17
คูมือ การบริหารจัดการเกี่ยวกับยาเคมีบําบัด การรั่วของยาเคมีบําบัดออกนอกเสนเลือด (Extravasations) การจัดการกับยาเคมีบําบัดที่หกหรือตกแตก (Spillage Management) การปฐมพยาบาลเมื่อสัมผัสกับยาเคมีบําบัดโดยไมไดตั้งใจ (Cytotoxic drugs exposures management) งานเตรียมยาเคมีบําบัด กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี 2553

Pharmacy Management Manual

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Pharmacy Management Manual

คูมือ การบริหารจัดการเกี่ยวกับยาเคมีบําบัด

การรั่วของยาเคมีบาํบัดออกนอกเสนเลือด

(Extravasations) การจัดการกับยาเคมีบําบัดทีห่กหรือตกแตก

(Spillage Management) การปฐมพยาบาลเมื่อสัมผัสกับยาเคมบีําบัดโดยไมไดตั้งใจ

(Cytotoxic drugs exposures management)

งานเตรียมยาเคมีบาํบัด กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี

2553

Page 2: Pharmacy Management Manual

สารบัญ หนา การบริหารยาเคมีบําบัดแกผูปวยบนหอผูปวย 1 ขอควรปฏิบัติในการดูแลผูปวยที่ไดรับยาเคมีบําบัด 2 ขอควรปฏิบัติในการบรหิารยา Vesicants 3 และเมื่อเกิดการรั่วซึมของยาเคมีบําบัดออกนอกเสนเลือด การทําความสะอาดเมื่อเกิดอุบัติเหตุ 5 การปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อไดรับสัมผัสกับยาเคมีบําบัด 6 ภาคผนวก 7

อัตราการขับยาเคมีบําบัดออกจากรางกาย แบบฟอรมรายงานเมื่อเกิดการหกหรอืตกแตกของยาเคมีบําบัด Extravasations Management Protocol

Page 3: Pharmacy Management Manual

การบริหารยาเคมีบําบัดแกผูปวยบนหอผูปวย

ยาเคมีบําบัดที่จะบริหารยาใหแกผูปวยควรเปนยาที่เตรียมอยูในรูปสารละลายเจือจางหรือผสมใชสําหรับฉีด โดยทําการเตรียมยาจากหนวยผสมยาเคมีบําบัดกลุมงานเภสัชกรรม จึงควรปฏิบัติดังนี้

1. ใหพยาบาลผูมีหนาที่หลักในการบริหารยา ตรวจสอบความถูกตองโดยทั่วไปตามหลัก 7R เพื่อเปนการประกันคุณภาพของการบริหารยาเคมีบําบัดใหแกผูปวย

2. กรณีที่ยาเม็ดเคมีบําบัดที่ตองหักแบงครึ่งควรหักแบงในถุงพลาสติกที่ปดสนิท 3. ใชที่คีบยาในการจายยาเม็ดเคมีบําบัดแกผูปวย ไมควรใชมือเปลาหยิบยา 4. กรณีที่ตองบดยาเม็ดเคมีบําบัดใหเปนผง หรือแกะยาออกจากแคปซูลเพื่อใหยาทางสายยาง (

feeding tube) ใหสงมาเตรียมที่กลุมงานเภสัชกรรม ณ หนวยผสมยาเคมีบําบัด 5. เมื่อไดรับเตรียมยาเคมีบําบัดที่เตรียมหรือผสมเสร็จแลว ใหเก็บยาแยกจากยาอื่นๆ ใน กรณีที่ยัง

ไมไดเวลาใหยา 6. สายหรือเครื่องใหยาทางหลอดเลือดดําตองใช physiological saline solution หลอในสายกอน 7. ในการแทง Infusion Set ตองแทงในตําแหนงที่วางตั้งอยู ไมควรแทงหัวเข็มขณะที่ขวดยาหรือถุง

ยาแขวนอยู 8. หลังบริหารยาเคมีบําบัดเสร็จแลว หามดึงสาย infusion set ออกจากขวดยา ใหทิ้งอุปกรณทั้งหมด

