16
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน ( Erikson’ Theory of Deveiopment

Original erikson 2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Original erikson 2

ทฤษฎีจ ิตส ังคมของอ ีร ิคส ัน( Erikson’ Theory of Deveiopment

Page 2: Original erikson 2

เสนอ อาจารย์นิตยา เรืองแป้น

จัดทำาโดยนางสาวสุไรนี ดีมูเละ รหัส

405201003นางสาวนูรมา ละเล๊าะ รหัส

405201007นางสาวรอสมี เปาะเสาะ รหัส

405201009นางสาวมารีนา นอจิ รหัส

405201011นางสาวกาวากิป มะสะ รหัส

405201021นางสาวซามีเร๊าะ ลีโกะ รหัส

405201035นางสาวนูรอัยนี่ บือราเฮ็ง รหัส

405201036 โปรแกรมวิชาภาษาไทย ค.บ

Page 3: Original erikson 2

อิริคสนั เปน็นักจิตวิเคราะห์ที่มีชือ่ของอเมริกา และจัดอยู่ในกลุ่มฟรอยรุ่นใหม่ เกิดที่เมืองแฟรงเฟิต ประเทศเยอรมัน ต่อมาได้ย้าย

ไปอยู่ประเทศอเมริกาในปี ค.ศ. 1933 อีริคสัน ได้สร้างทฤษฎีขึ้นในแนวทางความคดิของฟรอยด์ แต่ได้เน้นความสำาคญัทางด้านสังคม วัฒนธรรม

และสิ่งแวดล้อมด้านจิตใจ (Psychological Environment) ว่ามีบทบาทในพัฒนาการ

บคุลิกภาพมาก ความคดิของอีริคสันต่างกับฟรอยด์หลายประการ เปน็ต้นว่า เห็นความสำาคัญของ Ego มากกว่า Id และถือว่าพัฒนาการของคนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไปจนกระทั่งวาระ

สุดท้ายของชวีิต คือ วัยชรา และตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ บคุลิกภาพของคนก็เปลี่ยนไปเรื่อยๆ ทฤษฎีจิตสังคม(Psychological Theory) ได้

แบง่พัฒนาทางบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขั้น ด้ัง

Page 4: Original erikson 2

1. ความไว ้วางใจกับความไมไ่ว ้วางใจ(Trust VS. Mistrust) (ในชว่ง0 -1 ป )ี

วัยนี้ทารกมีความต้องการแต่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ให้สมความปรารถนา ต้องอาศัยผู้

ใหญ่หรือู้ใกล้ชดิ ด้ังนั้น แม่หรือผูเ้ลี้ยวดู จึงมีอิทธพิลต่อเด็กทารกมาก “ความคงเสน้คง

วา” ในการตอบสนองความต้องการให้ทารก ย่อมส่งผลถึงพัฒนาการทางบวกและลบได้ หาก

ได้รับความพอใจและบรรลุตามความต้องการเสมอทารกก็รู้สกึไว้ใจผู้อื่นได้ แต่ถ้าไม่บรรลุตามความต้องการทารกก็จะรู้สกึไม่ไว้ใจผูอ้ื่น

Page 5: Original erikson 2

2. ความเปน็ต ัวของต ัวเองก ับความ คลางแคลงใจ (Autonomy VS. Doubt)(ในชว่ง2 – 3 ป )ี

เด็กในวัยนีจ้ะเริ่มพัฒนาความเปน็ตัวของตัวเอง รู้สึกว่าตนเองมีความสำาคัญและอยาก

เอาชนะสิ่งแวดล้อมหรืออำานาจที่มีอยู่ พ่อแม่จึงควรระวังในเรื่องความสมดุลในการเลี้ยงดู ควรให้โอกาสและกำาลงัใจต ่อเด ็ก เด็กจะพัฒนา

ความเป็นตัวเอง มีความมั่นใจ รู้จักอิสระที่จะควบคุมตนเอง แต่ถ้าพ่อแม่ไม ่ให ้โอกาสหร ือ

ท ำาแทนเด ็กท ุกอย ่าง เด็กจะเกิดความคลางแคลงใจในความสามารถของตนเอง

Page 6: Original erikson 2

3. ความร ิเร ิ่มก ับความร ู้ส ึกผ ิด (Initiative VS. Guilt) (ในช่วง4 – 5 ป )ี

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตลอดถึงการใชภ้าษาจะชว่ยให้เดก็เกิดแง่คดิในการวางแผนและการ

