16
ปที38 ฉบับที377 ธันวาคม 2556 นิทรรศการจิตรกรรมภาพประกอบ มหากาพย์รามายณะของวาลมีกิ นิทรรศการจิตรกรรมภาพประกอบ มหากาพย์รามายณะของวาลมีกิฉบับภาษาไทย

su news December 56-1.indd

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: su news December 56-1.indd

ปที่ 38 ฉบับที่ 377 ธันวาคม 2556

นิทรรศการจิตรกรรมภาพประกอบมหากาพย์รามายณะของวาลมีกินิทรรศการจิตรกรรมภาพประกอบ

มหากาพย์รามายณะของวาลมีกิฉบับภาษาไทย

Page 2: su news December 56-1.indd

2 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

เมื่อวันที่4ธันวาคม2556ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญถาวรเวชอธิการบดีรองศาสตราจารย์ดร.คณิตเขียววิชัยรองอธิการบดีพระราชวังสนามจันทร์และผู้ช่วย-ศาสตราจารย์ดร.ดาวลอยกาญจมณีเสถียรรองอธิการบดีเพชรบุรีพร้อมด้วยคณะผู้บริหารคณาจารย์ข้าราชการพนักงาน และบุคลากร มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดินเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา5ธันวาคม2556เพื่อเป็นการน้อมส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณและแสดงถึงความจงรักภักดี ยึดมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความถูกต้องเป็นธรรม ซี่อสัตย์สุจริต และได้ร่วมกันขับร้องเพลงเทิดพระเกียรติณมหาวิทยาลัยศิลปากรส�านักงานอธิการบดีตลิ่งชันกรุงเทพฯวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์จังหวัดนครปฐมและวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีจังหวัดเพชรบุรี

๏ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ภูมิพลมหาราชมหิศรศรี

เทิดพระองค์เหนือสิ่งใดในปฐพี ราษฎร์ปลื้มปรีดิ์โสมนัสสาพระการุญ

๏ทรงปกครองสยามรัฐทรงพัฒนา ด้วยพระบุญญาธิการอันอบอุ่น

นับเป็นสิ่งสุดประเสริฐเลิศพระคุณ ทศพิธราชธรรมมนุญนานัปการ

๏แปดสิบหกพรรษามหามงคล อเนกชาตินิกรชนเกษมศานติ์

เฉลิมพระเกียรติถวายราชสักการ พระสยามเทพประทานพระพรชัย

๏พร้อมพระบารมีพระตรีรัตน์ ตังวายสวัสดิ์ภูบดีอดิศัย

ขอพระองค์ทรงสถิตตรึงจิตใจ ประชาราษฎร์สืบไปทรงพระเจริญ๚ะ๛

พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน

แปดสิบหกพรรษามหามงคล

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะข้าพระพุทธเจ้ามหาวิทยาลัยศิลปากรรองศาสตราจารย์นันทาขุนภักดีประพันธ์

Page 3: su news December 56-1.indd

3 ธันวาคม 2556

บทเพลง “พระราชาผู้ทรงธรรม” เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2556

เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินบทเพลงนี้ซึ่งเป็นบางส่วนของเนื้อร้องจากบทเพลง“พระราชาผู้ทรงธรรม”1ใน5บทเพลงจากบทเพลงคุณธรรมร่วมสมัยชุด“ฟังแล้วอิ่มใจ”โดยส�านักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยกระทรวงวัฒนธรรมและคณะดุริยางคศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากรร่วมจัดท�าโครงการบทเพลงคุณธรรมร่วมสมัยชุด“ฟังแล้วอิ่มใจ”โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังจิตส�านึกและแก้ไขปัญหาสังคมโดยใช้บทเพลงเป็นสื่อกลางบทเพลงในชุด“ฟังแล้วอิ่มใจ”ประกอบด้วย5บทเพลงได้แก่เพลงฉันรักแม่เพลงเพื่อกันเพลงท�าบุญข้างเธอเพลงฝันที่งดงามและเพลงพระราชาผู้ทรงธรรมเนื้อหาของแต่ละบทเพลงนั้นได้แทรกเรื่องราวพุทธประวัติและค�าสอนของพระพุทธเจ้าเรียงร้อยเป็นท่วงท�านองที่ไพเราะเหมาะกับสมัยนิยมโดยนักแต่งเพลงและนักร้องที่มีชื่อเสียงร่วมรังสรรค์เนื้อร้องและขับร้องมีท่วงท�านองที่แตกต่างกันทั้งออเครสต้าและแจ๊ส

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทเพลง “พระราชาผู้ทรงธรรม” สร้างสรรค์บทเพลงเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็พระเจ้าอยูห่วั เนือ่งในโอกาสวนัเฉลมิพระชนมพรรษา 5 ธนัวาคม 2556 เนือ้หากล่าวถงึธรรมะของพระราชาทีท่�าให้ประชาชนชาวไทยได้อยูด่กีนิด ี ร่มเยน็เป็นสขุตลอดมาจนถงึปัจจบุนั ประพนัธ์ค�าร้องและท�านองโดย นายกมลศักดิ์ สุนทานนท์ และนายปิติ ลิ้มเจริญ เรียบเรียงโดย นายวีรภัทร์ อึ้งอัมพร ขับร้องโดย เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์

กระทรวงวัฒนธรรมได้น�าบทเพลง“พระราชาผู้ทรงธรรม”เผยแพร่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆเมื่อปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมารวมทั้งทางsocialnetworkต่างๆตลอดเดือนธันวาคมนี้และมีโครงการมอบบทเพลงชุด“ฟังแล้วอิ่มใจ”ให้แก่สถาบันการศึกษาองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนศาสนาสถานต่างๆ ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดบทเพลง “พระราชาผู้ทรงธรรม” ได้ทางwww.m-culture.go.thและwww.su.ac.th

“...เพราะท่านท�าเพื่อคนไทย ด้วยธรรมะของพระราชา หวังให้เราชาวประชา อยู่ดีกินดี ท่านต้องเหนื่อยเพราะงานหนัก ไม่เคยพักจวบจนวันนี้ ช่างโชคดี ที่แผ่นดินนี้ มีราชาผู้ทรงธรรม...”

Page 4: su news December 56-1.indd

4 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

เมื่อวันที่14ธันวาคม2556มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดงานวันพระยาอนุมานราชธนประจ�าปี2556“125ปีชาตกาลพระยาอนุมานราชธนผู้อ�านวยการ(อธิการบดี)คนแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร”ผู้มีส่วนส�าคัญในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยศลิปากรสถาบนัการศกึษาด้านศลิปะแห่งแรกของประเทศไทยอนั-เป็นสถาบนัการศกึษาชัน้น�าแห่งการสร้างสรรค์ในปัจจบุนัเพือ่เผย-แพร่เกยีรตคิณุและร�าลกึถงึพระยาอนมุานราชธนปราชญ์แห่งสยาม

มหาวทิยาลยัศลิปากรร่วมกบัทายาทพระยาอนมุานราชธนจดัการประกวดวรรณกรรม“รางวลัพระยาอนุมานราชธน”เนื่องในงานวันพระยาอนุมานราชธนประจ�าปี2556เพื่อร�าลึกถึงพระคุณและความภาคภมูใิจในศาสตราจารย์พระยาอนมุานราชธนผูม้ผีลงานดเีด่นทางด้านวฒันธรรมระดบัโลกและเพื่อเผยแพร่เกียรติคุณปราชญ์ของแผ่นดินซึ่งในปีนี้มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดการประกวดวรรณกรรมโดยแบ่งประเภทผลงานเป็น3ประเภทประกอบด้วยการประกวดหนังสือแปลดีเด่นการประกวดแปลเรื่องสั้นและการประกวดเขียนเรื่องสั้นโดยมีพิธีมอบรางวัลวรรณกรรม“พระยาอนุมานราชธน”ประจ�าปี2556โดยพันต�ารวจเอก(พิเศษ)บรรยงค์อนุมานราชธนเป็นประธาน

125 ปี ชาตกาลพระยาอนุมานราชธน

นอกจากนี้ยังมีการเสวนาเรื่อง“รามายณะศึกษากับพระยาอนุมานราชธน”โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์สยามภัทรานุ-ประวตัิและอาจารย์นาวนิวรรณเวชด�าเนนิรายการโดยอาจารย์กิตติชัยพินโนการเสวนาเรื่อง“พบนักเขียนเรื่องสั้นและแปลวรรณกรรมรางวัลพระยาอนุมานราชธน” ร่วมเสวนาโดยอาจารย์วรรณานาวิกมูลนางสาวอรวรรณนารากุลนางสาวอาจารีย์สุทธิโรจน์ผู้แทนนางอายุรีชีวรุโณทัย(รางวัลชนะเลิศหนงัสอืแปลดเีด่น)นางสาวศณุษิาเทพธารากลุการ(รางวลัชนะเลศิการเแปลเรือ่งสัน้)นางสาวหสัภพตัง้มหาเมฆ(รางวลัชนะเลศิการเขียนเรื่องสั้น)ด�าเนินรายการโดยอาจารย์สกุลบุณยทัตณบริเวณสวนแก้วมหาวิทยาลัยศิลปากรวังท่าพระ

Page 5: su news December 56-1.indd

5 ธันวาคม 2556

คณะมณัฑนศลิป์จดัโครงการวจิารณ์วทิยานพินธ์ศลิปะและการออกแบบระดับนานาชาติครั้งที่12:2013เนื่องในโอกาสครบรอบ70ปีมหาวิทยาลัยศิลปากรซึ่งเป็นความร่วมมือทางวิชาการระดับนานาชาติร่วมกับมหาวิทยาลัยชัน้น�าในด้านศลิปะและการออกแบบประกอบด้วยChinaCentralAcademyofFineArtสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีนDesignTsinghuaUni-versityประเทศญี่ปุ่นและOsloNationalAcademyofFineArtsประเทศนอร์เวย์โดยได้รับเกียรติจากมหาวิทยาลัยภาคีมอบหมายให้คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นเจ้าภาพจัดขึ้นระหว่างวันที่3-7พฤศจิกายน2556ณคณะมัณฑนศิลป์วังท่าพระกรุงเทพฯ

โครงการดังกล่าวริเริ่มเมื่อปีพ.ศ.2550โดยGraduateSchoolofTamaArtUniversityมหาวิทยาลัยTamaArtประเทศญี่ปุ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีในการเผยแพร่หลักสูตรผลงานวทิยานพินธ์แลกเปลีย่นข้อมลูและความรูส้าขาศลิปะและการออกแบบระดับบัณฑิตศึกษาและสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการของนกัศกึษาคณาจารย์และบคุลากรตลอดจนสร้างความเป็นเลศิและเป็นผู้น�าทางวิชาการ

คณะมณัฑนศลิป์ในฐานะเป็นสถาบนัอดุมศกึษาทีม่ชีือ่เสยีงด้านการออกแบบและเป็นทีย่อมรบัว่าเป็นคณะวชิาชัน้น�าของประเทศจึงตระหนักถึงความส�าคัญและรับเป็นเจ้าภาพในการจัดโครงการดังกล่าวเพื่อตอบสนองนโยบายการศึกษาสู่อาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการและรัฐบาลในปีพ.ศ.2558ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วยนักศึกษานานาชาติและนักศึกษาไทยจ�านวน24คนโดยเป็นนกัศกึษาระดบัปรญิญาโททีผ่่านการคดัเลอืกในการน�าเสนอแนวคดิผลงานการออกแบบศิลปะ

เมื่อวันที่4พฤศจิกายน2556มีพิธีเปิดงานอย่างเป็นทางการประกอบด้วยการน�าเสนอบทความทางวิชาการด้านศิลปะและการออกแบบ(Symposium)ของคณาจารย์จากคณะมัณฑนศิลป์และมหาวิทยาลัยภาคีพร้อมทั้งการจดัแสดงนทิรรศการผลงานวทิยานพินธ์ระดบับณัฑติศกึษาและวพิากษ์และวจิารณ์ผลงานของนกัศกึษาระหว่างวนัที่5-6พฤศจิกายน2556มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการจ�านวนมากถือเป็นความส�าเร็จในการก้าวสู่อาเซียนของประเทศไทยในความร่วมมือระดับนานาชาติครั้งนี้ซึ่งนับเป็นความแข็งแกร่งของศิลปะและการออกแบบที่ประเทศไทยเป็นผู้น�าและศูนย์กลางแห่งภูมิภาคและเปิดโอกาสให้นักออกแบบไทยสามารถน�าเสนอผลงานในระดับนานาชาติเป็นจุดเริ่มต้นในการแสดงออกเชิงสร้างสรรค์ให้ชาวโลกได้รู้จักความสามารถของนักออกแบบไทย