ลงในถุงขยะเคมีบําบัด(ถุงขยะสีเหลืองเทานั้น) 9. ผูปฏิบัติงานควรสวมเสื้อคลุมยาว (gown) ถุงมือ และ Mask เพื่อปองกันรางกายสัมผัสกับยาเคมี

บําบัด 10. เมื่อถุงหรือขวดยาเคมีบําบัดตกแตกซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นไดบอย ใหใช Spill Kit ที่มีประจําการบน

หอผูปวยทําความสะอาด พรอมเขียนใบรายงานอุบัติการณไปที่ คณะกรรมการความเสี่ยงและที่หนวยเตรียมยาเคมีบําบัด กลุมงานเภสัชกรรม ในกรณีที่สงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอการปฏิบัติให ติดตอขอขอมูลเพิ่มเติมหรือ สอบถามไดที่ เบอร 1515, 1510

1

Page 4: Pharmacy Management Manual

การบริหารจดัการเรื่องชีวอนามัยของผูปวยท่ีไดรับยาเคมีบําบดั ในหอผูปวย ผูปวยที่ไดรับยาเคมีบําบัดจําเปนตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ในเรื่องการจัดการกับสิ่ง

ขับถายของผูปวย เนื่องจากยาเคมีบําบัดสวนใหญเมื่อผานขบวนการเปลี่ยน$แปลงยาในรางกายแลวยายังคงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล และยาบางชนิดตองผานขบวนการเปลี่ยนแปลงยาในรางกายในรางกายกอนจึงจะสามารถออกฤทธิ์ได เชน Cyclophosphamide จะถูกขับออกมาทางปสสาวะในรูปเดิมประมาณ 20% และอยูในรูปของ metabolite ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งเซลลบางสวนอยู ประมาณ 40% นอกจากนี้ยาเคมีบําบัดบางชนิดอาจตองใชเวลาในการขับยาออกจากรางกายทางอุจจาระนานถึง 3 สัปดาห เชน Vinblastine, Vincristine และ Vindesine ซึ่งระยะเวลาในการขับออกของยาแตละชนิดสามารถเปดดูไดจากขอมูลท่ีแนบมาดวยในภาคผนวก

ขอควรปฏิบติัในการดูแลผูปวยท่ีไดรับยาเคมีบําบดั 1. คลุมเตียงผูปวยดวยผาพลาสติก อาจจะจําเปนมากในกรณีที่ผูปวยไมสามารถชวยเหลือตนเอง

ได 2. กําจัดสารคัดหลั่งของผูปวยโดยเทลงในโถชําระ 3. สวมถุงมือ เสื้อกาวนและหนากากปองกันทุกครั้งที่ตองจัดการกับสารคัดหลั่งหรือทําความ

สะอาด 4. ภาชนะที่รองรับสารคัดหลั่งของผูปวยตองระมัดระวังเปนพิเศษ 5. ผาที่ปนเปอนสารคัดหลั่งของผูปวยจะตองแยกสงซักพรอมติดฉลากระบุชัดเจนวา “ผา

ปนเปอนยาเคมีบําบัด”

2

Page 5: Pharmacy Management Manual

ขอควรปฏิบติัในการบริหารยา Vesicants หลักการทั่วไปคือ

1. ในกรณียาที่มีคุณสมบัติเปน Vesicants ตองใชเทคนิคการบริหารยาดังนี้ 1.1. รายการยาดังตอไปนี้จัดเปน Vesicant Drugs

1.1.1. Actinomycin-D(Dactinomycin, Cosmegen®) 1.1.2. Doxorubicin(Adriamycin®, Adriablastina) 1.1.3. Idarubicin(Zavedos®) 1.1.4. Vincristine(Oncovin®) 1.1.5. Vinblastine

1.2. การบริหารยาขางตนจะตองเลือกเสนเลือดดําที่มีขนาดใหญ เนื่องจากมีความยืดหยุนสูงและจะตองไมอยูในตําแหนงที่ใกลขอตางๆ ในรางกาย โดยสวนมานิยมเสนเลือดบริเวณตนแขน แนะนํา Cephalic vein หรือ Basalic vein หรือ medial antebrachial vein (มิใชเสนเลือดตามขอพับหรือหลังมือเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวไดงายและเสี่ยงตอการเกิด Extravasation)

