11
7/2/2017 1 SARCODINA - เคลือนทีโดยใช้ Pseudopodium พบมากในนํ าจืด - ดํารงชีวิตอิสระ เช่น Amoeba, Difflugia, Arcella, Actionspherium - เป็ นปรสิต เช่น Acanthamoeba culbertsoni, Entamoeba histolyitca เป็นพวกทีเคลือนทีโดยการไหลเวียนของไซโตพลาสซึม ภายในเซลล์ ไซโตพลาสซึมยืนออกไปเป็นเท้าเทียม (pseudopodium) คืบ คลานไปตามพื นใช้ในการเคลือนทีหรือใช้ โอบล้อมอาหาร ลําตัวมีทั งทีเปลือยไม่มีอะไรคลุม หรืออาจมี เปลือก (lorica หรือ test) คลุม ส่วนใหญ่อาศัยในนํ าจืด บางชนิด อยู่เป็นอิสระ ลักษณะทัวไป 1. ลักษณะภายนอกและภายใน เซลล์เปลือย หรือมีเปลือก เป็นสารพวก ซิลิกา แคลเซียมคาร์บอเนต หรือสารพวกโปรตีนเหนียว ไซโทพลาซึม แยกเป็น 2 ส่วน คือ Ectoplasm และ Endoplasm 2. การดํารงชีวิตและวงจรชีวิต ดํารงชีวิตแบบเฮเทโรโทรฟ หากินอิสระใน นํ าจืดหรือดินชื น กินแบคทีเรียและสารอินทรีย์เป็ นหลัก โดยใช้ ซูโดพอเดียโอบล้อมกินโดยฟากอโซทอซิส The forms of pseudopodia: from left: 1. Polypodial 2. Monopodial 3. Filose 4. Conical 5. Granuloreticulose 6. Tapering actinopods 7. Non-tapering actinopods Polypodial Monopodial การจัดจําแนก โพรโทซัวกลุ ่ม Sarcodina มีการจัดจําแนกทีแตกต่างกัน ขึ นอยู ่กับ การยึดหลักการจัดจําแนกของใคร 1. Class Lobosea มีสกุลทีน่าสนใจได้แก่ 1. Amoeba เซลล์ขนาดใหญ่ ลอบอพอเดียแผ่ออกทุกทิศทาง ปลาย ลอบอพอเดียใส นิวเคลียสเห็นชัดเจน Amoeba

SARCODINA - biology.crru.ac.thbiology.crru.ac.th/biology/images/pdf/Protozoa/Protozoa-10.pdf · SARCODINA-เคลือนทีโดยPใsชeudopod้ ium พบมากในนําจืด

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • 7/2/2017

    1

    SARCODINA

    - เคลื�อนที�โดยใช ้Pseudopodium พบมากในนํ�าจืด- ดาํรงชีวิตอิสระ เช่น Amoeba, Difflugia, Arcella, Actionspherium- เป็นปรสิต เช่น Acanthamoeba culbertsoni, Entamoeba histolyitca

    เป็นพวกที�เคลื�อนที�โดยการไหลเวียนของไซโตพลาสซึมภายในเซลล ์ไซโตพลาสซึมยื�นออกไปเป็นเทา้เทียม (pseudopodium) คืบ คลานไปตามพื�นใชใ้นการเคลื�อนที�หรือใช้โอบลอ้มอาหาร ลาํตวัมีทั�งที�เปลือยไม่มีอะไรคลุม หรืออาจมีเปลือก (lorica หรือ test) คลุม ส่วนใหญ่อาศยัในนํ�าจืด บางชนิดอยูเ่ป็นอิสระ

    ลกัษณะทั�วไป1. ลกัษณะภายนอกและภายใน เซลลเ์ปลือย หรือมีเปลือก เป็นสารพวก

    ซิลิกา แคลเซียมคาร์บอเนต หรือสารพวกโปรตีนเหนียว ไซโทพลาซึมแยกเป็น 2 ส่วน คือ Ectoplasm และ Endoplasm

    2. การดาํรงชีวิตและวงจรชีวิต ดาํรงชีวิตแบบเฮเทโรโทรฟ หากินอิสระในนํ�าจืดหรือดินชื�น กินแบคทีเรียและสารอินทรียเ์ป็นหลกั โดยใช ้ ซูโดพอเดียโอบลอ้มกินโดยฟากอโซทอซิส

    The forms of pseudopodia: from left: 1. Polypodial2. Monopodial3. Filose 4. Conical 5. Granuloreticulose6. Tapering actinopods7. Non-tapering actinopods

    Polypodial

    Monopodial

    การจดัจาํแนกโพรโทซัวกลุ่ม Sarcodina มีการจดัจาํแนกที�แตกต่างกนั ขึ�นอยู่กบั

    การยึดหลกัการจดัจาํแนกของใคร1. Class Lobosea มีสกุลที�น่าสนใจไดแ้ก่

    1. Amoeba เซลลข์นาดใหญ่ ลอบอพอเดียแผ่ออกทุกทิศทาง ปลายลอบอพอเดียใส นิวเคลียสเห็นชดัเจน

    Amoeba

  • 7/2/2017

    2

    Amoebaมีขนาดเล็กมากมองดว้ยตาเปล่าไม่เห็น ตอ้งมองผ่านกลอ้ง

    จุลทรรศน์ส่องดูจึงจะมองเห็น อะมีบาชนิดที�ใหญ่ที�สุดมีเส้นผ่าศูนยก์ลางประมาณ 1 มิลลิเมตร แต่ส่วนใหญ่จะเล็กกว่านั�น อะมีบาไม่มีอวยัวะสําหรับหายใจ ดงันั�นการหายใจโดยใชอ้อกซิเจนที�ละลายอยู่ในนํ�าซึมผ่านผนังเซลล์เขา้ไปภายในเซลลโ์ดยตรง ออกซิเจนเขา้ไปเผาผลาญอาหารทาํให้เกิดพลงังานขึ�นมา ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ละลายออกกบันํ�าเสียซึมออกจากเซลลท์างผนังเซลลโ์ดยตรง

    ลกัษณะที�สําคญัของอะมีบาคือ มีผนังเซลลที์�บางมาก ๆ หุ้มอยู่ขา้งนอกถดัจากผนังเซลลเ์ขา้ไปเป็นโปรโตพลาสซึม แบ่งออกเป็น 2 ชั�น คือ1. เอคโตพลาสซึม (ectoplasm) เป็นบริเวณของไซโทพลาซึมที�อยู่ชิดกบัผนังเซลล ์เป็นชั�นบาง ๆ ใส ๆ สามารถยืดและหดได้2. เอนโดพสาสซึม (endoplasm) เป็นบริเวณของไซโทพลาซึมดา้นใน มีลกัษณะเป็นของเหลวขน้ ๆ เป็นจุด ๆ อยู่ทั�วไป

    ภายในเอนโดพลาสซึม (endoplasm) ประกอบดว้ย>>> นิวเคลียส (nucleus) มีนิวเคลียส 1 อนั มีลกัษณะค่อนขา้งแบน นิวเคลียสนี�จะมีสีเขม้กว่าส่วนอื�น>>>ฟูด แวคิวโอล (food vacuole) หรือช่องอาหารเป็นช่องที�มีนํ� าย่อยอาหารอยู่ ภายในช่องมีอาหารของอะมีบา เช่น สาหร่ายกบัแบคทีเรีย หรือโพรโทซัวชนิดอื�น ๆ>>>คอนแทรกไทลแ์วคิวโอล (contractile vacuole) หรือช่องขบัถ่ายของเหลว เพื�อควบคุมแรงดนัออสโมซีสภายในตวัไม่ให้สูงเกินไป

    2. Chaos ลกัษณะคลา้ยอะมีบา แต่ขนาดเล็กว่า และรูปทรงของเซลลไ์ม่เป็นทรงหลอด

    Chaos

    3. Metachaos เทา้เทียมไม่ไดมี้ฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียม

    Metachaos

  • 7/2/2017

    3

    4. Trichamoeba เทา้เทียมไม่ไดมี้ฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียม มียูรอยด์แบบเส้นสาย

    Trichamoeba

    5. Hydramoeba เทา้เทียมไม่ไดมี้ฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียม เทา้เทียมไม่คงรูป เป็นปรสิตภายนอกของไฮดรา

    Hydramoeba

    6. Polychaos เทา้เทียมมีฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียมเทา้เทียมรูปไข่

    Polychaos

    7. Endamoeba ปรกติเซลลก์ลม เทา้เทียมกวา้งและป้าน มียูรอยด์แบบชั�วคราว

    Endamoeba

    8. Entamoeba เทา้เทียมใสและไหลไปขา้งหน้าตลอด พบในทางเดินอาหารของววั สุกร และคน

    9. Iodamoeba เซลลก์ลม มีกอ้นไกลโคเจนขนาดใหญ่ พบในทางเดินอาหารของคน ลิง หมู

    Iodamoeba

  • 7/2/2017

    4

    10. Hartmannella เซลลข์นาดเล็ก ลอบอพอเดียมีอนัเดียว ใส ดา้นทา้ยไม่มีลกัษณะแน่นเป็นกระจุก หากินอิสระในแหล่งนํ�าจืด สร้างซิสทเ์มื�อสภาพไม่เหมาะสม

    Hartmannella

    11. Saccamoeba เทา้เทียมที�ยื�นออกมาค่อนขา้งกลม ยูรอยด์มีฟิลาเมนต์สั�น อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Saccamoeba

    12. Mayorella ลอบอพอเดียใสรูปทรงกรวย คอนแทรกไทลแ์วคิวโอลมีอินคลูชนัเห็นไดช้ดั เช่นเดียวกบัฟูดแวคิวโอล

    Mayorella

    13. Dinamoeba เซลลมี์เทา้เทียมใสเกิดขึ�นที�ขอบของเซลลแ์ละบนตวัเซลล์อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Dinamoeba

    13. Acanthamoeba อาศยัในดินที�ชื�น ซูโดพอเดียใสแผ่นกวา้ง จึงไม่เป็นพู แต่มีซูโดพอเดียขนาดเล็กยื�นออกมาหลายอนั

    Acanthamoeba

    14. Echinamoeba เทา้เทียมสั�นคลา้ยหนาม เกิดจากขอบของเซลล ์กินแบคทีเรียเป็นหลกั อาศยัอยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Echinamoeba

  • 7/2/2017

    5

    15. Naegleria เซลลข์นาดเล็ก มีระยะแฟลเจลเลตชั�วคราวมีแฟลเจลลมั 2 เส้น บางชนิดทาํให้เกิดโรคเยื�อหุ้มสมองอกัเสบ

    Naegleria

    16. Pelomyxa เซลลข์นาดใหญ่ทรงกระบอก ยูซอยด์เป็นกระเปาะกึ�งถาวรที�มีแขนงเป็นเส้น อยู่ในแหล่งนํ�าจืดบริเวณนํ�านิ�ง

    Pelomyxa

    17. Amphizonella เทสต์ยืดหยุ่นไดดี้เป็นเจลาทิน ช่องเปิดออกของเทา้เทียมดา้นทอ้งชดัเจน

    Amphizonella

    18. Zonomyxa เทสต์ยืดหยุ่นไดดี้เป็นเจลาทิน

    Zonomyxa

    19. Pyxidicula เทสต์ไคทินรูปถว้ยกลมแบน

    Pyxidicula

    20. Arcella ลอริคาเป็นสารอินทรียรู์ปกระจกนาฬิกา มีลวดลายละเอียด มีสีเหลืองหรือนํ�าตาล

    Arcella

  • 7/2/2017

    6

    21. Difflugia ลอลิคาทรงแจกนัมกัมีสารพวกควอทซ์มาติดอยู่ดว้ย ปลายดา้นปิดมีปุ่มแหลม

    Difflugia

    22. Centropyxis ลอริคารูปถว้ยอาจมีหรือไม่มีหนามที�ขอบ มีสีนํ� าตาล ดา้นล่างมีช่องเปิดดา้นหน้า

    Centropyxis

    23. Cyclopyxis เทสต์ครึ� งทรงกลมมีชิ�นซิลิคอนฝังอยู่ มีสีเหลืองจนถึงสีนํ�าตาล

    Cyclopyxis

    24. Nebela เทสต์แบบขวดสีเหลืองใสเกิดจากชิ�นส่วนของซิลิคอน

    Nebela

    25. Bullinularia เทสต์กวา้งกว่ายาว ทรงครึ� งวงกลม สีนํ� าตาลถึงดาํ

    Bullinularia

    2. Class Filosea มีสกุลที�น่าสนใจไดแ้ก่

    1. Vampyrella กินสาหร่ายในแหล่งนํ�าจืด

    Vampyrella

  • 7/2/2017

    7

    2. Nuclearia เซลลก์ลมหรือแบน ฟิลอพอเดียยาวมีจาํนวนมาก เซลลอ์าจเปลี�ยนรูปร่างได้

    3. Arachnula เซลลเ์ป็นสายยาวที�ไม่สมมาตร ฟิโลโพเดียมที�ปลายแหลม กินไดอะตอมและจุลชีพอื�นๆ

    Arachnula

    4. Penardia เซลลก์ลมขณะอยู่นิ�ง เวลาเคลื�อนที�จะแผ่ออก อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Penardia

    5. Hyalodiscus เซลลก์ลมแบน อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Hyalodiscus

    6. Gromia เซลลท์รงกระบอกหรือรี อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Gromia

    7. Euglypha ลอลิคาเป็นแผ่นรูปทรงเหลี�ยมขนมเปียกปูน สารประกอบ ซิลิกาเรียงซ้อนกนัคลา้ยกระเบื�องมุงหลงัคา

    Euglypha

  • 7/2/2017

    8

    8. Trinema เทสต์ใสขนาดเล็กรูปไข่ สารประกอบซิลิกาเป็นแผ่นกลมเรียงเป็นแถว

    Trinema

    9. Biomyxa รูปร่างไม่แน่นอน อยู่บริเวณโคลนในหนองหรือบึง

    Biomyxa

    10. Amphitrema เทสต์รูปไข่แบน สมมาตร มีช่องเปิด 2 ช่องอยู่ตรงขา้มกนั อยู่ในนํ�าจืด

    Amphitrema

    11. Microgromia เทสต์เล็กใสกลม ช่องเปิดอยู่ที�ส่วนปลาย มกัอยู่ดว้ยกนัเป็นกลุ่ม อยู่กบัพืชในนํ�าจืด

    Microgromia

    FORAMINIFERANS • เ ป็น ซา ร์ โค ดินา ที�มี เป ลื อก หุ้ ม เป ลื อก เ ป็น สาร ปร ะกอ บแคลเ ซีย ม

    (CALCAROUS SUBSTANCE) หรือซิลิกา • ส่วนใหญ่ดํารงชีวิตตามพื�นท้องทะเล บางชนิดอยู่ในนํ�าจืด เปลือกมักมีขนาด

    ใหญ่และมีรูปร่างต่างๆ กัน มีการสร้างเปลือกเป็นห้องหรือช่อง (LOCULE) • ช่องใหม่จะเกิดขึ�นอย่างต่อเนื�อง ช่องใหม่ที�สุดจะมีขนาดใหญ่ที�สุด ช่องใหม่

    เกิดจากการสร้างเปลือกรอบโพรโทพลาซึมที�เจริญขยายตัวออกมานอกเปลือก• เปลือกแบ่งตามลักษณะช่องหรือห้องเป็น 2 กลุ่ม คือ

    • 1. เปลือกช่องเดี�ยว (SINGEL CHAMBER) มีเพียงช่องเดียวในเปลือก เปลือกอาจเป็นแท่งหรือขดตัว หรือมีการแตกแขนง เปลือกเป็นสารอินทรีย์และมีช่องเปิดทางเดียว หรือมีเปลือกเป็นท่อสามแฉก

    • 2. เปลือกหลายช่อง (MULTILOCULAR) ประกอบด้วย เปลือกเริ�มแรกที�เรียกว่า โพรคูลัม (PROCULUM) เกิดจากการแบ่งเซลล์จะมีขนาดใหญ่ แต่ถ้าเกิดจากการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศจะมีขนาดเล็ก ช่องที�เกิดต่อมาจะมีขนาดใหญ่ขึ�นจัดตัวในลักษณะต่างๆ

    • เปลือกมีวัตถุต่างๆ ติดอยู่ เช่น เม็ดทราย และสปิคูล (SPICULE) ของฟองนํ�า ความหลากหลายของฟอแรมมินิเฟอแรนแบบเปลือกหลายช่อง คือ การเกิดระบบท่อที�ซับซ้อนนอกเปลือกเดิม

  • 7/2/2017

    9

    • อาหารของฟอแรมมนิิเฟอแรนเป็นจุลชีพ เช่น แบคทเีรีย ไดอะตอม เป็นต้น ฟอแรมมนิิเฟอแรนบางชนิดสามารถใช้เรตคูิโลโพเดยีมในการดกัจบัสัตว์ไม่มกีระดูกสันหลงัขนาดเลก็หรือเหยื�อที�มีขนาดใหญ่

    • สืบพนัธ์ุแบบไม่อาศัยเพศและอาศัยเพศ การสืบพนัธ์ุแบบไม่อาศัยเพศเป็นการแบ่งตัวเป็นเหมือนอมบีาเลก็ๆ ส่วนการสืบพนัธ์ุแบบอาศัยเพศมกัจะมกีารจบัคู่ แต่ละตัวสร้างแกมตีจาํนวนมาก

    • เมื�อตายเปลือกจมลงที�พื�นท้องนํ�ามลีกัษณะคล้ายโคลนตมทบัถมเป็นชั�นของเลน (OOZE) เช่น โคลนพื�นนํ�าที�ม ีGLOBIGERINA อยู่มากเรียกว่า GLOBIGERINA OOZE ใช้เป็นข้อมูลในการหาแหล่งนํ�ามนั

    1. Allogromia เทสต์เป็นไคทิน

    Allogromia

    2. Ammodiscus เทสต์สีเหลืองหรือสีแดงแกมนํ�าตาล

    Ammodiscus

    3. Globigerina เป็นแพลงก์ตอนที�มีพบไดม้ากในนํ�าเค็ม

    Globigerina

    RADIOLARIAN

    • เรดิโอลาเรียนเป็นแพลงก์ตอนที�ดํารงชีวิตอยู่ในทะเลมีมากในทะเลเปิด ไม่ค่อยพบในบริเวณนํ�านิ�ง

    • เซลล์ทรงกลมและมีโครงร่างภายในแข็งเป็นสารซิลิกอน หรือบางชนิดเป็นสทรอนเทียมซัลเฟต (STRONTIUM SULFATE)

    • ซึ�งเป็นองค์ประกอบสําคญัที�พบในซากดึกดําบรรพ์ บนผิวของโครงร่างนี�จะมีแขนงยื�นออกในลักษณะต่างๆ

    • ตะกอนของเรดิโอลาเรียนที�สะสมอยู่อย่างมากมายสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมขัดได้

  • 7/2/2017

    10

    02/07/60118214 (Protozoa)55

    1. Acanthometron มีหนามจาํนวน 20 อนัยื�นออกมาจากกึ�งกลางเซลล ์

    Acanthometron

    2. Thalassicolla มีขนาดใหญ่ไดถึ้ง 5 มม. แคปซูลมีรูพรุน มีแวคิวโอจาํนวนมากเรียงเป็นชั�นจนดูเหมือนฟองปกคลุมตวั

    Thalassicolla

    3. Aulacantha มีหนามกลวงขนาดเล็กคลา้ยเข็มยื�นออกมาในแนวรัศมีและมีโครงสร้างคลา้ยเข็มเรียงตวัที�ผิว

    Aulacantha

    4. Echinosphaerium เซลลข์นาดใหญ่ มีแวคิวโอลขนาดใหญ่เรียงเป็นชั�น 1 ถึงหลายชั�นเกือบเต็มเอคโทพลาสซึม พบในแหล่งนํ�าจืด

    Echinosphaerium

    5. Clathrulina เซลลก์ลม ไม่มีสีหรือสีนํ�าตาล อยู่เป็นเซลลเ์ดียวๆ หรืออยู่เป็นโคโลนี กา้นยาวเป็น 3-4 เท่าของเซลล ์พบในแหล่งนํ�าจืด โดยการเกาะอยู่กบัพืชนํ�า

    Clathrulina

  • 7/2/2017

    11

    6. Acanthocystis เซลลก์ลมมีเกล็ดซิลิคอนเรียงตวัเป็นแถว มีหนามกระจายอยู่รอบๆ เซลล ์พบในแหล่งนํ�าจืด

    Acanthocystis

    7. Raphidiophrys เทสต์เป็นเยื�อเมือก หนามรูปกระสวย อยู่เป็นเซลลเ์ดียวหรือโคโลนีในแหล่งนํ�าจืด

    Raphidiophrys

    8. Sphaerastrum เซลลแ์บน ส่วนใหญ่มีเจลาทินหุ้มหน้า มกัพบเป็นโคโลนีในแหล่งนํ�าจืด