ริเริม่ทำากจิกรรมต่างๆ ก็จะเปน็การส ่งเสร ิมท ำาให้เขาร ู้ส ึกต ้องการที่จะศ ึกษาค้นคว ้า

ต ่อไปเดก็กจ็ะมีความคดิรเิริ่ม แตใ่นทางตรงกนัข้ามถา้ผู้ใหญค่อย เข ้มงวด ไม่เป ิดโอกาสให้

เด ็ก ต ำาหนิอย ู่ตลอดเวลา เขาก็จะรูส้ึกผดิเม่ือคดิจะทำาสิ่งใดๆ นอกจากนีเ้ขากจ็ะเริม่เรยีนรู้

บทบาททางเพศมาตรฐานทางศลีธรรมและการควบคมุอารมณ์

Page 7: Original erikson 2

4. ความขยนัหมัน่เพ ียรก ับความร ู้สกึต ำ่าต ้อย (Industry VS. Inferiority) (ใน

ชว่ง6 – 11 ป )ี

เด็กในวัยนี้จะเริ่มเข้าเรียนและต้องการเปน็ที่ยอมรับของผู้อื่น มีพัฒนาการทางด้านความขยันขันแข็ง โดยพยายามคดิทำา คดิผลิตสิ่ง

ต่างๆ ให้เหมือนผู้ใหญ่ด้วยการทุ่มเททั้งกำาลังกายและกำาลังใจ ถ้าเขาได้ร ับค ำาชมเชยก็จะเปน็แรงกระต ุ้นให ้เก ิดก ำาล ังใจ มีความมานะพยายามมากขึ้น แต่ถ้าตรงกันข้ามเด็กไมไ่ด ้ร ับความสนใจหรือผู้ใหญ่แสดงออกมาให้เขาเห็น

ว่าเป็นการกระทำาที่น่ารำาคาญเขาก็จะรู้สกึตำ่าต้อย

Page 8: Original erikson 2

5. ความเปน็เอกล ักล ักษณ์ก ับความสบัสนในบทบาท (Identity VS. Role

Confusion) (ในชว่ง12 – 18 ป )ี

เป็นช่วงที่เด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่น และเริ่มพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเองว่าตนคอืใคร ถ้าเขาคน้หาตนเองได้ เขาจะแสดงบทบาทของ

ตนเองได้อย ่างเหมาะสม แต่ถ้าตรงกันข้ามเขาคน้หาเอกล ักษณ์ของตนไมพ่บเขาจะเก ิดความสบัสนและแสดงบทบาทที่ไม่เหมาะ

สมหรือไม่สอดคล้องกับตนเอง

Page 9: Original erikson 2

6. ความใกล้ชดิผกูพ ัน – ความอา้งว ้างต ัว คนเด ียว (Intimacy vsIsolation)

ว ัยน ีเ้ปน็ว ัยผ ูใ้หญ่ระยะต ้น (Young Adulthood)

เป็นขั้นของการพัฒนาทางด้านความรัก ความผกูพัน เมื่อบคุคลสามารถคน้พบเอกลักษณ์ของ

ตนเองได้แล้ว ก็เกิดความร ู้สกึต ้องการม ีเพ ื่อนสนทิท ี่ร ู้ใจ สามารถปรับทุกข์ซึ่งกันและกันได้

ตลอดถึงแสดงความยินดี และเสยีสละให้แก่กัน แต่ถ้าพัฒนาการในช่วงนี้ล้มเหลวไม่สามารถสร้างความรู้สกึเช่นนีไ้ด้ เขาก็จะขาดเพื่อนสนิท หรือเกิดความรู้สึก ตอ้งการจะชงิด ีชงิเด ่น ชอบ

ทะเลาะก ับผ ู้อ ืน่ ร ู้สกึว ้าเหว ่เหมอืนถูกทอดทิ้ง ซึ่งจะนำาไปสู่การแยกตัวเอง และดำาเนินชวีิต

