17
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา 30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท6 แผนการจัดการเรียนรู้ที5 เรื่ออาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) เวลา 4 ชั่วโมง ********************************************* 1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรูว1.2 ม.4 -6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู1. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนาเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. สาระสาคัญ อาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) พืชประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ผนังเซลล์ประกอบด้วย เซลลูโลสมีคลอโรฟิลล์อยู่ในคลอโรพลาสต์สามารถสร้างอาหาร ได้เองโดยใช้พลังงานแสงสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร พืชแบ่งออกเป็นดิวิชั่นต่างๆ ดังนี1. DIVISION BRYOPHYTA พืชที่ไม่มีระบบท่อลาเลียง ได้แก่ มอส และ ลิเวอร์เวิร์ต 2. DIVISION PSILOPHYTA หวายทะเล (PSILOTUM) 3. DIVISION LYCOPHYTA ช้องนางคลี่ และ ตีนตุ๊กแก 4. DIVISION SPHENOPHTYA หญ้าถอดปล้อง หรือ หญ้าหางม้า 5. DIVISION PTEROPHYTA เฟิร์น เช่น แหนแดง จอกหูหนู ชายผ้าสีดา ย่านลิเภา เฟิร์นใบมะขาม 6. DIVISION CONIFEROPHYTA สน เช่น สนสองใบ สนสามใบ 7. DIVISION CYCADOPHYTA เช่น ปรง 8. DIVISION GINKGOPHYTA เช่นแปะก๊วย (Ginkgo biloba)

(PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา ว30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง อาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM)

เวลา 4 ชั่วโมง *********************************************

1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรู้

ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน

ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล ส ารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของ

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และน าเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

2. สาระส าคัญ อาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) พืชประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสมีคลอโรฟิลล์อยู่ในคลอโรพลาสต์สามารถสร้างอาหาร ได้เองโดยใช้พลังงานแสงสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืชแบ่งออกเป็นดิวิชั่นต่างๆ ดังนี้ 1. DIVISION BRYOPHYTA พืชที่ไม่มีระบบท่อล าเลียง ได้แก่ มอส และ ลิเวอร์เวิร์ต 2. DIVISION PSILOPHYTA หวายทะเล (PSILOTUM) 3. DIVISION LYCOPHYTA ชอ้งนางคลี่ และ ตีนตุ๊กแก 4. DIVISION SPHENOPHTYA หญ้าถอดปล้อง หรือ หญ้าหางม้า 5. DIVISION PTEROPHYTA เฟิร์น เช่น แหนแดง จอกหูหนู ชายผ้าสีดา ย่านลิเภา เฟิร์นใบมะขาม 6. DIVISION CONIFEROPHYTA สน เช่น สนสองใบ สนสามใบ 7. DIVISION CYCADOPHYTA เช่น ปรง 8. DIVISION GINKGOPHYTA เช่นแปะก๊วย (Ginkgo biloba)

Page 2: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

9. DIVISION ANTHOPHYTA พืชมีดอก (ANGIOSPERM) มีมากกว่า พืชอื่นๆ รวมกันทั้งหมด เป็นพวกท่ีมีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ เมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้ม และมีการปฏิสนธิซ้อน แบ่งได้ดังนี้ - SUBDIVISION MONOCOTYLEDONAE พืชใบเลี้ยงใบเดี่ยวเส้นของใบเรียงขนานกัน จ านวนกลีบดอกเป็น3 หรือ ทวีคูณของ 3การจัดเรียงท่อน้ าอาหารในล าต้น กระจัดกระจาย ไม่เป็นระเบียบ เช่น มะพร้าว อ้อย - SUBDIVISION DICOTYLDONAE พืชใบเลี้ยงคู่มีใบเลี้ยงสองใบเส้นของใบสานกันเป็นร่างแห จ านวนกลีบดอกเป็น 4 หรือ 5 หรือจ านวนที่เป็นทวีคูณของ 4 หรือ 5 การจัดเรียงท่อน้ าท่ออาหารเป็นระเบียบโดยมีท่ออาหารอยู่ภายนอก ท่อน้ าอยู่ภายใน เช่น ถั่ว กุหลาบ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นและอธิบาย อภิปรายเกี่ยวกับอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) (K) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) (P)

