337
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน Self-Assessment Report (SAR) มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจาปีการศึกษา 2554 (ข้อมูล 1 มิถุนายน 2554 – 31 พฤษภาคม 2555) โดย กองพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

Self-Assessment Report (SAR)3.64 4.33 4.05 4.10 การด าเนินงานระดับดี มำตรฐำนที่ 3 ด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ฯ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน Self-Assessment Report (SAR)

    มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554 (ข้อมูล 1 มิถุนายน 2554 – 31 พฤษภาคม 2555)

    โดย กองพัฒนาคุณภาพการศึกษา

    มหาวิทยาลัยนเรศวร

  • สารบัญ หน้า ค าน า 1 คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน บทสรุปส าหรับผู้บริหาร

    3 4

    บทที ่1 ส่วนน า 8 บทที ่2 รายงานผลการด าเนนิงานและผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินการ 44 องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต 49 องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 110 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 120 องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม 143 องค์ประกอบที่ 6 การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม 170 องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 187 องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 219 องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 229 องค์ประกอบที่ 97 องค์ประกอบตามอัตลักษณ์ 247 บทที่ 3 สรุปผลการประเมิน ตารางป 1 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบ 269 ตารางป 2 ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ 274 ตารางป 3 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 275 ตารางป 4 ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ 276 ตารางป 5 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 277 ข้อเสนอแนะรายองค์ประกอบจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 278 ภาคผนวก ก. ข้อมูลพืน้ฐาน Common Data set 289 ข. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ 320 ค. วิธีประเมิน 327

  • รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -4-

    บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร

    ปรัชญำ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีอุดมการณ์ มุ่งมั่นที่จะด าเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้พระราชทานความเป็นไท ความสงบ ความผาสุก แก่ปวงชนชาวไทยมาแล้วในอดีต ดังนั้น มหาวิทยาลัยนเรศวร จึงมุ่งเน้นที่จะสืบสานให้สังคมไทยเป็นไทจากอวิชชา โดยค้นคว้าและสะสมองค์ความรู้เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ และมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีงามในการด ารงชีวิตและสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสงบและสันติสุข มุ่งอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี เพื่อเป็นมรดกของชาติ สืบไป ปณิธำน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ ( Comprehensive University ) ตั้งขึ้นในภูมิภาค เพื่อรับผิดชอบในเขตภาคเหนือตอนล่าง มุ่งเน้นการพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพช้ันสูงทุกด้าน เป็นศูนย์รวมแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่มีคุณค่าต่อมวลมนุษย์ มุ่งมั่นที่จะด าเนินการตามรอยเบื้องพระยุคลบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่จะให้สังคมไทยเป็นไทจากอวิชชา โดยการผลิตบัณฑิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้น าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน ตลอดจนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น มหาวิทยาลัยนเรศวร มีปณิธานอันแน่วแน่ที่จะด ารงความเป็นเลิศทางวิชาการและความเป็นสากล ในอันที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อเกื้อหนุนต่อการพัฒนาประเทศ และสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้แบบยั่งยืน มุ่งสร้างบัณฑิตให้เป็นผู้รอบรู้ทางวิชาการ เชี่ยวชาญวิชาชีพในทุกสรรพวิทยาการ ทั้งด้านสังคมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มีความเป็นสากลทั้งในเชิงเทคโนโลยี และภาษาที่จ าเป็นรวมถึงมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ อีกทั้งเป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกลมีจิตใจร่วมพัฒนา วัตถุประสงค ์ 1. เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความจงรักภักดี และความส านึกในพระมหากรณุาธิคณุของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้พระราชทานความเป็นไท ความสงบ ความผาสกุแก่ปวงชนชาวไทยมาแล้วในอดีต 2. เพื่อเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สมบูรณ์แบบมุง่เน้นที่จะสืบสานให้สังคมไทยเป็นไทจากอวิชชาโดยค้นคว้าและสะสมองค์ความรู้ เพื่อผลติบัณฑิตให้มีความรอบรู้วิชาการ เช่ียวชาญวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมเป็นแบบอย่างท่ีดีงามในการด ารงชีวิตและสรา้งสรรค์สังคมให้เกิดความสงบและสันตสิุขแบบยั่งยนืตลอดไป 3. เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน าของประเทศท่ีจะผลติและพัฒนาทรัพยากรมนุษยร์ะดับสูงรวมทั้งเป็นแหล่งค้นคว้าวิจัยในศลิปวิทยาการด้านต่าง ๆ ที่เกื้อหนุนตอ่การพัฒนาประเทศ รวมถึงการให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน 4. เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยที่มุง่พัฒนาไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และความเป็นสากลภายใต้การสรา้งเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศ 5. เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยที่เปน็ศูนย์กลางการศึกษาระดับอุดมศกึษาส าหรับภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด 6. เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยที่มุง่เน้นการน าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในด้านการบริการ การจัดการเรียนการสอนและการวิจัยที่สมบูรณ์แบบ 7. เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยที่เปน็ศูนย์รวมการอนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม อันท่ีจะน าไปสู่การเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม 8. เพื่อเป็นการกระจายโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้นการน าความเจริญไปสูภู่มิภาค โดยสรุปมหำวิทยำลัยนเรศวรมีเป้ำหมำยในกำรเป็น "มหำวิทยำลัยที่เน้นกำรวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตศึกษำโดยเฉพำะ"

  • รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -5-

    สรุปผลกำรประเมินตำมรำยองค์ประกอบ

    องค์ประกอบคุณภำพ

    คะแนนกำรประเมินเฉลี่ย ผลกำรประเมิน I P O รวม

    องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินงาน

    - 4.00 -

    4.00 การด าเนินงานระดับด ี

    องค์ประกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต

    3.61 3.50 3.96 3.74 การด าเนินงานระดับด ี

    องค์ประกอบท่ี 3 การพัฒนานักศึกษา

    - 5.00 - 5.00 การด าเนินงานระดับดีมาก

    องค์ประกอบท่ี 4 การวิจัย

    3.71 5.00 2.47 3.52 การด าเนินงานระดับด ี

    องค์ประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการ

    - 5.00 4.50 4.75 การด าเนินงานระดับดีมาก

    องค์ประกอบท่ี 6 การท านุบ ารุงศลิปะและวัฒนธรรม

    - 4.00 4.00 4.00 การด าเนินงานระดับด ี

    องค์ประกอบท่ี 7 การบริหารจัดการ

    - 4.25 4.33 4.28 การด าเนินงานระดับด ี

    องค์ประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

    - 3.00 - 3.00 การด าเนินงานระดับพอใช้

    องค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคณุภาพ

    - 4.00 - 4.00 การด าเนินงานระดับด ี

    เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกองคป์ระกอบ 3.64 4.22 3.79 3.98 การด าเนินงานระดับด ี