อย่างโดดเด่ียว

Page 10: Original erikson 2

7. การทำาประโยชน์ให ้ส ังคมกับการคิดถ ึงแต ่ตนเอง (Generativity VS. Self

Absorption)

เปน็ช่วงของวัยกลางคน ซึ่งมีความพรอ้มที่จะสรา้งประโยชนใ์ห้สังคมได้เต็มที่ ถา้พฒันาการ

แต่ละขั้นตอนที่ผา่นมาดำาเนนิไปดว้ยด ีมีการดูแลรบัผดิชอบเอาใจใส่ต่อบตุรหลานให้มีความสุข มีการอบรมสั่งสอนบตุรหลานให้เป ็นคนดีต ่อไปในอนาคต แต่ถา้ตรงกนัข้ามก็จะไม่ประสบ

ความสำาเรจ็ เขาจะเกิดความรูส้ึกท้อถอย เบือ่หน่ายชวีติ คดิถึงแต่ตนเองไม่ร ับผ ิดชอบต่อ

ส ังคม

Page 11: Original erikson 2

8. บรูณาการกับความส ิน้หว ัง (Integrity VS. Despair) ว ัยชรา

เป็นชว่งของวัยชราซึ่งเปน็วัยสุดท้าย ถ้าบคุคลผ่านขั้นตอนต่าง ๆ มาด้วยดี ก็จะมองอดีต

เต็มไปด้วยความสำาเร็จ มีปรัชญาชีวิตตนเอง ภูมใิจในการถ่ายทอดประสบการณ์ต ่างให้แก ่ล ูกหลาน แต่ถ้าตรงกันข้ามกันชวีิตมีแต่

ความล้มเหลว ก็จะเกิดความรู้สกึสิ้นหวังในชวีิต เสยีดายเวลาที่ผ่านมาไม่พอกับชวี ิตในอดีตไม ่

ยอมร ับสภาพตนเอง เก ิดความคบัข ้องใจต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ขาดความ

สงบสุขในชวีิต

Page 12: Original erikson 2

แนวคิดของอ ีร ิคส ันท ี่ม ีอ ิทธ ิพลต่อการศ ึกษา

• ระด ับอนบุาล การสงเสริมให้เกิด Autonomy ในระดับ

อนบุาลควรเปดิโอกาสให้เด็กได้ทดลองทำาสิง่ ต่างๆอย่างอิสระ ไม่เข้าไปยุ่งเก่ียวมากนัก แต่

คอยให้ความชว่ยเหลือแนะนำาอยู่ห่างๆทั้งนี้เพื่อปอ้งกันมิให้เกิดคลางแคลงในความสามารถของ

ตน เพราะถ้าครูไม่คอยดูแล้ว เด็กอาจจะทำาใน สิ่งที่เกิดความสามารถเกินกำาลังของตน ซึ้งจะ

ทำาให้เด็กเกิดความสงสัยในความสามารถซึ้งสิ่งที่จะตามมาคือความไม่มั่นใจในตนเอง

Page 13: Original erikson 2

• ระด ับประถมต้นและประถมปลาย การสง่เสริมให้เกิด Industry เด็ก

วัยนี้อาจจะพัฒนาความรู้สึกตำ่าต้อย ความรู้สึก ว่าตนเองสู้เพื่อนๆไม่ได้ โดยง่าย ถ้าครูไม่

ทราบวิธีที่จะชว่ยเหลือ สิ่งสำาคญัที่จะต้องระวัง สำาหรับเด็กวัยนี้ คือ พยายามหลีกเลี่ยง การให้

งานทำาชนิดที่มีการแข่งขัน การเปรียบเทียบ ระดับความสามารถ เพราะถ้าให้งานประเภทนี้

จะทีเด็กเพียงส่วนน้อยเท่านัน้ที่ประสบความ สำาเร็จแต่เด็กสว่นใหญ่จำาทำาไม่ได้ ซึ้งจะทำาให้

เด็กพัฒนาความรู้สึกตำ่าต้อย ความรู้สกึสูเ้พื่อน ไม่ได้ ตั้งแต่เริ่มเข้าเรียน ซึ้งเด็กจะมีแนวโน้ม

คดิว่าตัวเองเปน็เช่นนั้นตลอดไป ฉะนั้นวิธีที่ดี ที่สดุ คอื พยายามจัดประสบการณ์ที่ช่วยส่งเสริม