1.3. การฉีดหรือเดินยาจะตองทําดวยความระมัดระวังไมรีบรอน 1.4. วิธีฉีดควรใช Two Syringe technique ดังนี้

1.4.1. Syringe อันที่ 1 บรรจุ 0.9% NSS จํานวน 10 มิลลิลิตร สวน Syringe อันที่ 2 บรรจุยาเคมีบําบัด

1.4.2. ถาสามารถแทงเสนเลือดไดแลวใหลองเดินสารละลาย 0.9% NSS 5 มิลลิลิตรกอนเพื่อเปนการทดสอบวาเสนเลือดนั้นใชการไดดีโดยการเดินสารละลายเขาไปในเสนเลือดประมาณ 5 มิลลิลิตร จากนั้นถอดเข็มอันที่ 1 ออกตอดวยเข็มอันที่ 2 ซึ่งบรรจุยาเคมีบําบัดอยู ในระหวางการเดินยาจะตองดูดยากลับทุกๆ 2-3 มิลลิลิตร ของยาเคมีบําบัดที่ฉีดให เมื่อเดินยาเคมีบําบัดหมดใหตอเข็มอันที่ 2 แลวเดินสารละลายที่เหลืออยูในเข็มอีก 5 มิลลิลิตร เพื่อไลยาออกไปจากบริเวณที่ฉีด

3

Page 6: Pharmacy Management Manual

1.5. ถาเสนเลือดที่ใชเดินยาเกิดแตก รั่วซึม จะตองเปลี่ยนที่แทงเข็มใหม โดยตําแหนงใหมจะตองอยูสูงกวาตําแหนงเดิมเสมอ

2. ถาพบวาเกิดการรั่วของยาเคมีบําบัดออกนอกเสนเลือดใหหยุดฉีดยาทันทีแตยังไมตองดึงเข็มออกจากตัวผูปวย 2.1. อาการหรือสิ่งที่สามารถบงชี้ไดคือ

2.1.1. เจ็บหรือแสบรอนบริเวณที่ฉีดยา มีอาการบวม ไมสามารถ aspirate เลือดไดระหวางการใหยา

2.1.2. Slow IV Push: มีแรงตานสูงกวาเดิมระหวางการฉีดยา (resistance) 2.1.3. IV Sidearm: น้ําเกลือในขวดที่กําลังหยด freeflow หยดชาลงกวาเดิม 2.1.4. บริเวณที่ฉีดยาอาจมีการพองตัวของผิวหนัง (blister formation) มีการแตกเปนแผล หรือมี

ผิวหลุดลอกออก (ulceration and sloughing) จนถึงมีบริเวณที่เนื้อตายรอบๆ ได (necrosis) อาการเหลานี้มักจะแสดงใหเห็นภายในเวลา 2-7 วันหลังจากการรั่วไหลของยา

3. เปลี่ยนใชหลอดฉีดยาอันใหม พยายามดูดเลือด หรือยาออกจากเข็มที่คาไวใหมากที่สุด เพื่อเปนการลดปริมาณการคั่งคางของยาที่ไดรั่วออกไป

4. แจงใหแพทยทราบ พรอมรายงานมาที่ 1510, 1515 5. ดําเนินการแกไขโดยใช Extravasation Management Protocol 6. ในรายที่มีอาการรุนแรงหากกอาการไมดีข้ึนภายในเวลา 72 ชั่วโมง ควรที่จะตองปรึกษาศัลยแพทยเพื่อ

ทํา Debridement 7. ติดตามอาการของผูปวยอยางสม่ําเสมอ หากเปนผูปวยนอกอาจติดตอทางโทรศัพท โดยใหคําแนะนํา

ในการดูแลผูปวยเกี่ยวกับอาการที่อาจเกิดขึ้นได และใหผูปวยติดตอเขามาทันทีถามีอาการผิดปกติเกิดขึ้น