    ผลกำรประเมิน ระดับดี ระดับดี ระดับดี

    ผลการประเมินในภาพรวมชี้ให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยมีปจัจัยน าเข้า กระบวนการท างาน และผลลพัธ์ อยู่ในเกณฑ์ดี โดยมผีลการประเมินเป็น 3.64 4.22 และ 3.79 ตามล าดบั อย่างไรกต็ามในส่วนของปัจจัยน าเข้าและผลลัพธ์นั้น ยงัคงต้องพัฒนาอีกมากในบางประเด็น แต่ก็เช่ือว่าหากมีกระบวนการท างานท่ีดี น่าจะสามารถพัฒนาปัจจัยน าเข้าและผลลัพธ์เหลา่นี้ให้ดีขึ้นได้ในอนาคต เนื่องจากปัจจัยน าเข้าและผลลัพธ์บางประเด็นเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาในการพัฒนา เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบคุณภาพพบว่า เรื่องเร่งด่วนท่ีมหาวิทยาลัยอาจต้องเร่งด าเนินการคอืการจัดท าแผนกลยุทธ์ทางการเงินให้ควบคู่ไปกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งผลการประเมินอยู่ระดับพอใช้( 3.00 ) และแมว้่าผลการประเมินในเรื่องการผลิตบัณฑติ และการวิจัยจะอยู่ในระดับดี( 3.74 และ 3.52 ) แต่ก็ยงัมีหลายตัวบ่งช้ีในเรื่องเหล่านี้ท่ียังท าได้ไม่ดี ซึ่งควรเร่งพัฒนาเพราะเป็นหัวใจของอุดมศึกษา โดยเฉพาะหากมหาวิทยาลยัต้องการมุ่งเน้นเป็นมหาวิทยาลัยวิจยั

  • รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -6-

    สรุปผลกำรประเมินตำมมำตรฐำนกำรอุดมศึกษำ

    มำตรฐำนอุดมศึกษำ

    คะแนนกำรประเมินเฉลี่ย ผลกำรประเมิน

    I P O รวม

    มำตรฐำนที ่1 ด้านคุณภาพบัณฑิต

    - - 4.10 4.10 การด าเนินงานระดับด ี

    มำตรฐำนที ่2 ก ด้านธรรมาภิบาลของการบรหิาร

    - 4.00 4.33 4.07 การด าเนินงานระดับด ี

    มำตรฐำนที ่2 ข ด้านพันธกิจของการบริหาร

    3.64 4.33 4.05 4.10 การด าเนินงานระดับด ี

    มำตรฐำนที ่3 ด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ฯ

    - 4.50 2.47 3.28 การด าเนินงานระดับพอใช้

    เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมำตรฐำน 3.64 4.22 3.79 3.98 การด าเนินงานระดับด ี

    ผลกำรประเมิน ระดับดี ระดับดี ระดับดี

    เมื่อพิจารณาตามมาตรฐานการอุดมศึกษาพบว่ามหาวิทยาลยัมีผลการประเมินในระดับดีทั้งมาตรฐานคณุภาพบณัฑิต(4.10) และมาตรฐานด้านการบริหารจัดการศึกษา ท้ังเรื่องธรรมาภิบาล(4.07) และการปฏิบตัิตามพันธกิจ(4.10) แต่ยังมีจุดอ่อนในมาตรฐานด้านสังคมฐานความรู้ฯ(3.28) ซึ่งเป็นผลมาจากกระบวนการแรกเปลี่ยนเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย และจ านวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตลอดจนผลงานวชิาการอื่นๆที่ยังมีจ านวนน้อย สรุปผลกำรประเมิน มุมมองด้ำนกำรบริหำรจัดกำร

    มุมมองด้ำนกำรบริหำรจัดกำร

    คะแนนกำรประเมินเฉลี่ย ผลกำรประเมิน I P O รวม

    1. ด้านนักศึกษาและผู้มสี่วนไดส้่วนเสีย - 4.67 4.22 4.42 การด าเนินงานระดับด ี

    2. ด้านกระบวนการภายใน 5.00 4.00 4.17 4.12 การด าเนินงานระดับด ี

    3. ด้านการเงิน 3.71 3.00 - 3.36 การด าเนินงานระดับพอใช้

    4. ด้านบุคลากรการเรียนรู้และนวตักรรม 2.92 4.50 2.67 3.19 การด าเนินงานระดับพอใช้

    เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมุมมอง 3.64 4.22 3.79 3.98 การด าเนินงานระดับด ี

    ผลกำรประเมิน ระดับดี ระดับดี ระดับดี

    เมื่อพิจารณาตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยได้ให้ความส าคญัเป็นอย่างดีกับนักศึกษาและผู้มีส่วนเสียภายนอก(4.42) และกระบวนการจัดการภายใน(4.12) แต่ควรให้ความส าคญัเพิ่มมากขึ้นในด้านการเงิน(3.36) และด้านบุคคลากรและการเรียนรู้(3.19)

  • รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -7-

    สรุปผลกำรประเมิน ตำมมำตรฐำนสถำบันอุดมศึกษำ

    มำตรฐำนสถำบันอุดมศึกษำ

    คะแนนกำรประเมินเฉลี่ย ผลกำรประเมิน I P O รวม

    1. มาตรฐานดา้นศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา

    - - -

    (1) ด้านกายภาพ 5.00 - - 5.00 การด าเนินงานระดับดีมาก

    (2) ด้านวิชาการ 2.92 3.00 3.27 3.02 การด าเนินงานระดับพอใช้

    (3) ด้านการเงิน - 3.00 - 3.00 การด าเนินงานระดับพอใช้

    (4) ด้านการบริหารจัดการ - 4.17 4.33 4.21 การด าเนินงานระดับด ี

    2. มาตรฐานดา้นการด าเนินการตามภารกจิของสถาบันอุดมศึกษา

    - - -

    (1) ด้านการผลติบัณฑิต - 5.00 4.10 4.44 การด าเนินงานระดับด ี

    (2) ด้านการวิจยั 3.71 5.00 2.47 3.52 การด าเนินงานระดับด ี

    (3) ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม - 5.00 4.50 4.75 การด าเนินงานระดับดีมาก