การเรียนรู้ให้โดยการเปิดโอกาส ให้เด็กทำางาน แข่งกับตัวเอง

Page 14: Original erikson 2

• ระด ับมธัยมศึกษา สิ่งสำาคญัการจัดการศึกษาสำาหรับเด็ก

วัยรุ่น คอืการเก่ียวข้องกับ negative identity ซึ้งถือว่าเปน็สิ่งที่ยากลำาบาก เด็กพวก

นี้มักจะยึดยาเสพติดเปน็ที่พึ่ง ด้ังนั้นครูที่ทำางาน กับเด็ก ควรพยายามทำาความเข้าใจถึงแรงจูงใจ

ที่ทำาให้เด็กพวกนี้ใชย้าและพยายามหาทาง เลือกให้เด็ก สามารถแสวงหาความหมายหรือ

ประสบการณ์ในชีวิต ครูอาจมีพูดให้เด็กเข้าใจว่ามีวิธอีื่นที่จะช่วยในการแสวงหาความหมาย

ของชวีิตโดยไม่ต้องพึ่งยา สิง่สำาคญัที่ครูจะต้อง ทำา คอื สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน

ความเมตตา ความเข้าใจ ความสนใจของเด็ก ที่แท้จริง พยายามส่งเสริมให้นักเรียนแสดงออก

ตามความสามารถของตน

Page 15: Original erikson 2

สร ุป ทฤษฎีของอีริคสัน เปน็ทฤษฎีที่อธิบาย

พัฒนาการของชวีิตตั้งแต่งวัยทารกจนถึงวัยชรา อีริคสันเชือ่ว่า วัยแรกของชวีิตเป็นวัยที่เปน็

รากฐานเบือ้งต้น และวัยต่อ ๆ มาก็สร้างจาก รากฐานนี้ ถ้าหากในวัยทารกเด็กได้รับการดูแล

อย่างดีและอบอุ่น ก็จะชว่ยให้เด็กมีความเชือ่ถือ ในผูอ้ื่นที่อยู่รอบ ๆ ตั้งแต่บิดามารดา บุคคลต่าง ๆ

ที่อยู่รอบตัวเขา จะชว่ยให้เด็กชว่ยตนเอง มีความ ตั้งใจที่จะทำาอะไรเอง และเมื่อเขาเติบโตขึ้นก็จะ

เป็นผู้ที่รู้สกึว่าตนเองมีสมรรถภาพที่จะทำาอะไรได้ นอกจากนีจ้ะมีความซื่อสตัย์ต่อตนเองและผูอ้ื่น

สามารถที่จะยอมรับสิง่ที่ดีและไม่ดีของตนเองได้ และผู้อื่นสามารถที่จะสนิทสนมกับผูอ้ื่น ทั้งเพศ

เดียวกันและเพศตรงข้ามโดยสนิทใจ โดยไม่มี ความอิจฉาว่าเพื่อนจะดีกว่าตน เมื่อเปน็ผูใ้หญ่ก็

จะเปน็ผู้เสีย

Page 16: Original erikson 2

เสยีสละไม่เห็นแก่ ตัวดูแลผู้ที่อ่อนเยาว์กว่า เชน่ ลูกหลาน หรือคนรุ่นหลังต่อไป และเมื่ออยู่ในวัย

ชราก็จะมีความสุข เพราะว่าได้ทำาประโยชน์และ หน้าที่มาอย่างเต็มที่แล้ว อีริคสันถือว่าชวีิตของ

คนเรา แต่ละวัยจะมีปญัหา บางคนก็สามารถแก้ ปญัหาด้วยตนเอง และดำาเนนิชวีิตไปตามขั้น

แต่บางคนก็แก้ปัญหาเองไม่ได้ อาจจะต้องไป พบจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยาช่วยเพื่อแก้ปญัหา

แต่บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลเป็นเรื่องที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และทุกคนมีโอกาสที่จะ

แก้ไขบุคลิกภาพของตน และผู้ใหญ่ที่อยู่แวดล้อมก็มีสว่นที่จะชว่ยส่งเสริมหรือแก้ไข

บคุลิกภาพของผู้เยาว์ที่อยู่ในความดูแลให้เจริญ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสขุ