13
เอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย (ระบบ e-Meeting) เผยแพร่บนระบบบริการสารสนเทศ มสธ. ( http://eservice.stou.ac.th ) 1. การประชุมสภามหาวิทยาลัย http://eservice.stou.ac.th/Sapa/eUniversity1/Login.aspx 2. การประชุมสภาวิชาการ http://eservice.stou.ac.th/Sapa/eAcSenate1/Login.aspx

eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 1

ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย (ระบบ e-Meeting) เผยแพร่บนระบบบริการสารสนเทศ มสธ.

( http://eservice.stou.ac.th )

1. การประชุมสภามหาวิทยาลัย http://eservice.stou.ac.th/Sapa/eUniversity1/Login.aspx

2. การประชุมสภาวิชาการ http://eservice.stou.ac.th/Sapa/eAcSenate1/Login.aspx

Page 2: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 1

3. การประชุมผู้บริหารมหาวิทยาลัย http://eservice.stou.ac.th/Sapa/eAdministrators1/Login.aspx

4. การประชุมคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา http://eservice.stou.ac.th/Sapa/eGraduates1/Login.aspx

Page 3: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 1

5. การประชุม ก.พ.อ มสธ. http://eservice.stou.ac.th/Sapa/ePersonal1/Login.aspx

Page 4: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2 แบบส ำรวจควำมพึงพอใจของบุคลำกร มสธ. ที่มีต่อกำรให้บริกำร :

ระบบกำรประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting) มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช

ค ำชี้แจง จัดท าขึ้นเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร มสธ. ทุกหน่วยงานท่ีมีต่อการให้บริการระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting) เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงระบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนตอ่ไป แบบส ำรวจแบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที ่1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที ่2 ความพึงพอใจต่อการให้บริการข้อมลูของระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting)

ค ำชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย ในช่อง หน้าข้อความที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงของท่าน ตอนที ่1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม

1. เพศ ชาย หญิง

2. สถำนภำพ ข้าราชการ ต าแหน่ง.................................................................................................................

พนักงานของมหาวิทยาลัย ต าแหน่ง.........................................................................................

ลูกจ้างประจ า ต าแหน่ง............................................................................................................

ลูกจ้างช่ัวคราวรายเดือน

อื่น ๆ ต าแหน่ง.......................................................................................................................... 3. หน่วยงำนที่สังกัด

ส านัก…………………………………………………. สาขาวิชา……………………………………………….......

กอง............................................................ อื่น ๆ…………………………………………………………. ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการให้บริการข้อมลูของระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting) ค ำชี้แจง : โปรดกาเครื่องหมาย ลงในช่องหมายเลขแสดงระดบัความพึงพอใจ โดยมีความหมาย ดังนี ้ 5 = ดีมำก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = น้อย 1 = ควรปรับปรุง ล ำดับ รำยกำร ระดับควำมพึงพอใจ

5 4 3 2 1 1. ความง่ายในการเข้าใช้งานระบบ e-Meeting

2. ความรวดเร็วในการเรียกใช้ระบบ e-Meeting 3. ความถูกต้อง ครบถ้วน สมบรูณ์ของข้อมูลบนระบบ e-Meeting 4. รูปแบบและวิธีการน าเสนอข้อมูลผ่าน Web ของระบบ e-Meeting 5. สืบค้นเอกสารได้ง่ายบนระบบ e-Meeting 6. ประหยดัเวลาในการสืบค้นข้อมูลบนระบบ e-Meeting 7. ความพร้อมใช้งานและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดให ้ 8. ความพึงพอใจโดยรวมในการใช้งานระบบ e-Meeting

4. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม เพ่ือกำรปรับปรุงในด้ำนข้อมูลของระบบ e-Meeting ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……..……………….ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เพื่อน าข้อมูลปรับปรุงระบบใหด้ีขึ้นต่อไป…………………..

Page 5: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

1

เกณฑ์การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการรายข้อ โดยก าหนดช่วงการวัด จ าแนกเป็น 5 ระดับ (วรรณ์ดี แสงประทีปทอง: 96-150) ดังนี้

ค่าเฉลี่ย ระดับความคิดเห็น 4.51 – 5.00 คะแนน ความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.51 – 4.50 คะแนน ความพึงพอใจระดับมาก 2.51 – 3.50 คะแนน ความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 คะแนน ความพึงพอใจระดับน้อย 1.00 – 1.50 คะแนน ความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด

Page 6: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

2

รายงานผลการส ารวจความพึงพอใจของบุคลากร มสธ. ที่มีต่อการให้บริการ : ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ……………………………………………………..

การส ารวจความพึงพอใจของบุคลากร มสธ. ทุกหน่วยงานที่มีต่อการให้บริการระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting) เพ่ือประโยชน์ในการปรับปรุงระบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ใช้การแจกแจงความถ่ี (Frequency) และค่าร้อยละ(Percentage) ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ ใช้ค่าร้อยละ(Percentage) และระดับความพึงพอใจในภาพรวม รวมถึงข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงในด้านข้อมูลของระบบ e-Meeting ให้ดีขึ้นต่อไป

…………………………………………………….. ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การแจกแจงความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ตารางที่ 1.1 จ านวนและร้อยละของข้อมูลส่วนตัว

ข้อมูลส่วนตัว จ านวน ร้อยละ เพศ

หญิง 57 79.2 ชาย 15 20.8 ไม่ระบุ 0 0

รวม 72 100.0 จากตารางที่ 1.1 พบว่าผู้ตอบแบบส ารวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีจ านวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 79.2 ส่วนเพศชาย จ านวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ตารางที ่1.2 จ านวนและร้อยละของข้อมูลส่วนตัว

ข้อมูลส่วนตัว จ านวน ร้อยละ สถานภาพ ข้าราชการ 51 70.8 พนักงานของมหาวิทยาลัย 20 27.8

ไม่ระบุ 1 1.4 รวม 72 100.0

จากตารางที่ 1.2 พบว่าผู้ตอบแบบส ารวจส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ 51 คน คิดเป็นร้อยละ 70.8 พนักงานของมหาวิทยาลัย 20 คน คิดเป็นร้อยละ 27.8 และไม่ระบุ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามล าดับ

Page 7: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

3

ตารางที่ 1.3 จ านวนและร้อยละของข้อมูลส่วนตัว

ข้อมูลส่วนตัว จ านวน ร้อยละ หน่วยงานที่สังกัด

ส านัก 30 41.7 กอง 2 2.8 สาขาวิชา 38 52.8 ไม่ระบุ 0 0 อ่ืน ๆ 2 2.8

รวม 72 100.0

จากตารางที่ 1.3 พบว่าผู้ตอบแบบส ารวจส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานที่สังกัด ส านัก 30 คน คิดเป็นร้อยละ 41.7 กอง 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8 สาขาวิชา 38 คน คิดเป็นร้อยละ 52.8 และอ่ืนๆ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8 ตามล าดับ ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ ใช้ค่าร้อยละ(Percentage)และระดับความพึงพอใจในภาพรวม ตารางท่ี 2.1 ค่าเฉลี่ย ร้อยละของระดับความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์

(ระบบ e-Meeting)

การให้บริการ ค่าเฉลี่ย

ของความพึงพอใจ ค่า SD

ความพึงพอใจ ระดับ

ความพึงพอใจ 1. ความง่ายในการเข้าใช้งานของระบบ 2. ความรวดเร็วในการเรยีกใช้ระบบ 3. ความถูกตอ้ง ครบถ้วน สมบูรณ์ของ ข้อมูลบนระบบ 4. รูปแบบและวิธีการน าเสนอข้อมูลผา่น Web ของระบบ 5. สืบค้นเอกสารได้ง่ายบนระบบ 6. ประหยัดเวลาในการสืบค้นข้อมูลบน ระบบ 7. ความพร้อมใช้งานและประสิทธิภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดให้

4.35 4.14 4.10

4.10

3.97 4.10

3.90

.715

.756

.715

.790

.919

.891

.952

มาก มาก มาก

มาก

มาก มาก

มาก

8. ความพึงพอใจโดยรวมในการใช้งาน ระบบ

4.06 .820 มาก

ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.09 .819 มาก

Page 8: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

4

จากตารางที่ 2.1 พบว่าระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการของส านักคอมพิวเตอร์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.09 คิดเป็นค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .819 ซึ่งอยู่ในระดับมาก

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ด้านความง่ายในการเข้าใช้งานของระบบค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.35 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .715 ด้านความรวดเร็วในการใช้ระบบค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.14 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .756 ด้านความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูลบนระบบค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.10 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .715 ด้านรูปแบบและวิธีการน าเสนอข้อมูลผ่าน Web ของระบบค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.10 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .790 ด้านสืบค้นเอกสารได้ง่ายบนระบบค่าเฉลีย่ของความพึงพอใจเท่ากับ 3.97 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .919 ด้านประหยัดเวลาในการสืบค้นข้อมูลบนระบบค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.10 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .891 ด้านความพร้อมใช้งานและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดให้ค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 3.90 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .952 และด้านความพึงพอใจโดยรวมในการใช้งานระบบ ค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเท่ากับ 4.06 คิดเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เท่ากับ .820 ตามล าดับ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเพ่ือการปรับปรุงในด้านการให้บริการของฝ่ายบริการงานคอมพิวเตอร์ส านักคอมพิวเตอร์ ตารางท่ี 2.2 ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงในด้านข้อมูลของระบบ e-Meeting ให้ดีขึ้นต่อไป

ข้อเสนอแนะ จ านวน ร้อยละ 1) ควรมีการเคลียร์ขยะในเครื่องบ้าง เพื่อให้ท างานได้รวดเร็วขึ้น 2) บางครั้งเข้าระบบไม่ได้ ควรมีหมายเลขโทรศัพท์หรือหน่วยดูแล

แก้ปัญหาที่ชัดเจน 3) ไม่มี Keyword 4) ข้อมูลที่ปรากฏบางครั้งไม่เต็มจอ (ด้านซ้ายยังเป็นวาระการ

ประชุม) ท าให้ตัวเล็กมาก อ่านยาก ควรจัดข้อมูลให้ปรากฏเต็มจอทุกครั้ง ควรให้ทุกวาระอยู่ในรูปแบบเต็มจอ

5) Mouse ควรใช้แบบไร้สาย 6) ปรับปรุงเครื่อง Nb/โปรแกรมให้ทันสมัย (รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ) 7) ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบให้มีความเร็วสูง มีความต่อเนื่อง

ความแรงของระบบ Wifi 8) ควรมีระบบสืบค้นข้อมูลในระบบ e-Meeting ได้ด้วย

1 1 1 1 1 2 1 2

10 10

10 10

10 20 10

20 รวม 10 100

Page 9: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

5

จากตารางที่ 2.2 พบว่ามีข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเพ่ือการปรับปรุงในด้านข้อมูลของระบบ e-Meeting คือ ควรมีการเคลียร์ขยะในเครื่องบ้าง เพื่อให้ท างานได้รวดเร็วขึ้น มีจ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 บางครั้งเข้าระบบไม่ได้ ควรมีหมายเลขโทรศัพท์ หรือหน่วยดูแลแก้ปัญหาที่ชัดเจน มีจ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่มี Keyword มีจ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ข้อมูลที่ปรากฏบางครั้งไม่เต็มจอ (ด้านซ้ายยังเป็นวาระการประชุม)ท าให้ตัวเล็กมาก อ่านยาก ควรจัดข้อมูลให้ปรากฏเต็มจอทุกครั้ง ควรให้ทุกวาระอยู่ในรูปแบบเต็มจอ มีจ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 Mouse ควรใช้แบบไร้สาย มีจ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ปรับปรุงเครื่อง Nb/โปรแกรมให้ทันสมัย (รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ) มีจ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบให้มีความเร็วสูง มีความต่อเนื่องความแรงของระบบ Wifi มีจ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และควรมีระบบสืบค้นข้อมูลในระบบ e-Meeting ได้ด้วย มีจ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ตามล าดับ

Page 10: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

สถิติค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ e-Meeting) มสธ.

Statistics

ความง่ายในการเข้าใช้ระบบ

ความรวดเร็วใน

การเรียกใช้ระบบ

ความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล

รูปแบบและวิธีการน าเสนอข้อมูลของระบบ

สืบค้นเอกสารได้ง่ายบนระบบ

ประหยัดเวลาในการสืบค้นข้อมูลบนระบบ

ความพร้อมใช้งานและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์

ความพึงพอใจ

โดยรวมในการใช้งานระบบ e-Meeting

N Valid Missing Mean Median Std.Deviation Minimum Maximum

72 0

4.35 4.00 .715

3 5

72 0

4.14 4.00 .756

2 5

72 0

4.10 4.00 .715

3 5

72 0

4.10 4.00 .790

2 5

72 0

3.97 4.00 .919

1 5

72 0

4.10 4.00 .891

1 5

72 0

3.90 4.00 .952

1 5

72 0

4.06 4.00 .820

2 5

Page 11: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

ความง่ายในการเข้าใช้ระบบ

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid พอใช้ 10 13.9 13.9 13.9

ดี 27 37.5 37.5 51.4

ดีมาก 35 48.6 48.6 100.0

Total 72 100.0 100.0

ความรวดเร็วในการเรียกใช้ระบบ

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid น้อย 1 1.4 1.4 1.4

พอใช้ 13 18.1 18.1 19.4

ดี 33 45.8 45.8 65.3

ดีมาก 25 34.7 34.7 100.0

Total 72 100.0 100.0

ความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid พอใช้ 15 20.8 20.8 20.8

ดี 35 48.6 48.6 69.4

ดีมาก 22 30.6 30.6 100.0

Total 72 100.0 100.0

Page 12: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

รูปแบบและวิธีการน าเสนอข้อมูลของระบบ

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid น้อย 2 2.8 2.8 2.8

พอใช้ 12 16.7 16.7 19.4

ดี 33 45.8 45.8 65.3

ดีมาก 24 33.3 33.3 98.6

9 1 1.4 1.4 100.0

Total 72 100.0 100.0

ประหยัดเวลาในการสืบค้นข้อมูลบนระบบ

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid ควรปรับปรุง 1 1.4 1.4 1.4

น้อย 3 4.2 4.2 5.6

พอใช้ 10 13.9 13.9 19.4

ดี 32 44.4 44.4 63.9

ดีมาก 26 36.1 36.1 100.0

Total 72 100.0 100.0

ความพร้อมใช้งานและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid ควรปรับปรุง 2 2.8 2.8 2.8

น้อย 3 4.2 4.2 6.9

พอใช้ 15 20.8 20.8 27.8

ดี 32 44.4 44.4 72.2

ดีมาก 20 27.8 27.8 100.0

Total 72 100.0 100.0

Page 13: eservice.stou.ac.th )ocs.stou.ac.th/SAR/SAR56/pdf1_7_57/22.pdfเอกสารแนบ 1 ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 2

สืบค้นเอกสารได้ง่ายบนระบบ

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid ควรปรับปรุง 1 1.4 1.4 1.4

น้อย 3 4.2 4.2 5.6

พอใช้ 16 22.2 22.2 27.8

ดี 29 40.3 40.3 68.1

ดีมาก 23 31.9 31.9 100.0

Total 72 100.0 100.0

ความพึงพอใจโดยรวมในการใช้งานระบบ e-Meeting

Frequency Percent Valid Percent

Cumulative Percent

Valid น้อย 4 5.6 5.6 5.6

พอใช้ 10 13.9 13.9 19.4

ดี 36 50.0 50.0 69.4

ดีมาก 22 30.6 30.6 100.0

Total 72 100.0 100.0