    (4) ด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม - 4.00 4.00 4.00 การด าเนินงานระดับด ี

    เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมำตรฐำน 3.64 4.22 3.79 3.98 การด าเนินงานระดับด ี

    ผลกำรประเมิน ระดับดี ระดับดี ระดับดี

    จุดแข็งในภำพรวม 1. มหาวิทยาลัยมีนักวิชาการและนักวิจัยที่มศีักยภาพสูง 2. มีบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการใช้ชีวิตภายในมหาวิทยาลยั 3. มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกอย่างต่อเนื่อง จุดที่ควรพัฒนำและข้อเสนอแนะในภำพรวม 1. ผลการประเมินและข้อเสนอแนะในปีท่ีผ่านมายังไม่ได้น ามาด าเนินการปรับปรุงอย่างครบถ้วนและตรงประเด็น โดยเฉพาะ การวิเคราะห์รายได้รายจ่ายและกลยุทธ์ทางการเงิน 2. ยังมีช่องว่างระหว่างผู้บริหารระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และหน่วยงานสนับสนุน ท าให้เกดิปัญหาในการถ่ายทอดนโยบายเพื่อน าไปปฏิบตัิให้เป็นไปในทางเดียวกัน 3. ผลการด าเนินการตามตัวบ่งช้ี สมศ. หลายตัวยังไมเ่ป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยเฉพาะตัวบ่งช้ีเชิงปริมาณ จึงควรได้รับการก ากับดูแลอย่างใกล้ชิด 4. การประชาสมัพันธ์ในด้านต่าง ๆ ควรด าเนินการในเชิงรุกและให้มีประสิทธิผลยิ่งข้ึน เช่น ด้านภาพลักษณด์้านหลักสตูร ผลงานวิจัย/นวัตกรรมของอาจารย์/นักวิจัย รวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ ที่ด าเนินการเพื่อสาธารณชน

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -8-

    บทที่ 1 ส่วนน ำ

    1.1 ชื่อหน่วยงำน ที่ตั้ง และประวัติควำมเป็นมำโดยย่อ

    ชื่อหน่วยงำน

    มหำวิทยำลัยนเรศวร Naresuan University

    ที่ตั้ง

    มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 9 ต าบลท่าโพธิ ์ อ าเภอเมือง จังหวัดพษิณุโลก รหัสไปรษณีย ์ 65000 โทรศัพท์ : 055 961000 โทรสาร : 055 961103 Website : http://www.nu.ac.th

    ประวัติมหำวิทยำลัยนเรศวร

    มหาวิทยาลยันเรศวร มีสถานภาพที่ไดพ้ัฒนาสบืต่อกันมาหลายขั้นตอน โดยเร่ิมต้นจากการเป็นวิทยาลัยวชิาการศึกษา

    พิษณุโลก เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2510 สังกัดกรมการฝึกหัดครูกระทรวงศึกษาธิการ ในขณะนั้นมีคณะวชิาเพียงคณะเดียว คอื

    คณะศึกษาศาสตร์ ท าหนา้ที่ผลติครูในระดับปริญญาตรี หลักสตูรการศึกษาบัณฑิตเพียงหลักสตูรเดียว หลังจากนั้น 7 ปี ได้รบั

    การยกฐานะขึน้เป็น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก เมื่อวันที ่28 มิถุนายน 2517 โดยมีรองอธิการบดี เป็น

    ผู้บริหารสูงสดุ (อธิการบดีอยู่ที่มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอน

    นั้น มสีถานภาพเป็นส่วนหนึ่งของ 4 คณะวิชา คือ คณะศกึษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และคณะ

    วิทยาศาสตร์ โดยมีรองคณบดตี่าง ๆ เปน็ผู้บริหาร (คณบดีอยู่ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ ประสานมติร) รวมเวลาเปน็

    มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒได้ 16 ปี จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2533 และ

    ได้รับพระราชทานนามมหาวทิยาลัยแห่งใหม่นี้ว่า “มหาวิทยาลัยนเรศวร” โดยตั้งเป้าหมายที่จะพฒันาเปน็มหาวิทยาลยั

    สมบูรณ์แบบ และได้เปิดสอนสาขาวิชาใหม่ๆ ทั้งในระดบัปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ที่สนองตอบความต้องการ

    ของสังคมและชุมชนทัง้ในดา้นวทิยาศาสตร์เทคโนโลยี ดา้นวิทยาศาสตรส์ุขภาพ และด้านสังคมศาสตร์ ปจัจุบนั มหาวิทยาลยั

    นเรศวร มพีัฒนาการการจัดตั้งคณะ/ส านัก/สถาบนั ดังนี ้

    • หน่วยงานระดับคณะ ส านัก สถาบัน และหน่วยงานที่เทียบเทา่ เมื่อเร่ิมก่อตั้ง พ.ศ. 2533 ได้แก่

    1) ส านักงานอธิการบดี

    2) คณะวิทยาศาสตร ์

    3) คณะศึกษาศาสตร์

    4) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

    5) ส านักหอสมุด

    • หน่วยงานระดับคณะ ส านัก สถาบนั และหน่วยงานที่เทียบเท่าที่จดัตั้งเพิ่มใหม่ในช่วงแผนพฒันาการศึกษา

    ระดับอุดมศึกษา ฉบบัที่ 7 (พ.ศ. 2535 – 2539) ได้แก่

    1) คณะเภสัชศาสตร์

    2) คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    3) คณะวิศวกรรมศาสตร์

    http://www.nu.ac.th/

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -9-

    4) คณะแพทยศาสตร์

    5) วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา

    • หน่วยงานระดับคณะ ส านัก สถาบนั และหน่วยงานที่เทียบเท่าที่จดัตั้งเพิ่มใหม่ในช่วงแผนพฒันาการศึกษา

    ระดับอุดมศึกษา ฉบบัที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ได้แก ่

    1) คณะพยาบาลศาสตร ์

    2) คณะสหเวชศาสตร ์

    3) คณะทันตแพทยศาสตร ์

    • หน่วยงานระดับคณะ ส านัก สถาบนั และหน่วยงานที่เทียบเท่าที่จดัตั้งเพิ่มใหม่ในช่วงแผนพฒันาการศึกษา

    ระดับอุดมศึกษา ฉบบัที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549) ได้แก ่

    1) คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

    2) คณะสถาปตัยกรรมศาสตร ์

    3) วิทยาลัยนานาชาต ิ

    4) คณะนิติศาสตร ์

    5) คณะสังคมศาสตร์

    6) คณะสาธารณสุขศาสตร์

    7) คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์

    8) วิทยาลัยพลังงานทดแทน

    9) สถาบนัเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

    1.2 ปรัชญำ ปณิธำน เป้ำหมำยและวัตถุประสงค์

    ปรัชญำ

    มหาวิทยาลัยนเรศวร มีอุดมการณ์ มุ่งมั่นที่จะด าเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้

    พระราชทานความเป็นไท ความสงบ ความผาสุก แก่ปวงชนชาวไทยมาแล้วในอดีต ดังนั้น มหาวิทยาลัยนเรศวร จึงมุ่งเน้นที่จะ

    สืบสานให้สังคมไทยเป็นไทจากอวิชชา โดยค้นคว้าและสะสมองค์ความรู้เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ และมี

    คุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีงามในการด ารงชีวิตและสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสงบและสันติสุข มุ่งอนุรักษ์

    ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี เพื่อเป็นมรดกของชาติ สืบไป

    ปณิธำน

    มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ ( Comprehensive University ) ตั้งขึ้นในภูมิภาค เพื่อรับผิดชอบ

    ในเขตภาคเหนือตอนล่าง มุ่งเน้นการพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพชั้นสูงทุกด้าน เป็นศูนย์รวมแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่มีคุณค่าต่อ

    มวลมนุษย์ มุ่งมั่นที่จะด าเนินการตามรอยเบื้องพระยุคลบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่จะให้สังคมไทยเป็นไทจากอวิชชา

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -10-

    โดยการผลิตบัณฑิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้น าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน ตลอดจนการ

    อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น

    มหาวิทยาลยันเรศวร มีปณิธานอันแน่วแน่ที่จะด ารงความเป็นเลิศทางวชิาการและความเป็นสากล ในอันที่จะพฒันา

    ทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพและประสทิธิภาพ เพื่อเก้ือหนุนตอ่การพัฒนาประเทศ และสามารถแข่งขันในระดับนานาชาตไิด้

    แบบยั่งยนื มุ่งสร้างบัณฑิตให้เป็นผู้รอบรู้ทางวิชาการ เชี่ยวชาญวชิาชีพในทุกสรรพวิทยาการ ทั้งด้านสงัคมศาสตร ์ ด้าน

    วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มีความเป็นสากลทัง้ในเชิงเทคโนโลยี และภาษาทีจ่ าเปน็รวมถึงมี

    คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณแห่งวิชาชพี อีกทั้งเป็นผู้มีวิสัยทัศน์กวา้งไกลมจีิตใจร่วมพฒันา

    วัตถุประสงค ์

    1. เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความจงรักภักดี และความส านกึในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้

    พระราชทานความเป็นไท ความสงบ ความผาสุกแก่ปวงชนชาวไทยมาแล้วในอดีต

    2. เพื่อเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาทีส่มบูรณ์แบบมุ่งเนน้ที่จะสืบสานให้สังคมไทยเป็นไทจากอวิชชาโดย

    ค้นคว้าและสะสมองค์ความรู ้เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้วิชาการ เชี่ยวชาญวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมเป็นแบบอย่างทีด่ี

    งามในการด ารงชีวิตและสรา้งสรรค์สังคมให้เกิดความสงบและสันติสุขแบบยั่งยนืตลอดไป

    3. เพื่อเป็นมหาวิทยาลยัชั้นน าของประเทศที่จะผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระดบัสงูรวมทั้งเป็นแหล่งคน้คว้าวิจยั

    ในศิลปวิทยาการดา้นตา่ง ๆ ที่เก้ือหนุนต่อการพัฒนาประเทศ รวมถึงการให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยงานตา่งๆทั้งภาครัฐ

    และเอกชน

    4. เพื่อเป็นมหาวิทยาลยัที่มุ่งพัฒนาไปสู่ความเปน็เลิศทางวิชาการ และความเปน็สากลภายใต้การสร้างเครือข่ายความ

    ร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยทั้งในและตา่งประเทศ

    5. เพื่อเป็นมหาวิทยาลยัที่เป็นศูนย์กลางการศึกษาระดบัอุดมศึกษาส าหรับภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด

    6. เพื่อเป็นมหาวิทยาลยัที่มุ่งเน้นการน าเทคโนโลยีที่ทนัสมัยมาใช้ในดา้นการบริการ การจัดการเรียนการสอนและการ

    วิจัยที่สมบูรณ์แบบ

    7. เพื่อเป็นมหาวิทยาลยัที่เป็นศูนย์รวมการอนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม อันที่จะน าไปสู่การเป็น

    แบบอย่างที่ดีของสังคม

    8. เพื่อเป็นการกระจายโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้นการน าความเจริญไปสู่ภูมิภาค

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -11-

    1.3 โครงสร้ำงองค์กร และโครงสร้ำงกำรบริหำร

    โครงสร้ำงกำรบริหำรมหำวิทยำลัย

    1.4 รำยชื่อผู้บริหำร กรรมกำรบริหำร กรรมกำรสภำชุดปัจจบุัน

    1. คณะกรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยนเรศวร

    1 ศาสตราจารย ์นพ.ดร.กระแส ชนะวงศ ์ นายกสภามหาวิทยาลัย

    2 พลเอก ดร.ศิริ ทิวะพันธุ ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย

    3 ศาสตราจารย์ ไชยยศ เหมะรัชตะ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    4 ศาสตราจารย ์ดร.นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    5 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.บญุชอบ พงษ์พาณชิย ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    6 ดร.ปรีชา เรืองจันทร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    7 ร้อยตรี ดร.ประพาส ลิมปะพนัธุ ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    8 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.มรกต ตันติเจริญ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    9 รองศาสตราจารย ์ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

    10 นายบุญเกียรติ โชควัฒนา ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย

    11 ศาสตราจารย ์ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดี

    12 รองศาสตราจารย ์ดร.สุจินดา เจียมศรีพงษ์ กรรมการสภาประเภทผู้บริหาร

    13 รองศาสตราจารย ์ดร.ศรินทร์ทิพย์ แทนธาน ี กรรมการสภาประเภทผู้บริหาร

    14 รองศาสตราจารย์ดร.พูลสุข หิงคานนท ์ กรรมการสภาประเภทผู้บริหาร

    15 รองศาสตราจารย์ดร.กัญชลี เจติยานนท ์ กรรมการสภาประเภทอาจารย ์

    16 รองศาสตราจารย์ดร.รัตนะ บัวสนธ ์ กรรมการสภาประเภทอาจารย ์

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -12-

    17 รองศาสตราจารย์ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ์

    18 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษ ี กรรมการและเลขานุการ

    2. คณะกรรมกำรบริหำรมหำวิทยำลัยนเรศวร

    1 ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดี

    2 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กาญจนา เงารังษ ี รองอธิการบดีฝ่ายวชิาการ

    3 ดร.สุชาต ิ เมืองแก้ว รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร (ด ารงต าแหน่ง 1 พฤษภาคม 2555 - ปัจจุบนั )

    4 รองศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล มุณีสว่าง รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

    5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.ศิริเกษม ศิริลักษณ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนสิิต

    6 ดร.ศิริชัย ตันรัตนวงศ ์ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน

    7 รองศาสตราจารย์ ดร.สุขกิจ ยะโสธรศรีกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

    8 นายปริญญา ปานทอง รองอธิการบดีฝ่ายจัดการทรัพยส์ิน

    9 รองศาสตราจารย์ ดร.อรุณี อ่อนสวัสดิ ์ รองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ

    10 ดร.จิรณี ตันติรัตนวงศ ์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษดา้นมาตราฐานการศึกษา

    11 Assoc.Prof.Dr.Mary Elizabeth Sarawit ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษดา้นภาษาและกิจการต่างประเทศ

    12 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คนึงนจิ ภู่พัฒน์วบิูลย ์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

    13 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนนิทร ์ อัมพรสถิร คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    14 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทพ.ไพโรจน์ ศรีอรุณ คณบดีคณะทนัตแพทยศาสตร ์

    15 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญญรตัน์ โชคบนัดาลชัย คณบดีคณะนติิศาสตร ์

    16 รองศาสตราจารย์ ดร.พูลสุข หิงคานนท ์ คณบดีคณะพยาบาลศาสตร ์

    17 ศาสตราจารย์ นพ. ดร. ศุภสิทธิ ์ พรรณารุโณทัย คณบดีคณะแพทยศาสตร ์

    18 รองศาสตราจารย์ ดร.จันทรรัตน์ สิทธิวรนนัท ์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร ์

    19 รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณบดีคณะมนษุยศาสตร์

    20 รองศาสตราจารย์ ดร.สุจนิดา เจียมศรีพงษ์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ 21 ศาสตราจารย์ ดร.สมยศ พลับเที่ยง คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ (ด ารงต าแหน่ง 20 มกราคม

    2555 - ปัจจุบนั )

    22 รองศาสตราจารย์ ดร. ชยนัต์ บุณยรักษ์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร ์

    23 รองศาสตราจารย์ ดร.เสมอ ถาน้อย คณบดีคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -13-

    24 รองศาสตราจารย์ ดร.ศรินทร์ทพิย์ แทนธาน ี คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร ์

    25 รองศาสตราจารย์ ดร.ส าราญ มีแจ้ง คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ (ด ารงต าแหน่ง 20 มกราคม 2555 - ปัจจุบนั )

    26 รองศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ นพรัก คณบดีคณะศึกษาศาสตร ์

    27 อาจารย์เฉลิมชัย เงารังษ ี คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

    28 รองศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ตั้งวรสิทธิชยั คณบดีคณะสหเวชศาสตร ์

    29 นพ. ดร.ภูดิท เตชาติวัฒน ์ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร ์

    30 รองศาสตราจารย์ พรรณยุพา นพรัก คณบดีคณะสงัคมศาสตร ์

    31 รองศาสตราจารย์ ดร.พรชลุี อาชวอ ารุง ผู้อ านวยการวทิยาลัยนานาชาติ

    32 ดร.สุขฤดี สุขใจ ผู้อ านวยการวทิยาลัยพลังงานทดแทน

    33 รองศาสตราจารย์ ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ์

    34 นายปริญญา ปานทอง ผู้อ านวยการสถาบนัเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน 35 รองศาสตราจารย์ ดร.รัตติมา จีนาพงษา ผู้อ านวยการส านักหอสมุด

    1.5 หลักสูตรและสำขำวิชำที่เปิดสอน

    สรุปข้อมูลหลักสูตรทีจ่ะด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในปีกำรศึกษำ 2554

    ที่ คณะ ระดับ

    รวม ต่ ำกว่ำป.ตร ี ป.ตร ี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก

    กลุ่มวิทยำศำสตร์และเทคโนโลย ี - 30 0 27 15 72 1 คณะเกษตรศาสตร์ฯ - 9 - 6 4 19 2 คณะวิทยาศาสตร ์ - 8 - 10 7 25 3 คณะวิศวกรรมศาสตร ์ - 8 - 8 2 18 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร ์ - 5 - 1 1 7 5 วิทยาลัยพลังงานทดแทน - - - 2 1 3

    กลุ่มวิทยำศำสตร์สุขภำพ 2 17 1 23 8 51 6 คณะทันตแพทยศาสตร ์ 1 1 - 2 1 5 7 คณะพยาบาลศาสตร ์ 1 2 - 2 - 5 8 คณะแพทยศาสตร ์ - 1 1 3 1 6 9 คณะเภสัชศาสตร ์ - 2 - 6 1 9 10 คณะวิทยาศาสตร์การแพทย ์ - 2 - 6 4 12 11 คณะสาธารณสุขศาสตร ์ - 5 - 2 1 8 12 คณะสหเวชศาสตร ์ - 4 - 2 - 6

    กลุ่มสังคมศำสตร์ - 35 1 27 13 76 13 คณะนติิศาสตร ์ - 1 - - - 1

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -14-

    ที่ คณะ ระดับ

    รวม ต่ ำกว่ำป.ตร ี ป.ตร ี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก

    14 คณะมนุษยศาสตร ์ - 10 - 6 4 20 15 คณะวิทยาการจัดการฯ - 8 - 9 3 20 16 คณะศึกษาศาสตร ์ - 6 1 7 5 19 17 คณะสังคมศาสตร ์ - 6 - 5 1 12 18 วิทยาลัยนานาชาต ิ - 4 - - - 4

    รวม 2 82 2 77 36 199

    1.6 นักศึกษำ

    จ ำนวนนักศึกษำ มหำวิทยำลัยนเรศวร ปีกำรศึกษำ 2554

    ระดับกำรศึกษำ จ ำนวนนักศึกษำ (คน)

    อนุปริญญา 61

    ปริญญาตร ี 20,911

    ปริญญาโท 3,794

    ปริญญาเอก 773

    ประกาศนียบัตรสูงกวา่ป.ตรี 33

    รวม 25,572

    1.7 จ ำนวนอำจำรย์และบุคลำกร

    จ ำนวนอำจำรย์ประจ ำ ประจ าปีการศึกษา 2554 = 1,221 คน

    วุฒิกำรศึกษำ

    ต ำแหน่งทำงวิชำกำร ปริญญำตร ี ปริญญำโท ปริญญำเอก

    รวม

    อาจารย ์ 68.5 421.5 362 852

    ผู้ช่วยศาสตราจารย ์ 1 80 175 256

    รองศาสตราจารย ์ 0 21 87 108

    ศาสตราจารย ์ 0 0 5 5

    รวม 69.5 522.5 629 1221

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -15-

    จ ำนวนบุคลำกรสำยสนับสนุน ประจ าปีการศึกษา 2554 = 2,600 คน

    บุคลำกรประเภท ต่ ำกว่ำ ป.ตร ี ป.ตร ี ป.โท ป.เอก รวม

    ข้าราชการกลุ่มบริหาร 0 0 10 0 10

    ข้าราชการกลุ่ม วช/ชช 0 12 110 0 122

    ข้าราชการกลุ่มทั่วไป 2 4 1 0 7

    พนักงานสายบริการ 24 689 410 3 1126

    พนักงานสายบริการ(เงินรายได)้ 6 571 48 0 625

    พนักงานราชการ(เงินแผน่ดิน) 9 66 28 0 103

    พนักงานราชการ(เงินรายได้) 484 47 1 0 532

    ลูกจ้างประจ า 65 9 1 0 75

    รวม 590 1,398 609 3 2,600

    1.8 ข้อมูลพื้นฐำนโดยย่อเกี่ยวกับงบประมำณ อำคำรสถำนที่

    1. งบประมำณแผ่นดิน ปงีบประมำณ พ.ศ. 2554

    ประเภทงบรำยจ่ำย งบประมำณแผ่นดิน เงินนอกงบประมำณแผ่นดิน

    ประเภทเงินรำยได ้รวม

    งบบุคลากร 331,557,900 117,671,390 449,229,290

    งบด าเนนิงาน 174,068,100 675,116,815 849,184,915

    งบลงทุน 460,003,700 164,955,902 624,959,602

    งบเงินอุดหนุน 670,742,500 604,116,682 1,274,859,182

    รวม 1,636,372,200 1,561,860,789 3,198,232,989

    2. งบประมำณรำยได้ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2554 จ ำแนกตำมมิติกองทุน

    กองทุน งบประมำณ

    กองทุนทั่วไป 409,236,347

    กองทุนเพื่อการศึกษา 367,899,956

    กองทุนกิจการนิสิต 57,770,600

    กองทุนบริการสุขภาพ 398,094,674

    กองทุนวิจัย 33,872,700

    กองทุนท านุบ ารุงศิลปวฒันธรรม 3,259,800

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -16-

    กองทุน งบประมำณ

    กองทุนบริการวิชาการ 34,873,500

    กองทุนสินทรัพย์ถาวร 207,100,202

    กองทุนส ารอง 49,753,010

    รวม 1,561,860,789

    ข้อมูลอำคำรสถำนที่

    มหาวิทยาลยันเรศวรมี พื้นททีั้งหมด 1,284 ไร่ (2,054,400 ตารางเมตร) มีพื้นที่ใช้สอยปัจจุปัน 598,597 ตารางเมตร

    ประกอบด้วย

    อาคารสนบัสนนุการเรียนการสอน 15 อาคาร

    อาคารสนบัสนนุการบริการ 16 อาคาร

    อาคารสนบัสนนุการบริหาร 3 อาคาร

    อาาคารสนับสนุนการวิจัย/ปฎิบตัิการ 5 อาคาร

    อาคารประเภทอื่นๆ เช่น บ้านพักผู้บริหาร กลุ่มอาคารพิพิธภัณฑ์ชีวิต อาคารชมรมส่วนกลาง 4 อาคาร

    อาคารหอพัก 7 อาคาร

    อาคารสันทนาการ 5 อาคาร

    พื้นที่ก าลงัก่อสร้าง 146,070 ตารางเมตร

    Green Area 1,565,037 ตารางเมตร

    สระว่ายน้ าและอ่างเก็บน้ า 128,000 ตารางเมตร

    1.9 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถำบัน

    เอกลักษณ์มหาวิทยาลัยนเรศวร คือ “มหำวิทยำลัยแห่งนวัตกรรม”

    อัตลักษณ์บัณฑิตมหาวิทยาลัยนเรศวร คือ “เก่งงำน เก่งคน เก่งคิด เก่งครองชีวิติ เก่งพิชิตปญัหำ”

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -17-

    1.10 ผลกำรปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะของผลประเมินปีทีผ่่ำนมำ

    องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญำ ปณิธำน วัตถุประสงค์ และแผนด ำเนินกำร

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    แนวทำงเสริมจุดแข็ง

    1. ควรมีการก าหนดระดับเป้าหมายของตัวช้ีวัดความส าเร็จของแผนยุทธศาสตร์ในแต่ละปี ตั้งแต่เริ่มแผนจนสิ้นสุดแผน

    กองแผนงาน/กองต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตามพันธกิจ

    ได้ก าหนดตัวช้ีวัดความส าเร็จของแผนยุทธศาสตร์แล้วในแผนยุทธศาสตร์ ระยะที ่11ปีพ.ศ.2555-2559

    2. ควรแปลงแผนยุทธศาสตร์ในแต่ละกลยุทธ์และมาตรการไปสู่แผนปฏิบัติการประจ าปี ท่ีระบุโครงการ/กิจกรรม ตัวบ่งช้ี ระดบัเป้าหมาย กรอบเวลา และผู้รับผิดชอบ

    การจัดท าแผนปฏิบตัิการประจ าปผี่านระบบฐานข้อมูล MISโดยใหม้ีโครงการครบทุกพันธกิจหลักเป็นอย่างน้อย

    กองแผนงาน/หน่วยงานตา่งๆ/คณะวิชา

    มีการแสดงความสอดคล้องของแต่ละโครงการในแต่ละปีงบประมาณว่าสอดคล้องกับกลยุทธ์ใดบ้าง ในระบบNUPM

    3. ควรก าหนดหน่วยงานท่ีร่วมรับผิดชอบ ตามมาตรการและตัวช้ีวัดในแต่ละกลยุทธ์ (ไม่ใช่ผู้รับผิดชอบรวบรวมข้อมูล ) ทั้งนี้หากมีหลายหน่วยงาน ควรระบุผู้รับผิดชอบหลักและผู้รับผิดชอบร่วม

