44
พระบฏ : พุทธประวัติ พรธีรา พลายด้วง

Phra-Bod Wat-Tung-Auan

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Thai painting on fabric ,Buddha's biography ,Analysis

Citation preview

Page 1: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

พระบฏ : พุทธประวัติ

พรธีรา พลายด้วง

Page 2: Phra-Bod Wat-Tung-Auan
Page 3: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

พระบฏ : พุทธประวัติ

พรธีรา พลายด้วง

วัดกาญจนาราม (ทุ่งอ่วน) จังหวัดแพร่

Page 4: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

คติและการสร้างผ้าพระบฏ ในพจนานกุรมฉบบัราชบณัฑติสถานได้ให้ค�าจ�ากดัความของค�าว่า“บฏ”

หมายถึงผ้าทอผืนผ้าพระบฏคือผืนผ้าที่ทีรูปพระพุทธเจ้าเป็นต้นแขวนไว้เพื่อ

บูชามีรากศัพท์ในภาษาบาลีว่าปฏ(อ่านว่าปะ-ตะ)

การสร้างพระบฏในคตดิัง้เดมิเป็นการประดบัหรือแขวนห้อยภายในศาสน-

สถาน เพื่อประโยชน์ของการตกแต่งและสั่งสอนแก่พุทธศาสนิกชน และเป็นการ

ถ่ายทอดเรื่องราวในพระพุทธศาสนา จึงเป็นคตินิยมของพุทธศาสนิกชนในระยะ

เวลาต่อมาที่ต้องการสืบทอดพระศาสนาและอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับและที่

ส�าคัญเพือ่เป็นอานสิงส์แก่ตนเองและบคุคลในครอบครัวเมือ่ตายไปแล้วจะได้ขึน้

สวรรค์และอยู่ในพระศาสนาพระศรีอริยเมตไตรยที่ด้านล่างของผืนผ้าพระบฏจึง

มกัปรากฏข้อความกล่าวถงึผูส้ร้างและปีทีส่ร้างแต่การสร้างพระบฏในระยะหลงัๆ

นั้นเปลี่ยนไป นอกจากจะท�าถวายวัดเพื่ออุทิศส่วนบุญกุศลแล้ว ยังมีไว้เพื่อบูชา

สกัการะภายในบ้านเมือ่ความต้องการมมีากพระบฏจงึเริม่กลายเป็นงานพทุธศลิป์

เชงิพาณชิย์เนือ่งจากมกีารซือ้ขายซึง่เป็นสาเหตท่ีุท�าให้พระบฏเปล่ียนแปลงไปท้ัง

รปูแบบวสัดุและเร่ืองราวทีเ่ขยีนทีข่ึน้อยูก่บัความนยิมและความต้องการของตลาด

ตั้งแต่พุทธศักราช๒๕๔๑เป็นต้นมาการท�าพระบฏเปลี่ยนแปลงไปมากจากเดิม

ที่เขียนลงบนผืนผ้า เปลี่ยนเป็นการเขียนแล้วพิมพ์ลงบนกระดาษขนาดเล็กแต่ยัง

เรียกว่าพระบฏอยู่เช่นเดิม

๒ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 5: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

พระบฏในล้านนา ในคติทางภาคเหนือนิยมสร้างตุง หรือ ธง ประดับในงานเทศกาลและ

งานพิธีต่างๆทั้งงานมงคลและอวมงคลโดยมีวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายหลาย

ประการ คือ เพื่อเป็นพุทธบูชา สร้างกุศลให้ตนเองและอุทิศส่วนกุศลให้แก่

ผู้ล่วงลับไปแล้วและจะได้ขึ้นสวรรค์

-เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองศาสนสถานศาสนวัตถุต่างๆหรือสิ่งของที่เป็น

สาธารณะประโยชน์

- เพื่อการสะเดาะห์เคราะห์ขจัดภัยพิบัติต่างๆให้หมดไป โดยเฉพาะภัย

ที่เชื่อว่า เกิดจากภูตผีปีศาจ หรือบาปกรรมทั้งหลาย ด้วยการต่ออายุหรือสืบ

ชะตา

- เพื่อใช้ในทางไสยศาสตร์ ท�าเสน่ห์ บูชาผีสางเทวดา และเพื่อใช้ใน

พิธีกรรมและเทศกาลต่างๆ เช่นพิธีสวดพระพุทธมนต์พิธีสืบชะตาการตั้งธรรม

หลวงงานปอยหลวงทอดกฐินประเพณีสงกรานต์และประเพณีเกี่ยวกับคนตาย

เป็นต้น

ภาพจิตรกรรมผ้าพระบฏวัดกาญจนาราม จ.แพร ่ ผ้าพระบฏวัดกาญจนาราม จ�านวน ๓๖ผืน เขียนเรื่องพุทธประวัติ

จ�านวน ๒๔ ผืน และเขียนเรื่องพระเวสสันดรชาดก จ�านวน ๑๒ ผืน

จากการส�ารวจและเกบ็ข้อมลูเป็นภาพทีเ่ขยีนพทุธประวัติตัง้แต่ประสูติ

จนถงึแจกธาตพุระพทุธองค์ซึง่ได้เทยีบเคยีงข้อมลูภาพพระบฏกบัหนงัสือสมดุภาพ

พระพุทธประวัติ ฉบับอนุรักษ์ภาพเขียนทางพระพุทธศาสนาโดยครูเหมเวชกร

มีรายละเอียดดังนี้

พระบฏ : พุทธประวัติ ๓

Page 6: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑ " ประสูติ " ขนาด ๖๘ x ๘๑ เซนติเมตร พระนางสริมิหามายาพร้อมเหล่าข้าราชบรพิารเสด็จไปท่ีเมอืงเทวทหนคร