4

Page 7: Pharmacy Management Manual

แนวทางการทําความสะอาดยาเคมีบําบัดที่หกหรือตกแตก กั้นคนออกจากสถานที่เกิดเหตุ(ถาเปนหองปรับอากาศใหปดระบบปรบัอากาศ แลวเปดประตูหรือหนาตางใหมีการไหลเวยีนของอากาศใหมากที่สุด) โดยใหมีเฉพาะคนที่จะจดัการทําความสะอาดยาเคมีบําบัดที่หกหรือตก

แตกเทานั้น

ใชชุดอุปกรณที่มีใหในชุดทาํความสะอาด โดยสวมหมวก แวนตา ใส Mask สวมเสื้อกันเปอน ใสถุงมือ(2 ช้ัน) สวมรองเทา

ผงแหง สารละลาย ใชวัสดุดดูซับชุบน้ําพอหมาดเช็ดทําความสะอาด ในกรณีที่มีเศษแกวใหแยกออกใหมาก โดยเช็ดทําความสะอาดใหมากที่สุด ที่สุดใสในกระปองที่เตรียมเอาไวให ใชสารทําความสะอาดที่เตรยีมไวให ใชวัสดุดดูซับ ซับสารละลายใหมากที ่ทําความสะอาดอีกครั้ง สุด ใชน้ําสะอาดทีเ่ตรียมไวให ทําความสะอาดดวยสารทําความ ทําความสะอาดอีกครั้ง สะอาดที่เตรียมไวใหแลวตามดวย น้ําสะอาด เช็ดใหแหงดวยวัสดดุูดซับทีเ่หลือ เช็ดใหแหงดวยวัสดดุูดซับทีเ่หลือ

ทิ้งอุปกรณและวัสดุตางๆ ทีใ่ชลงในถุงสีเหลืองที่เตรียมเอาไวให

เขียนใบรายงานอุบัติการณ

สงใบกลับมาที่หนวยเตรยีมยาเคมีบําบัด

กลุมงานเภสัชกรรม ช้ัน 3 อาคารเภสัชกรรม(ตัวอยางแบบฟอรมแสดงในภาคผนวก)

5

Page 8: Pharmacy Management Manual

คูมือการปฐมพยาบาลเบื้องตน

ลางบริเวณท่ีสัมผัสยาดวยน้าํสะอาดหลายๆครั้ง โดยระยะเวลาจะตองมากกวา 15 นาที โดยมีการปฐมพยาบาลเบื้องตนตามยาทีไ่ดรับสัมผัสดงันี ้

Bleomycin ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที Carboplatin ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที กรณีที่มีอาการปวดแสบปวดรอนใหทาดวยครีม

บางๆ ที่ใหความเย็น Cisplatin ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที กรณีที่มีอาการปวดแสบปวดรอนใหทาดวยครีม

บางๆ ที่ใหความเย็น Cyclophosphamide ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันทกีรณีที่ยาเคมีบําบัด

สัมผัสกับดวงตาใหลางตาดวยสารละลาย 0.9% โซเดียมคลอไรด Cytarabine ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที กรณีที่ยาเคมีบําบัดสัมผัสกับดวงตาใหลางตาดวย

สารละลาย 0.9% โซเดียมคลอไรด Dactinomycin ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําหรือสารละลายโซเดียม

ฟอสเฟต Doxorubicin ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที หรือ สารละลาย

โซเดียมไบคารบอเนต กรณทีี่ยาเคมีบําบัดสัมผัสกับดวงตาใหลางตาดวยสารละลาย 0.9% โซเดียมคลอไรด Etoposide ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที 5-FU ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที Idarubicine ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําและสบูทันที หรือ สารละลาย

โซเดียมไบคารบอเนต กรณีที่ยาเคมีบําบัดสัมผัสกับดวงตาใหลางตาดวยสารละลาย 0.9% โซเดียมคลอไรด Methotrexate ลางบริเวณที่สมัผัสกับยาเคมีบําบัดดวยน้ําทันที กรณีที่มีอาการปวดแสบปวดรอนใหทาดวยครีมบางๆ

กรณีที่ยาเคมีบําบัดสัมผัสกับดวงตาใหลางตาดวยสารละลาย 0.9% โซเดียมคลอไรด Mitomycin กรณีที่มีการระคายเคืองมากใหลางดวยสารละลาย 8.4%โซเดียมไบคารบอเนตแลวลางดวยน้ําและสบูซ้ํา

อีกครั้ง หลีกเลี่ยงการทาครีมบริเวณดังกลาว ยาเคมีบําบัดตัวอ่ืนๆ ลางบริเวณที่สัมผัสกับยาเคมีบําบัดดวยทันที และทําการลางซ้ําหลายๆ ครั้ง

ติดตอ หรือรายงานหัวหนาหนวยงาน

เม่ือยาสัมผัสเยื่อบุตา ใหลางดวยน้ําสะอาดหลายๆครั้งอยางนอย 15 นาที สงปรึกษาจกัษุแพทยหรือเม่ือกลืนยา

เคมีบําบัดใหตดิตอแพทยทันที

6

7

Page 9: Pharmacy Management Manual

ภาคผนวก

Page 10: Pharmacy Management Manual
Page 11: Pharmacy Management Manual
Page 12: Pharmacy Management Manual
Page 13: Pharmacy Management Manual

แบบบันทึกรายงานอุบัติการณยาเคมีบําบัดหกหรือตกแตก งานเตรียมยาเคมีบาํบัด กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี

โทร 1510, 1515

สวนท่ี 1 : ขอมูลท่ัวไปของผูรายงานเหตกุารณ ช่ือผูรายงาน_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ ตําแหนง_ _ _ _ _ _ _ _ _ วันที่รายงาน_ _ _ _ _ _ _ _ _ หนวยงาน/ตึก_ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _หมายเลขโทรศัพท_ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

สวนท่ี 2 รายละเอียดของเหตุการณท่ีเกิด วันที่เกิดเหต_ุ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ เวลา_ _ _ _ _ _ _ _ _ จุดเกดิเหต_ุ _ _ _ _ _ _ _ __ ช่ือยาเคมีบําบดัที่หกหรือตกแตก_ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ ลักษณะของยาที่หกหรือตกแตก ผงแหง สารละลาย รายละเอียดของเหตุการณ_ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ __ _ _ _ _ _ _ _ _ การบริหารจัดการ ทําความสะอาดพื้นทีห่รือจุดเกดิเหตดุวย ชุดทําความสะอาดของยาเคมีบําบัด เขียนบนัทกึอุบัติการณเพือ่รายงานตามขั้นตอนของการรายงานความเสี่ยง

โทรแจงเภสัชกรผูมีหนาที่รับผิดชอบที่เบอร 1510, 1515 เพื่อรับทราบและรวมกันหาแนวทางแกไขปองกันเหตกุารณดังกลาวตอไป

ในกรณีทีม่ีผูไดรับสัมผัสโดยตรงตอยาเคมีบําบัดหรือผูไดรับบาดเจ็บ ไดทําการปฐมพยาบาลเบื้องตนตามหลักการการปฐมพยาบาลสําหรับผูที่ไดรับสัมผัสตอยาเคมีบําบัด

_ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _

ผูไดรับบาดเจบ็และการไกไขเบื้องตน _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _ _ __ _

Page 14: Pharmacy Management Manual

Extravasations Management Protocol

Vesicants Non-Vesicants Irritants Minimal None

Epirubicin Mitomycin-C Dactinomycin Doxorubicin Idarubicin Vinblastine(ประคบรอน) Vincristine(ประคบรอน)

Cisplatin(CDDP) Docetaxel Irinotecan Etoposide(VP-16) Ifosfamide Fluorouracil(5-FU) Mitoxantrone Mesna(undiluted) Paclitaxel Liposomal Doxorubicin Oxaliplatin(ประคบรอน)

Methotrexate Carboplatin

Asparaginase Bleomycin Cyclophosphamide Cytarabine Leucovorin

ฉลากแสดงยาในกลุม

Vesicant Drugs (ฉลากสีชมพู)

ฉลากแสดงยาในกลุม Non-Vesicant Drugs

(ฉลากสีเหลือง)

แนวทางสําหรับการแกไขกรณีที่ยาเคมีบําบัดรั่วออกนอกเสนเลือดดาํ สําหรับ Non-Vesicant Drugs

1. หยุดใหยาแกผูปวยทันทีแลวพยายามดึงเอายาภายในเสนเลือดที่ใหยาแกผูปวยออกมาใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดจากนั้นแจงใหแพทยเจาของไขทราบ

2. ใหถอด IV line ออก

3. ใหยกอวัยวะบริเวณท่ีเกิด extravasation สูงขึ้น(ถายกได) หรอืใชอุปกรณชวยเพื่อยกหรือหนุนใหบริเวณท่ีเกิด Extravasation น้ันสูงกวาบริเวณอ่ืนๆ

4. ใหใช ice pack หุมดวยผา เพื่อประคบเย็นเปนเวลา 1 ช่ัวโมงทุก ๆ 4 ช่ัวโมง แตตองคอยดูเพื่อปองกันการเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากความเย็นที่มากเกินไป

5. ให restart ยาเคมีบําบัดอีกครั้งโดยเลือกหลอดเลือดที่มีขนาดใหญและบริเวณท่ีใหยานั้นจะตองไมอยูบริเวณขอพับ

6. ใหสังเกตบริเวณท่ีเกิด Extravasation ถายังมีผ่ืนบวมแดงหรือมีอาการปวดมากขึ้นติดตอกันนานเกิน 2-3 วัน ให Notify แพทย(ถาม ีnecrotic tissue มาก ให พิจารณาสง Consult ศัลยกรรมเพื่อพิจารณาทํา debridement)

7. ถามีผ่ืนแดงใหใช Hydrocortisone 1% cream หรือ Prednisolone cream หรือ 0.1% TA cream ทาผื่นวันละ 2 ครั้ง

Page 15: Pharmacy Management Manual

แนวทางสําหรับการแกไขกรณีที่ยาเคมีบําบัดรั่วออกนอกเสนเลือดดาํ สําหรับ Vesicant Drugs อันไดแก IDARUBICIN, DOXORUBICIN, EPIRUBICN and MITOMYCIN

1. หยุดใหยาแกผูปวยทันทีแลวพยายามดึงเอายาภายในเสนเลือดที่ใหยาแกผูปวยออกมาใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดจากนั้นแจงใหแพทยเจาของไขทราบ

2. ใหถอด IV line ออก

3. ใหยกอวัยวะบริเวณท่ีเกิด extravasation สูงขึ้น(ถายกได) หรอืใชอุปกรณชวยเพื่อยกหรือหนุนใหบริเวณที่เกิด Extravasation น้ันสูงกวาบริเวณอ่ืนๆ

4. ใหใช ice pack หุมดวยผา เพื่อประคบเย็นเปนเวลา 1 ช่ัวโมง ทุก ๆ 4 ช่ัวโมง แตตองคอยดูเพื่อปองกันการเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากความเย็นที่มากเกินไป

5. ให restart ยาเคมีบําบัดอีกครั้งโดยเลือกหลอดเลือดที่มีขนาดใหญและบริเวณท่ีใหยานั้นจะตองไมอยูบริเวณขอพบั

6. ใหสังเกตบริเวณท่ีเกิด Extravasation ถายังมีผ่ืนบวมแดงหรือมีอาการปวดมากขึ้นติดตอกันนานเกิน 2-3 วัน ให Notify แพทย

7. ใหสังเกตดูบริเวณท่ีเกิด extravasation ถามีรอยโรคมากขึ้นเชน บวม แดงหรือมี necrosis มีอาการปวด ให Notify แพทย เพื่อ Consult ศัลยกรรม พิจารณาทํา debridement

8. ถาบาดแผลกวางและจําเปนตองทําแผล หามใช Wet(Occlusion) Dressing เพราะจะทําใหเกิด blister ได ใหใช Dry Dressing เทาน้ัน