    การประชุมช้ีแจงและการมีส่วนร่วมรับผดิชอบในแต่ละมาตรการ ตัวบ่งช้ี ในแต่ละกลยุทธ์ ผ่านการประชุมคณะกรรมการบรหิารมหาวิทยาลยั

    กองแผนงาน/หน่วยงานต่างๆ/คณะวิชา

    มีการจัดท าผังความรับผดิชอบของแต่ละกลยุทธ์และมาตรการทั้งผู้รับผิดชอบหลักและรอง

    จุดที่ควรพัฒนำ

    1. กระบวนการการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ที่เป็นทางการในแตล่ะยุทธศาสตร์และกลยุทธ์

    การประชุมช้ีแจงร่างแผนฯ 11 ก่อนเริ่มท าเป็นแนวทางการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าป ี2555 หรือ 2556และมอบหมายหน่วยงาน/บุคลากรทีร่ับผดิชอบ

    กองแผนงาน อธิการบดี/รองอธิการบดีที่เกี่ยวข้อง

    มีการประชุมผู้ที่เกีย่วข้องก่อนการจัดท างบประมาณ พ.ศ.2556 เมื่อวันท่ี 21พ.ค.55

    ข้อเสนอแนะในกำรปรับปรุง

    1. ควรเพิ่มการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกภาคส่วน ด้วยกระบวนการเรียนรูร้่วมกันให้เข้าใจความหมายของ กลยุทธ์ เพื่อน าไปสู่การปฏิบัต ิ

    - การประชุมกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย

    กองแผนงาน

    - การประชุมผ่านคณะกรรมการตามโครงสร้างการบริหารของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับพันธกิจต่างๆ เพื่อถ่ายทอดใน

    กองกลาง มีการประชุมผู้ที่เกีย่วข้องก่อนการจัดท างบประมาณ พ.ศ.2556 เมื่อวันท่ี 21พ.ค.55

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -18-

    องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญำ ปณิธำน วัตถุประสงค์ และแผนด ำเนินกำร

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    ระดับชั้นต่างๆ ให้ขยายวงกว้าง

    - มีการท าประชาพิจารณ์แผนกลยุทธ์โดยให้บุคลากรมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (รูปแบบที่ผ่านมาไม่เหมาะสม รวบรัด)

    สภาอาจารย ์ มีการจัดท าประชาพิจารณ์แผนฯ 11 เมื่อวันท่ี 20พ.ค.54

    2. ควรมีการก าหนดผูร้ับผดิชอบในบางกลยุทธ์ที่มีความเฉพาะของเนื้อหางานนั้นๆ อย่างเป็นทางการและชัดเจน

    การประชุมช้ีแจงในแตล่ะหน่วยงาน ก่อนการขับเคลื่อน ร่างแผนฯ 11 ในปีงบประมาณ 2556

    กองแผนงาน มีการประชุมผู้ที่เกีย่วข้องก่อนการจัดท างบประมาณ พ.ศ.2556 เมื่อวันท่ี 21พ.ค.55

    3. ควรเพิ่มกระบวนการสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปฏิบตัิในการเชื่อมโยงพันธกิจ 4 ด้าน โดยเฉพาะพันธกิจด้านบริการวิชาการ และ ด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม เข้ากับยุทธศาสตร์ ทั้ง4

    การประชุมช้ีแจงทุกหน่วยงานภายในมหาวิทยาลยั ก่อนการขับเคลื่อน ร่างแผนฯ11 ในปีงบประมาณ2556

    กองแผนงาน มีการประชุมผู้ที่เกีย่วข้องก่อนการจัดท างบประมาณ พ.ศ.2556 เมื่อวันท่ี 21พ.ค.55

    องค์ประกอบท่ี 2 กำรผลิตบัณฑิต

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    แนวทำงเสริมจุดแข็ง 1. มหาวิทยาลัยควรก ากับติดตามให้คณะวิชา อาจารย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ด าเนินการสนับสนุนการเรยีนการสอนให้บรรลผุลตามทีม่หาวิทยาลัยก าหนด

    - การจัดท าเครื่องมือท่ีง่ายต่อการก ากับติดตามในแตล่ะหลักสตูร

    กองบริการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิชา

    มีคณะกรรมการประจ าบณัฑติวิทยาลัยเพื่อควบคมุคุณภาพ และก ากับมาตรฐานการศึกษาระดับบณัฑติศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานของ สกอ. และมหาวิทยาลยั (บัณฑิตวิทยาลัย)

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -19-

    องค์ประกอบท่ี 2 กำรผลิตบัณฑิต

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    งานพัฒนาหลักสูตร ไดม้ีการติดตามการบริหารจัดการหลักสตูรจากทุกคณะภายในมหาวิทยาลยันเรศวร โดยก าหนดปฏิทินการด าเนินงานแบ่งออกเป็น 3 รอบ คือภาคต้นปีการศึกษา ภาคปลายปีการศึกษา และภาคฤดรู้อน แล้วแจ้งคณะเพื่อทราบและด าเนินงานตามรอบ เมื่อครบรอบการด าเนินงานแล้วทางกองบริการการศึกษาไดส้่งแบบสอบถามการติดตามการบริหารจดัการหลักสูตรไปยังคณะ โดยงานพัฒนาหลักสูตรได้เก็บรวบรวมวเิคราะห์ผล และน าเสนอต่อที่ประชุมสภาวิชาการต่อไป (กองบริการการศึกษา)

    - ร่วมกันประชุมหารือเรื่องสื่อสนับสนุนการเรยีนการสอนต่าง ๆ และวิธีการประเมินสื่อสนับสนุนเหล่านี ้

    กองบริการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิชา

    มีการประชุมคณะกรรมการประจ าบณัฑิตวิทยาลัยทุกเดือน (บัณฑิตวิทยาลัย)

    มหาวิทยาลยัได้ท าค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานประกันคณุภาพระดับมหาวิทยาลยั (ที่เกี่ยวข้องกับด้านวิชาการ) ข้ึน เพื่อท าหน้าท่ี วางแผนงาน ด าเนินการรวบรวม ติดตามผล จัดท าเอกสารประกันคุณภาพการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับด้านวิชาการ โดยมีการจัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อหารือในเรื่องต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -20-