บ้านเกดิของพระนางแต่ระหว่างทางเมือ่เสดจ็ถงึพระราชอทุยานลมุพนิวีนัพระนาง

ทรงประชวรพระครรภ์และได้ประสตูพิระราชโอรสภายใต้ร่มไม้สาละในตอนสาย

ของวันนั้นพอประสูติแล้วพระราชโอรสได้ทรงด�าเนินด้วยพระบาท๗ก้าวมีดอก

บัวรองรับพระบาทในแต่ละก้าว

๔ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 7: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๒ " แรกนาขวัญ " ขนาด ๗o x ๘๒ เซนติเมตร ตามขนบธรรมเนียมของเหล่าศากยวงศ์สมัยนั้นทุกๆปีจะมีพิธีแรกนาขวัญ

เพื่อความอุดมสมบูรณ์พืชพันธุ์ธัญญาหารพระเจ้าสุทโธทนะได้พาเจ้าชายสิทธัตถะไป

ทอดพระเนตรพระราชพิธีแรกนาขวัญด้วย

ขณะเจ้าชายสิทธัตถะประทับใต้ต้นไม้เพียงล�าพัง ทรงก�าหนดลมหายใจเข้า

ออกจนจิตเป็นสมาธิและบังเกิดสิ่งอัศจรรย์คือเงาไม้ไม่ได้เคลื่อนไปตามกาลพระเจ้า

สุทโธทนะเห็นดังนั้นก็ทรงเลื่อมใสถวายบังคมพระโอรส

พระบฏ : พุทธประวัติ ๕

Page 8: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๓ " สมโภชพระกุมาร " ขนาด ๗o x ๘๒ เซนติเมตร อสติดาบสซึง่เป็นทีน่บัถอืของราชสกลุทราบข่าวประสตูพิระราชโอรสจงึ

เข้ามาเยีย่มพระเจ้าสทุโธทนะทรงต้อนรับและได้อุม้พระราชโอรสออกมาเพือ่จะ

ให้นมัสการพระดาบสพระดาบสเหน็พระราชโอรสมลีกัษณะต้องด้วยต�าหรบัมหา

บุรุษลักษณะเป็นมหัศจรรย์ได้กราบลงที่พระบาทของพระราชโอรสและท�านาย

ว่าถ้าอยูค่รองฆราวาสจะได้เป็นจกัรพรรดริาชถ้าทรงผนวชจะได้เป็นพระอรหนัต์

สัมมาสัมพุทธเจ้า

๖ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 9: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๔ " ยกธนู " ขนาด ๗๒ x ๘๒ เซนติเมตร

เมื่อพระสิทธัตถะมีพระชนม์เจริญขึ้น ได้ทรงเข้าศึกษาในส�านักครูวิศวา-

มิตร ทรงเรียนรู้ได้รวดเร็ว จนจบสิ้นความรู้ของอาจารย์ได้ทรงยกศรแสดงศิลปะ

ธนู ซึ่งถือว่าเป็นศิลปศาสตร์ส�าคัญส�าหรับกษัตริย์ ในท่ามกลางพระบรมวงศานุ-

วงศ์และเสวกามาตย์ราชบริพาร

พระบฏ : พุทธประวัติ ๗

Page 10: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๕ " อภิเษกสมรส " ขนาด ๗o x ๘o เซนติเมตร เมื่อพระสิทธัตถะมีพระชนมายุได้๑๖พรรษาพระราชบิดาเห็นว่าควรที่

จะมีพระชายาได้แล้วจงึตรสัไห้สร้างปราสาทข้ึน๓หลงัเพือ่เป็นทีป่ระทบัของพระ

ราชโอรสแต่ละฤดูใน๓ฤดกูาลแล้วได้ตรสัขอพระนางยโสธราหรือพมิพาราชธดิา

ของพระเจัาสุปปพุทธะกับพระนางอมิตามาอภิเษกเป็นพระชายาพระสิทธัตถะ

ประทับอยู่ในปราสาททั้ง๓นั้นบ�าเรอด้วยดนตรีซึ่งล้วนแต่สตรีประโคมเสวยสุข

ในโลกียสมบัติทั้งกลางวันกลางคืน

๘ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 11: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๖ " เทวทูตทั้ง ๔ " ขนาด ๗๒ x ๘๑ เซนติเมตร

วันหน่ึงขณะพระสิทธัตถะเสด็จประพาสพระราชอุทยานโดยรถม้า

พระที่นั่งระหว่างทางได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต๔คือคนแก่คนเจ็บคนตาย

และสมณะซึ่งเทวดาได้นิมิตไว้ทรงสลดสังเวชพระหฤทัยยิ่งนักด้วยทรงพิจารณา

เห็นว่าทุกคนล้วนต้องแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งสิ้น

พระบฏ : พุทธประวัติ ๙

Page 12: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๗ " หนีออกบรรพชา " ขนาด ๗๒ x ๘๒ เซนติเมตร

ดกึสงดัคนืหนึง่พระองค์ทรงตืน่บรรทมทอดพระเนตรเห็นพวกนางสนม

นอนหลบัเกล่ือนกลาดบ้างอ้าปากกดัฟันน�า้ลายไหลบ้างผ้านุง่หลดุบ้างกอดพณิ

ละเมอบ้างกลิ้งพลิกตัวไปมาบังเกิดความเบื่อหน่ายระอาโลกีย์วิสัยยิ่งนักจึงตัด

พระทัยระงับความเสน่หาในพระนางพิมพาและพระโอรสซึ่งบรรทมหลับสนิทอยู่

เสด็จออกจากห้องบรรทมรับสั่งให้นายฉันนะเตรียมม้าส�าหรับเสด็จ

๑o พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 13: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๘ " ทรงม้ากัณฑกะ " ขนาด ๗๑ x ๘๑ เซนติเมตร พระสิทธัตถะทรงม้าชื่อกัณฐกะ เสด็จออกจากพระราชวังในคืนนั้นมี

นายฉันนะมหาดเล็กตามเสด็จด้วยจนกระท่ังถึงแม่น�้าอโนมาเขตกั้นพรมแดน

ระหว่างแคว้นสักกะและแคว้นมคธ

พระบฏ : พุทธประวัติ ๑๑

Page 14: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๙ " ตัดพระเมาฬี " ขนาด ๖๗ x ๘o เซนติเมตร

ทีร่มิผัง่แม่น�า้อโนมาพระสทิธตัถะทรงใช้พระขรรค์ตดัพระเมาลีถอืเพศเป็น

บรรพชติทรงมอบเครือ่งภษูาทรงและม้ากณัฐกะให้นายฉนันะน�ากลบัไปยงัพระนคร

กบิลพัสดุ์ และกราบทูลให้พระบิดาและพระมารดาทรงทราบ เมื่อนายฉันนะ

ได้ทราบดังนั้นก็เศร้าใจเป็นอย่างมาก

๑๒ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 15: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑o " บ�าเพ็ญทุกรกิริยา " ขนาด ๖๙ x ๘o เซนติเมตร พระองค์ได้เสดจ็ถงึต�าบลอรุเุวลาเสนานคิมมนีกับวช๕คน(ปัญจวคัคย์ี)

ได้มาเฝ้าปรนนิบัติ ด้วยหวังว่าเมื่อพระองค์ ตรัสรู้แล้ว จักแสดงธรรมโปรดพวก

ตนบ้างพระองค์ทรงบ�าเพ็ญทุกรกิริยาทรมานพระกายด้วยประการต่างๆแต่ก็

มิได้ตรัสรู้อย่างใดจีงแน่พระทัยว่าทุกรกิริยาที่พระองค์ได้บ�าเพ็ญอย่างมิใช่ทาง

แห่งการตรัสรู้แน่นอนท้าวสักกะได้ดีดพิณสามสายถวายเสียงพิณจะไพเราะต่อ

เมื่อขึ้นสายพอดีไม่ตึงเกินไปหรือหย่อนเกินไป

พระบฏ : พุทธประวัติ ๑๓

Page 16: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑๑ " อธิษฐานบาตร " ขนาด ๗o x ๘o เซนติเมตร หลงัจากตรสัรู้พระพทุธเจ้าได้เสดจ็ไปประทับนัง่เสวยวมิตุติสขุอยูท่ีใ่ต้ต้น

เกตุมพ่ีอค้า๒คนชือ่ตปสุสะและภลัลกิะได้น�าข้าวสัตตุผงข้าวสัตตุก้อนเข้าไป

ถวายตอนนัน้พระองค์ยงัไม่มบีาตรท้าวจาตมุหาราช๔องค์ต่างน�าบาตรศลิาองค์

ละใบเข้าไปถวายพระองค์ทรงรบับาตรทัง้๔และอธษิฐานรวมเป็นใบเดยีวกันแล้ว

ทรงใช้บาตรนัน้รบัข้าวสตัตทุีพ่่อค้าทัง้สองถวายเมือ่พระองค์เสวยเสร็จแล้วพ่อค้า

ทั้งสองได้กราบทูลแสดงตนเป็นอุบาสก

๑๔ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 17: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑๒ " นางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส " ขนาด ๗o x ๘o เซนติเมตร

ขณะทีพ่ระองค์ประทับน่ังอยูใ่ต้ต้นโพธ์ินางสชุาดาบตุรสาวคฤหบดีได้น�า

ข้าวมธปุายาสใส่ถาดทองมาถวายโดยเข้าใจว่าพระองค์เป็นรกุขเทวาทีบ่นัดาลให้

นางได้บุตรชายสมปรารถนาตามที่ได้บนบานไว้หลังจากเสวยข้าวมธุปายาสแล้ว

ได้เสดจ็ไปลอยถาดทองท่ีรมิฝ่ังแม่น�า้เนรญัชราแล้วประทบัพกัผ่อนทีใ่ต้ร่มไม้สาละ

จนเย็นจึงเสด็จกลับไปที่ต้นโพธิ์

พระบฏ : พุทธประวัติ ๑๕

Page 18: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑๓ " พราหมณ์โสตถิยะได้ถวายหญ้าคา " ขนาด ๗o x ๘o เซนติเมตร ระหว่างทางพราหมณ์โสตถิยะได้ถวายหญ้าคาพระองค์ได้น�ามาปูลาดที่

โคนต้นโพธิ์เป็นอาสนะประทับนั่งขัดสมาธิ

๑๖ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 19: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑๔ " ชนะมาร " ขนาด ๗๑ x ๘๑ เซนติเมตร

พระยามารได้ยกพลเสนามารมาผจญ (เปรียบได้กับโลกียกิเลสทั้งหลาย

ปรากฏขึ้นในพระทัย) แสดงฤทธิ์ประการต่างๆ เพื่อขัดขวางมิให้พระองค์บรรลุ

พระสมัโพธญิาณตามทีไ่ด้ทรงตัง้พระทยัไว้นัน้ได้พระองค์มไิด้ทรงหวัน่ไหวคงด�ารง

พระทยัมัน่ร�าลกึถงึพระบารมี๑๐ทศัทีท่รงบ�าเพญ็มาโดยมพีระแม่ธรณเีป็นพยาน

ท�าให้กองทัพพระยามารแตกพ่ายไป

พระบฏ : พุทธประวัติ ๑๗

Page 20: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผนืท่ี ๑๕ " ปฐมเทศนาโปรดปัญจวคัคย์ี " ขนาด ๗๑ x ๗๙ เซนติเมตร วันขึ้น๑๕ค�่าเดือน๘พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคีย์อันเป็น

ปฐมเทศนาชือ่ว่าธมัจกักปัปวัตตสตูรสาระส�าคญัท่ีทรงเทศนากค็อืมชัฌมิาปฏปิทา

๑๘ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 21: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผนืที ่ ๑๖ " พระพทุธเจ้าประทบัท่ีสวนมะม่วง " ขนาด ๗o x ๘o เซนตเิมตร นายจุนทะเป็นลูกนายช่างทองได้ทราบข่าวว่าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วย

พระสงฆ์บรวิารเสดจ็มาพกัอยูท่ีส่วนมะม่วงของตนกอ็อกไปเฝ้าและฟังธรรมฟังจบ

นายจุนทะจึงกราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระสงฆ์เสด็จไปรับ

ภัตตาหารที่บ้านของตนในเวลาเช้าวันรุ่งขึ้น

พระบฏ : พุทธประวัติ ๑๙

Page 22: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑๗ " ปัจฉิมบิณฑบาต " ขนาด ๖๙ x ๗๙ เซนติเมตร นายจนุทะได้ถวายอาหารพระพทุธเจ้าและพระสงฆ์ทีบ้่านของตนอาหาร

อย่างหนึง่ทีน่ายจุนทะปรงุถวายพระพทุธเจ้าในวนันีม้ชีือ่ว่าสูกรมทัทวะพระพุทธ-

เจ้าทรงแสดงธรรมให้นายจุนทะและเสด็จต่อไปยังเมืองกุสินาราต่อไป

๒o พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 23: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผนืท่ี ๑๘ " โปรดให้พระอานนท์ตกัน�า้ถวาย " ขนาด ๗o x ๘o เซนตเิมตร ระหว่างทางเสดจ็ไปเมอืงกสุนิารามแีม่น�า้เลก็ๆมนี�า้ไหลพระพทุธเจ้าแวะ

ลงข้างทางเข้าประทบัใต้ร่มไม้แล้วตรสัให้พระอานนท์น�าบาตรไปตกัน�า้ในแม่น�า้

แต่พระอานนท์กราบทูลว่าแม่น�า้ตืน้เขินน�า้ในแม่น�า้ขุน่แล้วกราบทลูเชญิไปประทบั

ทีแ่ม่น�า้กุกกุฏนทซีึง่มแีม่น�า้ใสกว่าแต่พระพทุธเจ้าตดัปฎเิสธพระอานนท์จงึอุม้บาตร

เดินลงไปตักน�้าในแม่น�้าครั้นเข้าไปใกล้เพื่อจะตักน�้ากลับใสไม่ขุ่นมัวสร้างความ

อัศจรรย์ใจให้แก่พระอานนท์เป็นอย่างมาก

พระบฏ : พุทธประวัติ ๒๑

Page 24: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๑๙ " เสด็จปรินิพพาน " ขนาด ๖๙ x ๘o เซนติเมตร วันขึ้น๑๕ต�่าเดือน๖เป็นวันครบก�าหนดที่พระองค์ทรงปลงอายุสังขาร

พระองค์เสดจ็สหีไสยาสน์บนพระแท่นซึง่พระอานนท์ปลูาดจัดถวายไว้ทีใ่ต้ต้นรังคู่

พระองค์ได้ตรสัปัจฉมิโอวาทว่า"ภกิษทุัง้หลายบดันีเ้ราจักเตือนพวกเธอทัง้หลาย

ว่าสงัขารทัง้หลายมคีวามเสือ่มไปเป็นธรรมดาพวกเธอทัง้หลายจงยงัประโยชน์ตน

และผูอ่ื้นให้ถงึพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถดิ"แล้วกไ็ม่ตรสัอะไรอกีเลยจนกระทัง่

ปรินิพพาน

๒๒ พระบฏ : พุทธประวตัิ

Page 25: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผนืที ่ ๒o " อาชวีกบอกข่าวปรนิพิพาน " ขนาด ๖๙ x ๗๘ เซนตเิมตร พระมหากสัสปะเดนิทางมาพร้อมด้วยพระสงฆ์หลายร้อยรูปมาถงึเมอืง

ปาวาขณะนัน้ท่านเหน็อาชวีกคอืนกับวชนอกศาสนาพุทธคนหนึง่เดินสวนทางมา

จากเมอืงกสุนิารามอืถือดอกมณฑารพพระมหากสัสปะจงึถามข่าวถงึพระพทุธเจ้า

อาชีวกตอบว่าพระสมณโคดมนั้นนิพพานได้เจ็ดวันแล้วแล้วชูดอกมณฑารพให้ด ู

ว่าตนเกบ็ได้จากสถานทีท่ีพ่ระพุทธเจ้าปรนิพิพานดอกมณฑารพตามต�านานว่าเป็น

ดอกไม้สวรรค์ออกดอกและบานในเวลาคนส�าคัญของโลกมีอันเป็นไป

พระบฏ : พุทธประวัติ ๒๓

Page 26: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผนืท่ี ๒๑ " พระมหากสัสปะไหว้พระศพ " ขนาด ๗o x ๘o เซนตเิมตร พอได้เวลาจดุไฟต�านานว่าจดุเท่าไรไฟกไ็ม่ตดิเจ้าหน้าทีท่างบ้านเมอืงจึง