9. ถามีผ่ืนแดงใหใช Hydrocortisone 1% cream หรือ Prednisolone cream หรือ 0.1% TA cream ทาผื่นวันละ 2 ครั้ง

Page 16: Pharmacy Management Manual

แนวทางสําหรับการแกไขกรณีที่ยาเคมีบําบัดรั่วออกนอกเสนเลือดดาํ สําหรับ Vesicant Drugs อันไดแก VINBLASTINE and VINCRISTINE

1. หยุดใหยาแกผูปวยทันทีแลวพยายามดึงเอายาภายในเสนเลือดที่ใหยาแกผูปวยออกมาใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดจากนั้นแจงใหแพทยเจาของไขทราบ

2. ใหถอด IV line ออก

3. ใหยกอวัยวะบริเวณท่ีเกิด extravasation สูงขึ้น(ถายกได) หรอืใชอุปกรณชวยเพื่อยกหรือหนุนใหบริเวณที่เกิด Extravasation น้ันสูงกวาบริเวณอ่ืนๆ

4. ใหใช hot pack หุมดวยผา เพื่อประคบเย็นเปนเวลา 1 ช่ัวโมง ทุกๆ 4 ช่ัวโมงแตตองคอยดูเพื่อปองกันการเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากความรอนที่มากเกินไป

5. ให restart ยาเคมีบําบัดอีกครั้งโดยเลือกหลอดเลือดที่มีขนาดใหญและบริเวณท่ีใหยานั้นจะตองไมอยูบริเวณขอพบั

6. ใหสังเกตบริเวณท่ีเกิด Extravasation ถายังมีผ่ืนบวมแดงหรือมอีาการปวดมากขึ้นติดตอกันนานเกิน 2-3 วัน ให Notify แพทย

7. ใหสังเกตดูบริเวณท่ีเกิด extravasation ถามีรอยโรคมากขึ้นเชน บวม แดงหรือมี necrosis มีอาการปวด ให Notify ศัลยกรรม เพื่อ debridement

8. ถามีผ่ืนแดงใหใช Hydrocortisone 1% cream หรือ Prednisolone cream หรือ 0.1% TA cream ทาผื่นวันละ 2 ครั้ง

Page 17: Pharmacy Management Manual

แนวทางสําหรับการแกไขกรณีที่ยาเคมีบําบัดรั่วออกนอกเสนเลือดดาํ สําหรับ

OXALIPLATIN

1. หยุดใหยาแกผูปวยทันทีแลวพยายามดึงเอายาภายในเสนเลือดที่ใหยาแกผูปวยออกมาใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดจากนั้นแจงใหแพทยเจาของไขทราบ

2. ใหถอด IV line ออก

3. ใหยกอวัยวะบริเวณท่ีเกิด extravasation สูงขึ้น(ถายกได) หรอืใชอุปกรณชวยเพื่อยกหรือหนุนใหบริเวณที่เกิด Extravasation น้ันสูงกวาบริเวณอ่ืนๆ

4. ใหใช hot pack หุมดวยผา เพื่อประคบเย็นเปนเวลา 1 ช่ัวโมงทุก ๆ 4 ช่ัวโมง แตตองคอยดูเพื่อปองกันการเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากความรอนที่มากเกินไป

5. ให restart ยาเคมีบําบัดอีกครั้งโดยเลือกหลอดเลือดที่มีขนาดใหญและบริเวณท่ีใหยานั้นจะตองไมอยูบริเวณขอพบั

6. ใหสังเกตบริเวณท่ีเกิด Extravasation ถายังมีผ่ืนบวมแดงหรือมีอาการปวดมากขึ้นติดตอกันนานเกิน 2-3 วัน ให Notify แพทย

7. ใหสังเกตดูบริเวณท่ีเกิด extravasation ถามีรอยโรคมากขึ้นเชน บวม แดงหรือมี necrosis มีอาการปวด ให Notify ศัลยกรรม เพื่อ debridement

8. ถามีผ่ืนแดงใหใช Hydrocortisone 1% cream หรือ Prednisolone cream หรือ 0.1% TA cream ทาผื่นวันละ 2 ครั้ง