    องค์ประกอบท่ี 2 กำรผลิตบัณฑิต

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    จ านวน 2 ครั้ง คือ วันท่ี 8 พ.ย. 54 และวันท่ี 2 ธ.ค.54 ทั้งนี้ มหาวิทยาลยัไดด้ าเนินการก ากับติดตามคณะต่างๆ เกี่ยวกับสิ่งสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน โดยมีการประเมินความคิดเห็นของนิสิตทีม่ีต่อการจัดการสอนของอาจารย์ผูส้อน ในด้านต่างๆ รวมถึงปัจจยัเกื้อหนุนต่อการเรียนรู้ของนิสติ ในด้านคุณภาพห้องเรียน (ค่าเฉลี่ย 4.05) คุณภาพห้องปฏิบัติการ (ค่าเฉลี่ย 4.11) และสิ่งเอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ฯ (ค่าเฉลี่ย 4.03) ซึ้งมีผลการประเมินภาพรวมในภาคเรียนท่ี2/2554 อยู่ในระดับมาก (ค่ำเฉลี่ย4.03) (กองบริการการศึกษา)

    จุดที่ควรพัฒนำ

    1. มหาวิทยาลัยควรมีการก ากับติดตามการปฏิบัติในเรื่องการประเมินผลการบริหารหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษา เพ่ือให้เป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติทุกหลักสตูร

    - การจัดท าเครื่องมือท่ีง่ายต่อการก ากับติดตามในแตล่ะหลักสตูรผ่านคณะกรรมการวิชาการ

    กองบริการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิชา

    1) คณะกรรมการประจ าบณัฑติวิทยาลัยเพื่อควบคมุคุณภาพของหลักสูตร 2) มีการจดัโครงการประเมินการจัดการเรยีนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาในและนอกสถานที่ตั้ง และจัดท ารายงานผลการประเมินการจดัการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา 3) มีโครงการสมัมนาการพัฒนาหลักสตูรระดับบณัฑติศึกษาสู่นานาชาติ

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -21-

    องค์ประกอบท่ี 2 กำรผลิตบัณฑิต

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    (บัณฑิตวิทยาลัย)

    งานพัฒนาหลักสูตร ไดม้ีการติดตามการบริหารจัดการหลักสตูรจากทุกคณะ3 รอบ คือภาคต้นปีการศึกษา ภาคปลายปีการศึกษา และภาคฤดรู้อน แล้วแจ้งคณะเพื่อทราบและด าเนินงานตามรอบ เมื่อครบรอบการด าเนินงานแล้วทางกองบริการการศึกษาไดส้่งแบบสอบถามการติดตามการบริหารจดัการหลักสูตรไปยังคณะ โดยงานพัฒนาหลักสูตรได้เก็บรวบรวมวเิคราะห์ผล และน าเสนอต่อที่ประชุมสภาวิชาการต่อไป (กองบริการการศึกษา)

    - จัดท าระบบการก ากับติดตามการประเมินผลที่เป็นของส่วนกลาง

    กองบริการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิชา

    1) โครงการประเมินการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาในและนอกสถานที่ตั้ง และจัดท ารายงานผลการประเมินการจดัการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา 2) มีกระบวนการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนของอาจารยผ์ู้สอน (บัณฑติวิทยาลัย) งานพัฒนาหลักสูตร ไดม้ีการติดตามการบริหารจัดการหลักสตูรจากทุกคณะ3 รอบ คือภาคต้นปีการศึกษา ภาคปลายปีการศึกษา และภาคฤดรู้อน แล้วแจ้งคณะเพื่อทราบและด าเนินงานตามรอบ เมื่อครบรอบการด าเนินงานแล้วทาง

  • รายงานผลการประเมินคณุภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลยันเรศวร ประจ าปีการศึกษา 2554

    -22-

    องค์ประกอบท่ี 2 กำรผลิตบัณฑิต

    ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมิน กลไกขับเคลื่อนสู่กำรพัฒนำปรับปรุงแก้ไข

    หน่วยงำน/ผู้รับผิดชอบด ำเนินกำร

    ผลกำรด ำเนินงำน

    กองบริการการศึกษาไดส้่งแบบสอบถามการติดตามการบริหารจดัการหลักสูตรไปยังคณะ โดยงานพัฒนาหลักสูตร ได้เก็บรวบรวมวเิคราะห์ผล และน าเสนอต่อที่ประชุมสภาวิชาการต่อไป (กองบริการการศึกษา)

    2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารหลักสตูรและการจัดการเรียนการสอน ระดับบณัฑิตศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลมาพัฒนาปรับปรุงการบริหารจัดการ ในการเพิ่มจ านวนนิสิตระดับบณัฑติศึกษา ปริญญาโท แผน ก และปริญญาเอก ให้เป็นไปตามเกณฑ์การเป็นมหาวิทยาลยัวิจัย

    - สนับสนุนการท าวิจยัสถาบัน (อาจก าหนดให้ใช้วิจัยสถาบันเป็นส่วนส าคญัของการประเมินเข้าสูต่ าแหน่งของบุคลากรสายสนับสนุน) - ให้แรงจูงใจ เช่น ทุนวิจัย เงินรางวัลของวิจัยที่มีคุณภาพด ี

    กองบริการการศึกษา มีการท าวิจัยเกีย่วกับการบริหารจัดการหลักสตูร ของนิสิตระดบัปริญญาตรี เกีย่วกับการสละสิทธ์ิการเข้าศึกษาในมหาวิทยาลยันเรศวร ในปีการศึกษา2554 (กองบริการการศึกษา) ได้สนบัสนุนให้บุคลากรท าวิจยัสถาบัน เพื่อน าไปปรับปรุงและพัฒนาการท างานของทุกงาน โดยได้รับงบสนับสนุนจากกองบริหารงานวิจัย ในทุกปีงบประมาณ ตามข้อเสนอโครงการการวิจัย ที่ได้รับการกลั่นกรองจากคณะกรรมการวิจัยสถาบันของกองบริการการศึกษา (กองบริการการศึกษา)

    3. ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์และส ารวจความต้องการพัฒนาบุคลากรทางสายวิชาการผลการประเมินการสอนและความต้องการของบุคลากรสายสนับสนนุ มาจัดท าแผนพัฒนาบุคลากร โดยเฉพาะแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการด้านเทคนิคการสอนและการวัดผล และการจดัท าผลงาน

    - น าข้อมูลจากร่างแผนฯ11 มาสู่การจัดท าแผนด้านการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร

    กองการบริหารงานบุคคล กองบริการการศึกษา

    1. ได้จัดท าแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อเป็นการพัมนาบุคลากรของหน่วยงานให้สอดคล้