ าลองตัวเองได้และสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ พลาสมิดมีหลายชนิด บางชนิดควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บางชนิดควบคุมการดื้อต่อยาปฏิชีวนะต่าง ๆ 8. endospore เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิด เป็นโครงสร้างที่ท าให้แบคทีเรียมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ เอนโดสปอร์เกิดขึ้นภายในเซลล์และสร้างได้ 1 สปอร์ต่อ 1 เซลล์จะไม่ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ แต่ถือว่าเป็นการด ารงชีพ การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศท่ีเรียกว่า Transverse Binary Fission บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้ 3 รูปแบบคือ

Page 20: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งด้วยการจับคู่สัมผัสกันโดยตรง 2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง 3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดยอาศัยไวรัสหรือ Bacteriophage การจ าแนก Bacteria ลักษณะดังนี้ 1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง 2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น 2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้ 2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้ 3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น 3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต 3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน 4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O2 5. ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ : อาหาร สภาพแวดล้อม 6. ลักษณะทางแอนติเจน ประโยชน์ของแบคทีเรีย 1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง 2. ด้านการเกษตร เช่นใช้เป็นปุ๋ย 3. การทดสอบคุณภาพน้ า 4. ทางด้านการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ 5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะต่าง ๆ 6. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช โทษของแบคทีเรีย 1. ผลิตสารพิษท่ีเป็นอันตราย 2. ท าให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์ เช่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่

Page 21: km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180412.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ

ใบงานที่ 1

ชื่อ...................................................................................……………. เลขที่.................. ชั้น............... ชื่อหน่วยการเรียนรู้ .............................................................. ชื่อเรื่อง ...........................................................

1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูก าหนดร่วมกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. แต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการศึกษาเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. แผนภาพสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สร้างโดยใช้เกณฑ์ใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. แบคทีเรียมีลักษณะอย่างไรจึงสามารถด ารงชีวิตอยู่ได้ในน้ าทะเลที่มีสภาพร้อนจัด หนาวจัด ความเค็มสูง และความเป็นกรดสูง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. การสร้างเอนโดสปอร์ภายในเซลล์ของยูแบคทีเรีย 1 สปอร์ต่อ 1 เซลล์ จัดเป็นการสืบพันธ์ หรือไม่ เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. เพราะเหตุใดเกษตรกรจึงนิยมน าแหนแดงซึ่งมีแอนาบีนามาเลี้ยงในนาข้าว ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตกลุ่มอ่ืนอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 8. แนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรมอเนอราไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 9. สรุปเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักรมอเนอรา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..