เรยีนถามพระอนรุทุธ์(พระอนรุทุธ์มศีกัด์ิเป็นพระอนชุาของพระพทุธเจ้าเป็นพระ

สาวกได้ส�าเรจ็อรหนัต์)พระอนรุทุธ์จงึแจ้งให้ทราบว่าเป็นเพราะเทพเจ้าต้องการให้

รอพระมหากัสสปซึง่ก�าลงัเดนิทางมายงัไม่ถงึได้ถวายบงัคมพระศพเสียก่อนต่อมา

เมื่อพระมหากัสสปพร้อมด้วยพระสงฆ์บริวารเดินมาถึง ได้ถวายบังคมพระศพ

พระพุทธเจ้าแล้วจึงเกิดเพลิงทิพย์ด้วยเทวาฤทธานุภาพ

๒๔ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 27: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๒๒ " ถวายพระเพลิง " ขนาด ๖๙ x ๘o เซนติเมตร ภายหลงัจากนัน้เพลงิได้ไหม้พระสรรีะของพระพทุธเจ้าจนหมดสิน้เหลอื

อยู่แต่พระอัฐิพระเกศาพระทนต์และผ้าอีกคู่หนึ่งพระพวกมัลลกษัตริย์ได้น�า

น�้าหอมหล่ังลงดับถ่านไฟที่จิตกาธานแล้วเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปประดิษฐาน

ไว้ที่สัณฐานคารศาลา คือหอประชุมกลางเมือง รอบหอประชุมนั้นจัดทหารถือ

อาวธุพร้อมสรรพคอยพิทกัษ์รกัษาและท�าสกัการบชูาด้วยฟ้อนร�าดนตรีประโคมขับ

ดอกไม้นานาประการและมนีกัขตัฤกษ์เอกิเกรกิกกึก้องฉลองถงึ๗วนัเป็นก�าหนด

พระบฏ : พุทธประวัติ ๒๕

Page 28: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๒๓ " แย่งชิงพระธาตุ " ขนาด ๖๗ x ๘๒ เซนติเมตร ข่าวพระพทุธเจ้านิพพานท่ีเมอืงกสุนิาราแล้วได้แพร่ไปถงึบรรดาเจ้านคร

แห่งแคว้นต่างๆ บรรดาเจ้านครเหล่านั้นจึงได้รีบส่งคณะทูตมายังเมืองกุสินารา

พร้อมพระราชสาส์นขอส่วนแบ่งพระบรมสารรีกิธาตุแต่พวกเจ้ามลัลกษตัริย์ตอบ

ปฏเิสธไม่ยอมให้โดยอ้างเหตผุลว่าพระพทุธเจ้านิพพานทีเ่มอืงของตนพระบรมสาร-ี

ริกธาตุจึงเป็นสมบัติของเมืองนี้เท่านั้น สงครามแย่งพระธาตุท�าท่าจะเกิดขึ้น แต่

โทณพราหมณ์ก็สามารถระงับสงครามได้

๒๖ พระบฏ : พุทธประวตัิ

Page 29: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผืนที่ ๒๔ " โทณพราหมณ์แจกธาตุพุทธองค์ " ขนาด ๖๘ x ๗๙ เซนติเมตร

โทณพราหมณ์ท�าหน้าที่แบ่งพระบรมสารีริกธาตุออกเป็น ๘ ส่วนโดย

ใช้ตุมพะ คือ ทะนานทองเป็นเครื่องตวง ให้เจ้านครทั้ง ๗ คนละส่วน เป็น

๗ส่วนแล้วเจ้านครต่างอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุนั้นใส่ผอบน�าไปบรรจุสถูป

ยงัเมอืงของตนฝ่ายโทณพราหมณ์ผูท้�าหน้าทีแ่บ่งได้ขอเอาทะนานตวงพระบรม

สารีริกธาตุนั้นไปเป็นที่ระลึก

พระบฏ : พุทธประวัติ ๒๗

Page 30: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

วิเคราะห์จิตรกรรมผ้าพระบฏ ความพเิศษนัน้อยูท่ีเ่ป็นภาพจติรกรรมผ้าพระบฏทีม่ขีนาดใกล้เคยีงกันมี

ขนาด๗ox๘oเซนตเิมตรโดยประมาณมเีชอืกส�าหรบัแขวนและในแต่ละภาพนัน้

มกีารเขยีนเลขและค�าอธบิายก�ากบัไว้ใต้ภาพท�าให้ง่ายต่อการศกึษาเป็นอย่างยิง่มี

การเล่าเรือ่งราวทีม่คีวามส�าคญัในพทุธประวตัเิป็นตอนๆซ่ึงภาพทีช่่างได้ถ่ายทอด

ออกมานัน้สามารถสือ่ให้ผูท้ีพ่บเหน็เข้าใจได้ง่ายรปูแบบจะเป็นแบบพ้ืนบ้านแต่ได้

รับอิทธิพลจากภาคกลางและสะท้อนถึงวิถีชีวิตประเพณีวัฒนธรรมผ่านเรื่อง

ราวการแต่งกายสถาปัตยกรรมและวิถีชีวิตแบบพื้นเมืองล้านนาซึ่งช่างได้เขียน

สอดแทรกไปในภาพได้อย่างกลมกลืนและแนบเนียน

โครงสีของภาพโดยรวมที่เด่นนั้นคือสีครามสีส้มและสีเขียวเข้มที่ใช้

หลักการของสีคู่ตรงข้าม สีในภาพจิตรกรรมผ้าพระบฏนั้นประกอบไปด้วยสีแดง

สีส้มสีน�้าเงินสีครามสีเขียวสีน�้าตาลสีด�าสีเทาสีขาวสีเหลืองและภาพ

จติรกรรมผ้าพระบฏใช้เทคนคิสฝีุน่บนผ้าซึง่ผ้าทีเ่ขยีนนัน้สนันษิฐานว่าน่าจะรอง

พื้นด้วยดินสอพองผสมกับกาวธรรมชาติชนิดหนึ่งอาจเป็นกาวเม็ดมะขามหรือ

กาวหนังควายจึงได้มีความทนทานมาจนถึงทุกวันนี้

๒๘ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 31: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

การจ�าแนกวิเคราะห์ภาพจิตรกรรมผ้าพระบฏ๑. การจัดองค์ประกอบของภาพและการล�าดับภาพ

(ก) การล�าดับเรื่องในภาพแสดงเพียงฉากเดียว : มักจะล�าดับภาพจากซ้ายไป

ขวาขวาไปซ้ายหรือตัวละครหลักอยู่ตรงกลางภาพกลางภาพไปขวาขวาไปซ้าย

หรือตัวละครหลักอยู่ตรงกลางภาพ

(ข).การล�าดับเรื่องในภาพแสดงมากกว่า๑ฉาก:เป็นการล�าดับเรื่องแบบเส้น

ขนานมีการบอกระยะใกล้ไกลหรือการผลักระยะมีการเขียนล�าดับก่อนหลังซึ่ง

จะเล่าเรื่องจากบนลงล่างหรือจากล่างขึ้นบน

(ก) (ข)

พระบฏ : พุทธประวัติ ๒๙

Page 32: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๒. เครื่องแต่งกายของบุคคล

๒.๑ เครื่องแต่งกายของกษัตริย์และกษัตรี

(ก) (ข)

๒.๒ เครื่องแต่งกายของเทวดา

(ก) (ข)

๓o พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 33: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๒.๑ เครื่องแต่งกายของกษัตริย์และกษัตรี

(ก)กษตัรย์ิลกัษณะท่ีบ่งบอกความเป็นกษตัรย์ิคอืตัวภาพเป็นจุดเด่นมกั

มเีคร่ืองแต่งกายและเคร่ืองประดบัทีห่รูหราช่างเขียนนยิมลงสปิีดทองสวมมงกฎุ

ประทับนั่งบนบัลลังก์หรือประทับในพระราชวังมีข้าราชบริพารรายล้อมเส้นจะ

มีความอ่อนช้อยประณีตแบบอุดมคติ

(ข) กษัตรี หรือมเหสี ลักษณะที่บ่งบอก คือ ตัวภาพจะเป็นจุดเด่นมัก

เขียนให้อยู่เคียงคู่กับกษัตริย์ มีเครื่องแต่งกายที่สวยงาม สวมเครื่องประดับที่

เป็นทอง อาจสวมกระบังหน้าหรือเครื่องประดับตามร่างกาย มีการลงสีทองหรือ

ปิดทอง มักรายล้อมด้วยข้าราชบริพาร ช่างนิยมเขียนให้มีความอ่อนช้อยงดงาม

แบบอุดมคติ

๒.๒ เครื่องแต่งกายของเทวดา

(ก)เทวดาลักษณะที่บ่งบอกถึงความเป็นเทพช่างเขียนจะเขียนเทวดา

ให้มภีาพขนาดใหญ่หรอืใช้สใีนการระบุเช่นพระอนิทร์มกีายสเีขยีวเป็นต้นนยิม

เขียนรัศมีล้อมรอบเทวบุตรเพื่อเน้นความส�าคัญแต่บางครั้งก็ไม่เขียนเทวบุตรจะ

มีเครื่องทรงที่เหมือนกับการแต่งกายของกษัตริย์เครื่องทรงจะมีความหรูหราและ

เป็นทองนิยมเขียนให้มีความอัศจรรย์คือการเหาะอยู่ในท่าการลอยอยู่เหนือฟ้า

มักอยู่ส่วนบนของภาพเสมอ

(ข)นางอปัสรมลีกัษณะการทรงเครือ่งประดบัเหมอืนกบัการแต่งกายของ

กษัตรีแต่ท่อนล่างเป็นแบบการแต่งกายของตัวนางในจิตรกรรมไทยภาคกลาง

พระบฏ : พุทธประวัติ ๓๑

Page 34: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๒.๓ เครื่องแต่งกายนักบวช

(ก) (ข) (ค)

๒.๔ ข้าราชบริพาร

(ก) (ข)

๓๒ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 35: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๒.๓ เครื่องแต่งกายนักบวช

เครื่องแต ่งกายของนักบวชที่พบในผ ้าพระบฏวัดกาญจนาราม

(ทุง่อ่วน)จังหวดัแพร่พบเครือ่งแต่งกายของนกับวช๓แบบคอืพระสงฆ์พราหมณ์

และฤาษี

(ก)เครื่องแต่งกายของพระสงฆ์:สวมผ้าสองชิ้นคือสบงและจีวรครอง

จีวรห่มเฉยีงจวีรในภาพใช้สส้ีมซึง่มลีกัษณะใกล้เคยีงกบัการแต่งกายของพระสงฆ์

ในปัจจุบัน

(ข)เครื่องแต่งกายของฤาษี:สวมผ้าสองชิ้นแยกเป็นท่อนบน

และท่อนล่างเกล้าผมเป็นชฎามุกุฏผ้าที่ใช้มีส้มลายเสือโคร่ง

(ค)เครื่องแต่งกายของพราหมณ์ : เครื่องแต่งกายที่ปรากฏ นิยมนุ่งโจง

กระเบนสีขาวมีย่ามสะพายบ่า

๒.๔ ข้าราชบริพาร

ข้าราชบริพารหมายถึงชนชั้นสูงทั้งชายและหญิงได้แก่เสนาอ�ามาตย์นางก�านัล

(ก) เสนาอ�ามาตย์ (ขุนนาง)ลักษณะการแต่งกายมักจะสวมเสื้อผ้าเพื่อ

แสดงถงึความแตกต่างทางชนชัน้ซึง่จากภาพมกัจะสวมเสือ้แขนกระบอก(ราชปะ-

แตน)นุง่โจงกระเบนการไว้หนวดทรงผมแบบมหาดไทยซ่ึงเป็นกระแสวฒันธรรม

จากกรุงเทพฯสมัยรัชกาลที่๕

(ข)นางก�านลัหรอืข้ารบัใช้ฝ่ายหญงิสวมเสือ้แขนกระบอกแขนยาวนุง่ซิน่

ยาวกรอมเท้าเกล้าผมกลางศีรษะ

พระบฏ : พุทธประวัติ ๓๓

Page 36: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๒.๕ เครื่องแต่งกายชาวบ้าน

(ก) (ข)

เครื่องแต่งกายของชาวบ้านท่ีพบในผ้าพระบฏนั้นมีลักษณะการแต่งกาย

แบบภาคกลางมีรายละเอียดดังนี้

(ก)การแต่งกายของชาวบ้านชาย:สวมเสือ้คอกลมแขนสัน้นุง่โจงกระเบน

รัดด้วยเข็มขัดเงินบางภาพมีการสวมหมวกแบบฝรั่ง

(ข)การแต่งกายของชาวบ้านหญิง:สวมเสื้อคอกลมแขนยาวบางภาพ

สวมเสือ้คอกระเช้านุง่ซิน่ลายขวางรดัเขม็ขดัเงนิมวยผมไว้กลางศรีษะทดัดอกไม้

สีขาวที่มวยผม

๓๔ พระบฏ : พุทธประวัติ

Page 37: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๓. งานสถาปัตยกรรม

(ก) (ข)

งานสถาปัตยกรรมทีพ่บในผ้าพระบฏนัน้พบเพยีงสองแบบคอืสถาปัตย-

กรรมประเภทปราสาทราชวงัและสถาปัตยกรรมประเภทอาศรมซึง่จากภาพเหน็

ได้อย่างชดัเจนว่ารปูแบบงานสถาปัตยกรรมทีพ่บในผ้าพระบฏนัน้ได้รับอทิธพิลจาก

ศิลปะภาคกลาง

(ก)สถาปัตยกรรมประเภทปราสาทราชวัง

เป็นทีอ่ยูอ่าศยัของเทวดาและเหล่ากษตัรย์ิมกัมคีวามสอดคล้องกบัสถา-

ปัตยกรรมไทยภาคกลางมคีวามหรหูรานิยมเขียนหลงัคาซ้อนชัน้เป็นยอดปราสาท

หลายๆชั้นมีความวิจิตรด้วยการใส่ตัวเหงาช่อฟ้าหางหงส์เพื่อแสดงสถานความ

ยิ่งใหญ่

(ข)สถาปัตยกรรมประเภทอาศรม

เป็นที่พ�านักของฤๅษีคล้ายวิหารปิดทึบ มีการประดับตัวเหงา ช่อฟ้า

ใบระกามีความเรียบง่ายกว่าพระราชวัง

พระบฏ : พุทธประวัติ ๓๕

Page 38: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๔. ภาพแสดงวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีในพื้นถิ่นที่ปรากฏในผ้าพระบฏ

(ข)

(ก)

๓๖ พระบฏ : พุทธประวตัิ

Page 39: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

(ก) จากภาพ เป็นภาพพระมหากัสสปะถวายบังคมบาทพระพุทธศพ

มีความพิเศษท่ีโลงพระศพน้ันมีปราสาทซ้อนชั้นอยู่เหนือโลงพระศพพร้อมด้วย

การตกแต่งตุงและฉัตร ซึ่งเป็นความเชื่อของคนล้านนา ตามคติความเชื่อโบราณ

ของล้านนา เจ้านายและพระเถระได้รับการยกย่องในสังคมว่าเป็นชนชั้นสูงและ

เมื่อสิ้นชีพไปแล้วจะไปจุติในภพที่สูงกว่าหรือเป็นเทพสถิตอยู่ในสวรรค์ชั้นต่างๆ

ของเขาพระสเุมรุอันเป็นความเชือ่ทีเ่กดิขึน้จากความเชือ่ระหว่างศาสนาพทุธและ

พราหมณ์ผสมกัน ความเชื่อดังกล่าวน�าไปสู่การสร้างสรรค์และจัดรูปแบบพิธีศพ

ที่ตอกย�้าถึงแนวคิดที่จะมุ่งไปสู่สวรรค์ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างเมรุ

ปราสาทอนัเป็นตวัแทนของวมิานสถติบนพระสเุมรุซึง่เป็นแกนกลางของจกัรวาล

มียอดปลายอยู่ในชั้นดาวดึงส์

(ข)จากภาพเป็นภาพตอนถวายพระเพลงิภาพนีมี้ความพิเศษทีป่ราสาท

นกหัสดีลิงค์ซึ่ง พิธีงานศพของคนล้านนาจะมีการจัดแต่งปราสาทใส่ศพประดับ

ประดาด้วยดอกไม้สดหรือ แห้งให้แลดูสวยงาม นับว่าเพื่อเป็นการยกย่องผู้ตาย

ให้ได้ขึ้นไปสู่สรวงสรรค์ชั้นฟ้าตามต�านานเชื่อว่านกหัสดีลิงค์เป็นนกในวรรณคดี

ไทยที่มีพละก�าลังมากเป็น๕เท่าของช้างและเป็นพาหนะของผู้มีบุญ

ดังนั้นในพิธีงานศพของพระเถระเราจึงเห็นปราสาทบรรจุศพท�าเป็นรูป

นกหสัดลีงิค์การประดบัประดางานศพของพระดจูะหรูหรามากกว่าของคนทัว่ไป

โดยเฉพาะระดับเจ้าอาวาสหรือพระที่มีอายุพรรษามากๆขึ้นส�าหรับการจัดงาน

ศพของพระในภาคเหนือจะนิยมเก็บศพของพระไว้จนถึงหน้าแล้งหรือ ราวเดือน

มีนาคมจนถงึเดอืนเมษายนสิง่ทีน่่าสงัเกตอกีอย่างหนึง่ส�าหรับพิธเีผาศพพระนัน่ก็

คือพธิจีะมกีารจดุบอกไฟเพือ่ให้เทวดารบัรู้และจดัอยูใ่นบริเวณวดัและจะท�าการ

เผาศพ

พระบฏ : พุทธประวัติ ๓๗

Page 40: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

๕. การรับอิทธิพลศิลปะภาคกลาง

จากการวิเคราะห์ผ้าพระบฏทั้งหมด๒๔ผืนสามารถเห็นการรับอิทธิพล

ศิลปะภาคกลางซึ่งสามารถเห็นได้จากเครื่องแต่งกายของตัวภาพและงานสถา-

ปัตยกรรม

ภาพแสดงการเปรียบเทยีบตัวภาพของผ้าพระบฏวดักาญจนารามจ.แพร่

(ภาพซ้าย)และพระที่นั่งพุทไธสวรรย์กรุงเทพมหานคร(ภาพขวา)

ภาพแสดงการเปรียบเทียบการแต่งกายของขุนนางของผ้าพระบฏวัด

กาญจนารามจังหวัดแพร่ (ภาพซ้าย)และลักษณะการแต่งกายของขุนนางสมัย

รัชกาลที่๕(ภาพขวา)

๓๘ พระบฏ : พุทธประวตัิ

Page 41: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ภาพแสดงการเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมของผ้าพระบฏวัดกาญจนารามจ.แพร ่

(ภาพซ้าย)และพระที่นั่งพุทไธสวรรย์กรุงเทพมหานคร(ภาพขวา)

ภาพฉลองพระบาทของพระนางสิริมหามายา

๖. ภาพแสดงเครื่องใช้ในปัจจุบันที่พบในผ้าพระบฏ

จากการวเิคราะห์ผ้าพระบฏจ�านวน๒๔ผนืพบเครือ่งใช้ในปัจจบุนัทีส่อด

แทรกในภาพเขียนที่เล่าเรื่องราวสมัยพุทธกาลแสดงให้เห็นถึงความเก่งของช่างที่

สามารถน�าเครือ่งใช้ในปัจจบัุนสอดแทรกเข้าไปในผ้าพระบฏได้อย่างกลมกลนืและ

แนบเนียน

พระบฏ : พุทธประวัติ ๓๙

Page 42: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ภาพพระสงฆ์ถือร่มและสวมแว่นสีด�าและการสวมหมวกของเหล่าขุนนาง

และชาวบ้าน

ภาพนาฬิกาลูกตุ้มหน้าปัดเลขโรมัน

๔o พระบฏ : พุทธประวตัิ

Page 43: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

พระบฏ:พุทธประวัต ิ

วัดกาญจนาราม(ทุ่งอ่วน)จังหวัดแพร่

ภาพและเนื้อเรื่อง©2015(พ.ศ.2558)โดยพรธีราพลายด้วง550310104

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ

พิมพ์ครั้งแรกเมื่อตุลาคมพ.ศ.2558

จัดพิมพ์โดยภาควิชาศิลปะไทยคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เรียบเรียงและออกแบบโดยพรธีราพลายด้วง550310104

ออกแบบโดยใช้ฟอนท์THSarabanNew16pt,THCharmonman18pt,48pt

ภาพประกอบหน้า37http://phichetchai.blogspot.com/2012/05/blog-post_31.html

หน้า39http://www.designer.co.th/10442

หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน

เพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพการศึกษา

ภายในภาควิชาศิลปะไทยคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Page 44: Phra-Bod Wat-Tung-Auan

ผ้าพระบฏนี ้เป็นงานจติรกรรมท่ีถ่ายทอดจากคนอดตีฝากถึงคนรุน่หลงั ผูท้ีเ่ก่ียวข้องในชมุชนไม่ว่าจะเป็นชาวบ้านท้ังภาครฐัและเอกชนควรให้การสนับสนุนเพื่อให้เกิดจิตส�านึกรักหวงแหนและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมที่เหลืออยู่