22
นาย อัลวา อาแด รหัส 405238037 นาย อาบีดิง ยะมิง รหัส 405238040 นาย อับดุลเล๊าะ กาโบะ รหัส 405238041 นาย มูหมัดฟ ันดี เจ๊ะแม รหัส 405238046

Original bandura

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Original bandura

นาย อัลวา อาแด รหัส 405238037

นาย อาบีด ิง ยะม ิง รหัส 405238040

นาย อับด ุลเลา๊ะ กาโบะ รหัส 405238041

นาย มูหม ัดฟันด ี เจ ๊ะแม รหัส 405238046

นาย อัสมาน กาเจ รหัส 405238051

Page 2: Original bandura
Page 3: Original bandura

ทฤษฎีการเร ียนร ู้ทางส ังคมเช ิง พุทธ ิป ัญญา (Social Cognitive

Learning Theory)

ซึ่งเปน็ทฤษฎีของศาสตราจารยบ์นัด ูรา แห่ง มหาว ิทยาล ัยสแตนฟอร์ด (Stanford) ประเทศ

สหรัฐอเมร ิกา บนัด ูรามคีวามเช ือ่ว ่าการเร ียนร ู้ของมนษุย ์สว่นมากเปน็การเร ียนร ู้โดยการสงัเกตหร ือการเล ียนแบบ (Bandura ) จ ึงเร ียก

การเร ียนร ู้จากการสงัเกตว ่า “การเร ียนร ู้โดยการสงัเกต” หรือ “การเล ียนแบบ” และ

เน ื่องจากมนุษย ์มปีฏ ิสมัพ ันธ ์ กับส ิง่แวดล ้อมที่ อยู่รอบ ๆ ต ัวอย ู่เสมอ บนัด ูราอธบิายว ่าการ

เร ียนร ู้เก ิดจากปฏิสมัพ ันธร์ะหว ่างผ ูเ้ร ียนและส ิง่ แวดล้อมในสงัคม ซึ่งท ั้งผ ูเ้ร ียนและส ิง่แวดล ้อม

มอี ิทธพิลต ่อก ันและก ัน บนัด ูรา จ ึงเปล ี่ยนชือ่ ทฤษฎีการเร ียนร ู้ของท่านว ่า การเร ียนร ู้ทาง

สงัคม (Social Learning Theory) แต่ตอ่มาได้ เปล ี่ยนเปน็ การเร ียนร ู้ทางสงัคมเชงิพ ุทธ ิ

ปญัญา (Social Cognitive Learning Theory)

Page 4: Original bandura

บันด ูรา มีความเหน็ว ่าท ั้ง สิ่งแวดล ้อม และตัวผ ู้เร ียนมี

ความสำาค ัญเท ่า ๆ ก ัน บ ัน ดูรากล ่าวว ่า คนเราม ี

ปฏิส ัมพ ันธ ์ (Interact) กับส ิ่ง แวดล้อมที่อย ู่รอบๆ ตัวเราอยู่

เสมอการเร ียนร ู้เก ิดจากปฏิส ัมพ ันธ ์ระหว ่างผ ู้เร ียนและส ิ่งแวดล ้อม

Page 5: Original bandura

ซึ่งท ั้งผ ู้เร ียนและส ิ่งแวดล ้อมม ี อิทธ ิพลต่อก ันและก ัน พฤติกรรม

ของคนเราส ่วนมากจะเป ็นการ เร ียนร ู้โดยการส ังเกต

(Observational Learning) หรือ การเล ียนแบบจากตัวแบบ

(Modeling) สำาหร ับต ัวแบบไม่จ ำาเป ็นต ้องเป ็นต ัวแบบที่ม ีช ีว ิต

เท ่าน ั้น แต ่อาจจะเป ็นต ัว สัญลักษณ์ เช ่น ต ัวแบบที่เห ็นใน

โทรทัศน ์ หร ือภาพยนตร์หร ืออาจ จะเป ็นร ูปภาพการ ์ต ูนหนังส ือก ็ได ้

นอกจากนี้ ค ำาบอกเล ่าด ้วยค ำาพ ูดหร ือข ้อม ูลท ี่เข ียนเป ็นลายลักษณ์

อักษรก ็เป ็นต ัวแบบได้ การเร ียนร ู้โดยการส ังเกตไม ่ใช ่การลอกแบบจากสิ่งท ี่ส ังเกตโดยผู้เร ียนไม ่ค ิด

Page 6: Original bandura

คุณสมบัต ิของผูเ้ร ียนมีความ สำาคญั เช ่น ผ ูเ้ร ียนจะต้องม ี

ความสามารถที่จะร ับร ู้ส ิ่ง เร ้า และสามารถสร ้างรหสั

หร ือก ำาหนดสัญลักษณ์ของส ิ่งท ี่ส ังเกตเก ็บไว ้ในความ

จำาระยะยาว และสามารถเร ียกใช้ในขณะที่ผ ู้ส ังเกตต้องการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ

Page 7: Original bandura

บันด ูรากล ่าวว ่า การเร ียนร ู้ทางส ังคมด้วยการร ู้ค ิดจากการเล ียน

แบบมี 2 ขั้น ค ือ ข ั้นแรกเป ็นขั้น การได้ร ับมาซึ่งการเร ียนร ู้

(Acquisition) ทำาให ้สามารถ แสดงพฤติกรรมได้ ข ั้นท ี่ 2 เร ียก

ว ่าข ั้นการกระทำา (Performance) ซึ่งอาจจะกระทำาหร ือไม ่กระทำา

ก็ได ้ การแบ่งข ั้นของการเร ียนร ู้แบบนีท้ ำาให ้ทฤษฎีการเร ียนร ู้ของบ ันด ูราแตกต่างจากทฤษฎี

พฤติกรรมนิยมชนิดอ ื่น ๆ การ เร ียนร ู้ท ี่แบ ่งออกเป ็น 2 ขั้น

1 ขั้นของการเร ียนร ู้โดย

การเล ียนแบบ การร ับมาซึ่งการ เร ียนร ู้ ประกอบด้วยส ่วนประกอบ

ที่ส ำาค ัญเป ็นล ำาด ับ 3 ลำาด ับ

Page 8: Original bandura

แผนผังท ี่ 2 ส่วนประกอบของการเร ียนร ู้ข ึ้นก ับการร ับมาซึ่งการเร ียนร ู้

จากแผนผังจะเห ็นว ่า สว่น ประกอบทั้ง 3 อย่าง ของการร ับ

มาซึ่งการเร ียนร ู้เป ็นกระบวนการ ทางพุทธ ิป ัญญา (Cognitive

Processes) ความใส่ใจที่เลอืกส ิ่งเร ้าม ีบทบาทสำาค ัญในการเล ือกตวัแบบสำาหร ับข ั้นการกระทำา (Performance) นั้นข ึ้นอย ู่ก ับผ ู้

เร ียน เช ่น ความสามารถทางด้าน ร ่างกาย ทักษะตา่ง ๆ รวมทั้ง

ความคาดหวังท ี่จะได ้ร ับแรงเสร ิมซึ่งเป ็นแรงจ ูงใจ

Page 9: Original bandura

บันด ูรา ได้อธ ิบายกระบวนการที่ส ำาค ัญในการเร ียนร ู้โดยการส ังเกตหร ือการเร ียนร ู้โดยตัวแบบว่าม ีท ั้งหมด 4 อย่างค ือ1. กระบวนการความใจใส ่(Attention)2. กระบวนการจดจำา (Retention)3. กระบวนการแสดงพฤติกรรม(Reproduction)

4. กระบวนการการจ ูงใจ(Motivation)

Page 10: Original bandura

ความใส ่ใจของผู้เร ียนเป ็นส ิ่ง สำาค ัญมาก ถ้าผ ู้เร ียนไม ่ม ี

ความใส ่ใจในการเร ียนร ู้ โดยการส ังเกตหร ือการเล ียนแบบ

กจ็ะไม ่เก ิดข ึ้น ด ังน ั้น การเร ียนร ู้แบบนี้ความใส ่ใจจ ึง

เป ็นส ิ่งแรกที่ผ ู้เร ียนจะต ้องม ีบ ันด ูรากล ่าวว ่าผ ู้เร ียนจะต ้องร ับร ู้ส ่วนประกอบที่ส ำาค ัญของพฤติกรรมของผู้ท ี่เป ็นต ัวแบบ

Page 11: Original bandura

องค์ประกอบที่ส ำาค ัญของตัวแบบที่ม ีอ ิทธ ิพลต่อความใส ่ใจ

ของผู้เร ียนม ีหลายอย่าง เช ่น เป ็นผ ู้ท ี่ม ีเกยีรต ิส ูง ม ีความ

สามารถสูง หน้าตาด ี รวมทั้ง การแต่งต ัว การม ีอ ำานาจที่จะ

ให ้รางว ัลหร ือลงโทษ

Page 12: Original bandura

คณุล ักษณะของผู้เร ียนก็ม ีความสมัพันธ ์ กับกระบวนการใส ่ใจ ต ัวอยา่งเช ่น ว ัย

ของผูเ้ร ียน ความสามารถทางด้านพทุธ ิ ปญัญา ทักษะ

ทางการใชม้ ือและสว่นต่าง ๆ ของ ร ่างกาย รวมทั้งต ัวแปรทางบ ุคล ิกภาพ

ของผูเ้ร ียน เช ่น ความร ู้สกึว ่าตนนั้นม ี คา่ (Self-Esteem) ความต้องการและ

ทัศนคติของ ผูเ้รยีน ต ัวแปรเหล ่าน ี้ม ักจะเป ็นส ิง่จ ำาก ัดขอบเขตของการเร ียนร ู้

โดยการสงัเกต ตัวอยา่งเช ่น ถ ้าคร ูต ้องการให้เด ็กว ัยอนุบาลเข ียน

พยญัชนะไทยที่ยาก ๆ เชน่ ฆ ม โดยพยายามแสดงการเข ียนให้ด ูเปน็ต ัวอยา่ง ทักษะการใชก้ล ้ามเน ื้อในการเคล ื่อนไหวของเด ็กว ัยอนุบาลย ังไม ่พร ้อมฉะนั้นเด ็กว ัยอนุบาลบางคนจะเข ียนหนังสอืตามที่คร ูคาดหวังไม ่ได ้

Page 13: Original bandura

บันด ูรา อธ ิบายว ่า การที่ผ ู้เร ียนหร ือผ ู้ส ังเกตสามารถที่จะเล ียนแบบหรือแสดงพฤติกรรมเหม ือนตัวแบบได้ก ็เป ็นเพราะผ ู้เร ียนบันท ึกส ิ่งท ี่ตนส ังเกตจากตัว

แบบไว ้ในความจ ำาระยะยาว บัน ดูรา พบว่าผ ู้ส ังเกตที่สามารถ

อธ ิบายพฤติกรรม หร ือการกระ ทำาของต ัวแบบด้วยค ำาพ ูด หร ือ

สามารถมีภาพพจน์ส ิ่งท ี่ตนส ังเกตไว ้ในใจจะเป ็นผ ู้ท ี่สามารถจดจำาส ิ่งท ี่เร ียนร ู้โดยการส ังเกตได้ด ี

กว่าผ ู้ท ี่เพ ียงแต ่ด ูเฉย ๆ

Page 14: Original bandura

หรือท ำางานอื่นในขณะที่ด ูต ัว แบบไปด้วย สร ุปแล ้วผ ู้ส ังเกต

ที่สามารถระล ึกถ ึงส ิ่งท ี่ส ังเกต เป ็นภาพพจน์ในใจ (Visual

Imagery) และสามารถเข ้า รหัสด ้วยค ำาพ ูดหร ือถ ้อยค ำา

(Verbal Coding) จะเป ็นผ ู้ท ี่สามารถแสดงพฤติกรรมเล ียนแบบจากตัวแบบได้แม ้ว ่าเวลา

จะผ่านไปนาน ๆ และนอกจาก นี้ถา้ผ ู้ส ังเกตหร ือ ผ ู้เร ียนม ี

โอกาสที่จะได ้เห ็นต ัวแบบแสดงส ิ่งท ี่จะต ้องเร ียนร ู้ซ ำ้าก ็จะเป ็นการช่วยความจ ำาให ้ด ีย ิ่งข ึ้น

Page 15: Original bandura

กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมอืนตัวแบบ

เปน็กระบวนการที่ผ ู้เรยีนแปรสภาพ (Transform)

ภาพพจน์ (Visual Image) หรอืส ิ่งท ี่จ ำาไว ้เป ็นการเข ้ารห ัสเปน็ถอ้ยค ำา (Verbal Coding) ในทีส่ ุดแสดงออกมาเปน็การกระทำาหร ือแสดง

พฤติกรรมเหมอืนกบัต ัวแบบ

Page 16: Original bandura

ปจัจยัท ี่ส ำาคญัของ กระบวนการนี้คอื ความ

พร้อมทางด้านรา่งกายและทกัษะทีจ่ ำาเป ็นจะต ้องใช้ใน

การเล ียนแบบของผู้เรยีนถา้หากผู้เร ียนไมม่คีวามพร้อมกจ็ะไมส่ามารถทีจ่ะแสดงพฤติกรรมเล ียนแบบได้

Page 17: Original bandura

บันด ูรา อธิบายว ่า แรงจ ูงใจของผู้เร ียนที่จะแสดงพฤตกิรรมเหมือนตวัแบบที่

ตนสังเกต เน ื่องมาจากความคาดหวังว ่า การเล ียนแบบจะนำาประโยชน์มาใช้ เช ่น

การได้ร ับแรงเสร ิมหร ือรางว ัล หร ืออาจจะ นำาประโยชน์บางส ิ่งบางอยา่งมาให้ รวม

ทั้งการคดิว ่าการแสดงพฤตกิรรมเหมือน ตวัแบบจะทำาให ้ตนหลีกเล ี่ยงป ัญหาได้ ใน

หอ้งเร ียนเวลาคร ูให ้รางว ัลหร ือลงโทษ พฤตกิรรมของนักเร ียน คนใดคนหนึ่ง

น ักเร ียนทั้งหอ้งกจ็ะเร ียนร ู้โดยการส ังเกต

Page 18: Original bandura

และเปน็แรงจงูใจให้ผ ู้เร ียนแสดงพฤติกรรมหรอื

ไมแ่สดงพฤติกรรม เวลานักเรยีนแสดงความ

ประพฤติด ี เช ่น น ักเร ียนคนหนึง่ท ำาการบา้นเร ียบร ้อยถกูต ้องแล ้วไดร้ ับ

รางว ัลชมเชยจากคร ู หรอืให ้สทิธพิ ิเศษกจ็ะเปน็ต ัว

แบบให้แกน่ ักเร ียนคนอืน่ๆ

Page 19: Original bandura

1. ผู้เร ียนจะต ้องม ีความใสใ่จ(Attention) ที่จะสงัเกตตัวแบบ ไมว่ ่า

เปน็ การแสดงโดยตัวแบบจร ิงหร ือ ตัวแบบสัญลักษณ์ ถ ้าเป ็นการอธบิายดว้ย

ค ำาพดูผ ู้เร ียนก็ต ้องต ั้งใจฟังและถ ้าจะต ้องอ ่านค ำาอธบิายก็จะต ้องมคีวามตั้งใจที่จะอ ่าน 2. ผูเ้ร ียนจะต ้องเข ้ารห ัสหร ือบนัท ึกส ิ่งท ี่สงัเกตหร ือส ิง่ท ี่ร ับร ู้ไว ้ในความจำาระยะยาว 3. ผูเ้ร ียนจะต ้องม ีโอกาสแสดง

พฤติกรรมเหมอืนตัวแบบ และควรจะทำาซ ำ้าเพ ื่อจะให้จ ำาได ้ 4. ผู้เร ียนจะต ้องร ู้จ ักประเม ินพฤติกรรม

ของตนเองโดยใช้เกณฑ์ (Criteria) ที่ต ั้งข ึน้ดว้ยตนเองหร ือโดยบคุคลอ ื่น

Page 20: Original bandura

สร ุป การเร ียนร ู้พฤตกิรรมส ำาค ัญ

ตา่ง ๆ ทัง้ท ี่เสร ิมสร ้างส ังคม(Prosocial Behavior) และพฤติกรรมที่เป ็นภ ัยต ่อส ังคม (Antisocial Behavior) ได้เน ้นความสำาค ัญของการเร ียนร ู้แบบการส ังเกตหรือเลยีนแบบจากตัว

แบบ ซึ่งอาจจะเป ็นได้ท ั้งต ัวบ ุคคล จร ิง ๆ เช ่น คร ู เพ ื่อน หร ือจาก

ภาพยนตร์โทรทัศน ์ การ ์ต ูน หร ือ จากการอ ่านจากหนังส ือได ้ การ

เร ียนร ู้โดยการส ังเกตประกอบ ด้วย 2 ขั้น ค ือ ข ั้นการร ับมาซึ่ง

การเร ียนร ู้เป ็นกระบวนการทางพทุธ ิป ัญญา

Page 21: Original bandura

และขั้นการกระทำา ต ัวแบบที่ม ีอ ิทธ ิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีท ั้งต ัวแบบในชีว ิตจร ิง

และต ัวแบบที่เป ็นส ัญลักษณ์เพราะฉะนั้นพฤติกรรมของ

ผู้ใหญ่ในครอบคร ัว โรงเร ียน สถาบันการศ ึกษา และผู้น ำาใน

สังคมประเทศชาติและศ ิลป ิน ดารา บุคคลสาธารณะ ยิ่งต ้อง

ตระหนักในการแสดง พฤติกรรมต่าง ๆ เพราะย ่อมม ี

ผลต ่อพฤติกรรมของเยาวชน ในสังคมนั้น ๆ

Page 22: Original bandura