3. ตระหนักถึงความส าคัญของอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) กับการด ารงชีวิตของมนุษย์ (A) 4. น าความรู้เรื่องอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน (A)

4. สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) 3. ประโยชน์ของอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) 5. สมรรถนะส าคัญ 1. ความสามรถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. อยู่อย่างพอเพียง 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีวินัย

Page 3: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

7. ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน : สมุดบันทึก จัดนิทรรศการ ภาระงาน : ใบงานที่ 1 อาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) รายงานอาณาจักรพืช

(PLANT KINGDOM) 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมน าสู่การเรียน 1. ขั้นสร้างความสนใจ

1.1 ให้นักเรียนสังเกตภาพสายวิวัฒนาการของพืช(PLANT KINGDOM) 1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM)

ร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของพืช รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นกับมนุษย์และการน าไปใช้ประโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งค าถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอาณาจักรพืช(PLANT KINGDOM) กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ขั้นส ารวจและค้นหา

2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความ

หลากหลายของพืช(PLANT KINGDOM) 2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิตและความ

หลากหลายของพืช(PLANT KINGDOM) 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป

3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของพืช(PLANT KINGDOM) 3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด

3.3 ครูตั้งค าถามว่า - พืชน่าจะมีบรรพบุรุษร่วมกับสาหร่ายชนิดใด - พืชมีการปรับตัวในการด ารงชีวิตบนพื้นดินได้อย่างไร - เมื่อพืชมาด ารงชีวิตบนบกมีข้อได้เปรียบบรรพบุรุษท่ีอาศัยอยู่ในน้ าอย่างไร - พืชมีลักษณะร่วมอย่างไรบ้าง - พืชมีการสร้างสปอร์ด้วยกระบวนการแบ่งเซลล์แบบใด และสปอร์ที่ได้มีจ านวนโครโมโซมก่ี

ชุด

Page 4: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

- ระยะแกมีโทไฟต์ของพืชมีการสร้างเซลล์สืบพันธ์โดยการแบ่งเซลล์แบบใด - จากภาพ เปรียบเทียบระยะสปอโรไฟต์ (sporophyte generation) และระยะแกมีโทไฟต์(gametophyte generation) ของพืชทั้ง 4 กลุ่ม นักเรียนจะสรุปได้อย่างไร - ส่วนที่คล้ายล าต้น คล้ายราก และคล้ายใบ ของมอส (moss) และลิเวอร์เวิร์ท แตกต่างจากราก ล าต้น และใบของพืชอ่ืนอย่างไร - เราจะพบมอส (moss) และลิเวอร์เวิร์ทในสภาพแวดล้อมแบบใด เพราะเหตุใด - เพราะเหตุใดพืชกลุ่มไม่มีเนื้อเยื่อล าเลียงจึงมีขนาดเล็ก - เฟินและพืชกลุ่มท่ีใกล้เคียงมีลักษณะใดที่แสดงถึงการเกิดวิวัฒนาการทางด้านการสืบพันธ์เพ่ือด ารงชีวิตอยู่บนพื้นดิน - เฟินแต่ละชนิดมีการจัดเรียงตัวของอับสปอร์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร - เพราะเหตุใดพืชมีเนื้อเยื่อล าเลียงที่มีเมล็ด เฟิน และพืชกลุ่มใกล้เคียง ยังคงมีการแพร่กระจายพันธ์ตั้งแต่ 200 ล้านปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน - ลักษณะของพืชดอกมีลักษณะที่ได้เปรียบกว่าพืชเมล็ดเปลือยอย่างไร - เหตุใดความหลากหลายของพืชในท้องถิ่นจึงลดลง - เมื่อพืชมีความหลากหลายลดลงจะส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง

3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของพืช กิจกรรมรวบยอด 4. ขั้นขยายความรู้ 4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอแนวคิดในการท าให้พืชในท้องถิ่นมีความหลากหลาย

4.2 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับอาณาจักร พืช (PLANT KINGDOM)

4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) ไปใช้ประโยชน์ 4.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) 5. ขั้นประเมินผล

5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะท าอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพ่ิมเติม)

5.2 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก

Page 5: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพ่ิมเติม 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้

สื่อ 1. ใบงาน 2. ใบความรู้ เรื่อง อาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) 3. แผนภาพสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

4. แผนภาพวิวัฒนาการของพืช 5. Power Point อาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM)

วัสดุอุปกรณ์ 1. ต้นมอส หรือ ลิเวอร์เวิร์ต ต้นเฟิร์น 2. แว่นขยาย 3. ปากคีบ 4. เข็มเขี่ย แหล่งเรียนรู้

1. ห้องสมุด 2. ฐานข้อมูล Internet http://www. members.thai.net/krusurnkru.main.htm 3. หนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ชีววิทยา เล่ม 5 4. ชุมชน

10. วิธีการวัดและประเมินผล 1.) ด้านความรู้

จุดประสงค์ เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

1. K - ใบงานที่ 1 - แบบประเมินการท างานกลุ่ม

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

2. P - แบบประเมินการน าเสนองาน

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

3. A - แบบประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมินสมรรถนะ

ผ่านระดับดีข้ึนไป

Page 6: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

11. การน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 11.1 ผู้สอนน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดการเรียนรู้ 3 ห่วง ประเด็น

พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน

เนื้อหาสาระ ก าหนดเนื้อหา ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐานตัวชี้วัด เพ่ือให้นักเรียนเกิด K : P : A สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

- จัดเตรียมเนื้อหาให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน - มีการเตรียมการสอนล่วงหน้า

กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมโดยการสืบค้นข้อมูลและน าเสนอที่เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน สอดคล้องกับเวลา งบประมาณในการท างาน

สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและชิ้นงานมีคุณภาพ พัฒนานักเรียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด

วิธีการสอนและกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์

สื่อ / วัสดุอุปกรณ์ - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน

นักเรียนได้ใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้

- จัดสื่ออุปกรณ์ สื่อส ารองในการจัดการเรียนรู้ - มีวิธีการคิด ประดิษฐ์สื่ออย่างหลากหลาย

เวลา เวลาที่ก าหนดเหมาะสมกับภาระงาน / ชิ้นงานที่มอบหมาย

รูปแบบกิจกรรมส่งผลให้นักเรียนสามารถท าภาระงาน / ชิ้นงานได้ตามเวลาที่ก าหนด

ใช้เวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและเกิดความคุ้มค่า

การวัดและประเมินผล

ก าหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับภาระงาน ตัวชี้วัดและศักยภาพของนักเรียน

การวัดและประเมินผลสอดคล้อกับมาตรฐานและตัวชี้วัด สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

วางแผนติดตาม ประเมินผลการท างานของนักเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง

Page 7: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

3 ห่วง ประเด็น

พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน

ความรู้ 1. ครูมีความรูในหลักสูตรและเนื้อหาสาระ 2. ครูมีความรู้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 3. ครูมีความรู้ในการใช้สื่อเทคโนโลยี

คุณธรรม 1. มีความรับผิดชอบ 2. มีความขยันหมั่นเพียรและอดทน 3. มีความพอเพียง

11.2 ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ

หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี 1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสมตามศักยภาพ 2. ใช้เวลาในการสืบค้นข้อมูลเหมาะสม 3. ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า 4. ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและประหยัด

1. วิเคราะห์อาณาจักพืช (PLANT KINGDOM) 2. รู้จักเลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม 3. เลือกวิธีการน าเสนอข้อมูลได้เหมาะสม (เอามาจากจุดประสงค์) - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สมรรถนะ

1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสม ตามศักยภาพ 2. รู้จักการวางแผนการท างานอย่างเป็นระบบ 3. สักเรียนรู้จักการวางแผนในการใช้สื่อเทคโนโลยี

ความรู้

1. ความหมายของอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) 3. น าความรู้เรื่องอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีในการสืบค้น / น าเสนอข้อมูล

คุณธรรม

1. รู้บทบาทและหน้าที่ของตนเอง 2. มีวินัยในการท างาน

Page 8: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

3. ความรับผิดชอบ 4. มีความมุ่งม่ันในการท างาน 5. มีความซือ่สัตย์ 6. มีจิตสาธารณะ 7. มีเจตคติในการน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด าเนินชีวิต

11.3 ประเมินผลลัพธ์ (K : P : A) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ อยู่อย่างพอเพียง สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ

วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้

(K) - ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า

- มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี - นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรพืชที่มีต่อสิงแวดล้อม

-

ทักษะ (P)

- มีกระบวนการในการสืบค้น น าเสนอข้อมูล - เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม

- มีทักษะในการท างาน / สืบค้น - มีความสามารถในการน าความรู้ไปร่วมกันแก้ปัญหา

- ใช้ประโยชน์จากอาณาจักรพืช (PLANT KINGDOM) ในสิ่งแวดล้อมอย่างระมัดระวังและคุ้มค่า

ด ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

ค่านิยม (A)

- ตระหนักถึงผลที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยี - ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

- มีความรับผิดชอบต่อการท างานของกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน - มีความเสียสละ อดทน - เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน

การใช้แหล่งเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 9: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

แบบบันทึกผลหลังสอน

ผลการจัดการเรียนรู้

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ การมีส่วนร่วม ปัญหา / อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

ปัญหา / อุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

Page 10: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

ประมวลผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ด้านความรู้

นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดบัพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านคุณลักษณะอันพังประสงค์ นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... ลงชื่อ…………….……………….…………………..ผู้สอน (นางสาวพจนีย์ เคยสนิท) …………/……………./………… ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

......................................................................... .....................................................................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นางสาวกรวรรณ งามสม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Page 11: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

ความคิดเห็นของรองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายนันธชัย แย้มโสพิศ) รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อ านวยการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................................................................................. .

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายวินัย กรานมูล) ผู้อ านวยการโรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา

Page 12: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

ใบความรู้ เรื่อง อาณาจักรพืช (Plant Kingdom)

อาณาจักรพืช (Plant Kingdom) พืชเป็นสิ่งมีชวิีตที่มีก าเนิดขึ้นมาแล้วไม่ต่ ากว่า 400 ล้านปี มีหลักฐานหลายอย่างท่ีท าให้เชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจาก สาหร่ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยู่ในน้ าขึ้นมาอยู่บนบก ด้วยการสร้างคุณสมบัติต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมขึ้นมา เช่นมีการสร้างคิวติน (cutin) ขึ้นมาปกคลุมผิวของล าต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล (cuticle) เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ า และการเกิด สโทมาตา (stomata) เพื่อท าหน้าที่ระบายน้ าและแลกเปลี่ยนก๊าซ เป็นต้น อาณาจักรพืชแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ - พืชไม่มีท่อล าเลียง ได้แก่ Division Bryophyta - พืชท่ีมีท่อล าเลียง ได้แก ่Division Psilophyta , Division Lycophyta , Division Sphenophyta , Division Pterophyta , Division Coniferophyta , Division Cycadophyta , Division Ginkophyta , Division Gnetophyta , Division Anthophyta สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 10 ดิวิช่ัน คือ 1. Division Bryophyta พืชที่ไม่มีระบบท่อล าเลียง มีขนาดเล็ก ได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวิร์ด

2. Division Psilophyta พืชที่มีท่อล าเลียงชั้นต่ า ไม่มีใบและรากท่ีแท้จริง ได้แก่ หวายทะนอย (Psilotum)

Page 13: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

3. Division Lycophyta พืชที่มีท่อล าเลียงที่มีล าต้น ใบ และรากที่แท้จริงแต่ยังมีใบขนาดเล็ก ได้แก่ ช้องนางคลี่ ( Lycopodium ) และ ตีนตุ๊กแก ( Sellaginella )

4. Division Sphenophyta พืชที่มีท่อล าเลียง ล าต้นลักษณะเป็นข้อและปล้อง มีการสร้างสปอร์ ได้แก่ สนหางม้าหรือ หญ้าถอดปล้อง ( Equisetum )

5. Division Pterophyta พืชที่มีท่อล าเลียง มีหลายชนิดแตกต่างกัน ได้แก่ เฟิร์น( Fern ) แหนแดง( Azolla )และจอกหูหนู ( Salvinia )

6. Division Coniferophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ได้แก่ พวกสน ( Pinus ) เช่น สนสองใบและสนสามใบ

Page 14: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

7. Division Cycadophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ ปรง ( Cycad )

8. Division Ginkgophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ แปะก๊วย (Ginkgo biloba )

9. Division Gnetophyta พืชที่สร้างเมล็ดเปือย ได้แก่ มะเมื่อย (Gnetum)

10. Division Anthophyta พืชที่สร้างเมล็ดมีสิ่งห่อหุ้ม ถือว่ามีวิวัฒนาการสูงสุด พบมากที่สุด ได้แก่ พืชดอก (Flowering plant)

Page 15: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

ใบงานที่ 1

ชื่อ...................................................................................……………. เลขที่.................. ชั้น............... ชื่อหน่วยการเรียนรู้ .............................................................. ชื่อเรื่อง ...........................................................

1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูก าหนดร่วมกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. แต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. พืชน่าจะมีบรรพบุรุษร่วมกับสาหร่ายชนิดใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. พืชมีการปรับตัวในการด ารงชีวิตบนพื้นดินได้อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. เมื่อพืชมาด ารงชีวิตบนบกมีข้อได้เปรียบบรรพบุรุษที่อาศัยอยู่ในน้ าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. พืชมีลักษณะร่วมอย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. พืชมีการสร้างสปอร์ด้วยกระบวนการแบ่งเซลล์แบบใด และสปอร์ที่ได้มีจ านวนโครโมโซมก่ีชุด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 8. ระยะแกมีโทไฟต์ของพืชมีการสร้างเซลล์สืบพันธ์โดยการแบ่งเซลล์แบบใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 9. จากภาพ 20.39 จากการเปรียบเทียบระยะสปอโรไฟต์และระยะแกมีโทไฟต์ของพืชทั้ง 4 กลุ่ม นักเรียนจะสรุปได้อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 16: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10. ส่วนที่คล้ายล าต้น คล้ายราก และคล้ายใบ ของมอสและลิเวอร์เวิร์ท แตกต่างจากราก ล าต้น และใบของพืชอ่ืนอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11. เราจะพบมอสและลิเวอร์เวิร์ทในสภาพแวดล้อมแบบใด เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 12. เพราะเหตุใดพืชกลุ่มไม่มีเนื้อเยื่อล าเลียงจึงมีขนาดเล็ก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 13. เฟินและพืชกลุ่มที่ใกล้เคียงมีลักษณะใดที่แสดงถึงการเกิดวิวัฒนาการทางด้านการสืบพันธ์ เพ่ือด ารงชีวิตอยู่บนพื้นดิน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 14. จากการทดลอง เฟินแต่ละชนิดมีการจัดเรียงตัวของอับสปอร์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 15. เพราะเหตุใดพืชมีเนื้อเยื่อล าเลียงที่มีเมล็ด เฟิน และพืชกลุ่มใกล้เคียง ยังคงมีการแพร่กระจายพันธ์ตั้งแต่ 200 ล้านปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 16. ลักษณะของพืชดอกมีลักษณะที่ได้เปรียบกว่าพืชเมล็ดเปลือยอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 17. เหตุใดความหลากหลายของพืชในท้องถิ่นจึงลดลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 18. เมือ่พืชมีความหลากหลายลดลงจะส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 19. แนวคิดในการท าให้พืชในท้องถิ่นมีความหลากหลาย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 17: (PLANT KINGDOM) 4 - km.saard.ac.thkm.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180439.pdf · ว1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษย์และ

20. จงเติมเครื่องหมายถูกลงในตารางข้างล่างนี้ให้ตรงกับลักษณะของพืชนั้น ๆ ชนิดของพืช รากล าต้นที่แท้จริง เนื้อเยื่อล าเลียง เมล็ด ดอก มอส หวายทะนอย ปรง กระบองเพชร

21. แต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรพืชไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 22. แต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักรพืช ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..