วิจารณ์วิทยานิพนธ์ศิลปะและการออกแบบระดับนานาชาติ

Page 6: su news December 56-1.indd

6 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

นอกจากนี้แล้วยังได้จัดการประชุมสามัญสมาคมการศึกษาขั้นอุดมศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประจ�าประเทศไทย(สออ.ประเทศไทย)ครั้งที่3/2556รวมทั้งมีพิธีมอบรางวัลอาจารย์ดีเด่นสออ.ประเทศไทยโดยพลเอกสุรยุทธ์จุลานนท์องคมนตรี

เป็นประธานในพิธีมอบรางวัล

ศาสตราจารย์ดร.สมคดิเลศิไพฑรูย์อธกิารบดมีหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ประธานทีป่ระชมุอธกิารบดแีห่งประเทศไทย(ทปอ.)เป็นประธานเปิดการประชุมสามัญที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยครั้งที่6/2556โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมภายใต้แนวคดิMEETINGWITHARTSชอูตัลกัษณ์“ศลิปากร:มหาวทิยาลยัชัน้น�าแห่งการสร้างสรรค์”โดยจดักจิกรรมต่างๆ ให้ผูบ้รหิารจากสถาบนัอดุมศกึษาทัว่ประเทศตลอดจนผูร่้วมงานได้เหน็ถงึศกัยภาพและความแขง็แกร่งของมหาวทิยาลยัศลิปากรสถาบนัอดุมศกึษาทีม่กีารเรียนการสอนทางด้านศิลปะอย่างมีคุณภาพอาทิการแสดงผลงานศิลปกรรมจากเวทีการประกวดศิลปกรรมต่างๆที่มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดขึ้นการแสดงผลงานการออกแบบของนักศึกษาได้แก่การออกแบบเครื่องแต่งกายการออกแบบเครื่องประดับและเครื่องปั้นดินเผาเป็นต้นนอกจากนี้ยังมีมุมสเกตซ์ภาพเหมือนของผู้เข้าร่วมประชุมโดยนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรรวมทั้งการออกร้านจ�าหน่ายของที่ระลึกของมหาวิทยาลัยศิลปากร“ARSLONGA”เมื่อวันที่22ธันวาคม2556ณศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ6รอบพระชนมพรรษามหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์จังหวัดนครปฐม

มศก. เป็นเจ้าภาพ

จัดการประชุม ทปอ. ครั้งที่ 6ชูอัตลักษณ์ “มหาวิทยาลัยชั้นน�าแห่งการสร้างสรรค์”

จากการประชมุทปอ.ในครัง้นี้ทีป่ระชมุได้สรปุผลการประชมุโดยมปีระเดน็ที่น่าสนใจดังนี้

1.รบัทราบและเหน็ชอบกบัคณะกรรมการบรหิารสถาบนัทดสอบทางการศกึษาแห่งชาติ(สทศ.)ในการเลือ่นการจดัสอบความถนดัทัว่ไป(GAT)และความถนัดทางวิชาชีพ(PAT)ของปีการศึกษา2557 2.มอบหมายให้คณะท�างานศึกษาระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบนัอดุมศกึษาด้วยระบบกลางการรบัสมคัรนกัศกึษา(แอดมสิชัน่ส์)ของทปอ.ท�าการศึกษาถึงผลกระทบในการด�าเนินการคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาต่อในระบบต่างๆในภาพรวมทั้งหมด

3.มอบหมายให้สถาบันอุดมศึกษาที่เป็นสมาชิกทปอ.รวบรวมข้อมูลว่ามหาวิทยาลัยของตนได้ด�าเนินการเกี่ยวกับการเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของอาเซียนอย่างไรบ้าง

4.หารือเรื่องการผ่อนผันและขยับเวลาการเกณฑ์ทหารเนื่องจากมีการเลื่อนเปิดภาคเรียนเป็นช่วงระหว่างกลางเดือนสิงหาคม-กันยายนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปีพ.ศ.2558

5.เหน็ชอบและแต่งตัง้นายแพทย์รชัตะรชัตะนาวนิอธกิารบดมีหาวทิยาลยัมหิดลเป็นประธานทปอ.คนต่อไปแทนศาสตราจารย์ดร.สมคิดเลิศไพฑูรย์ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยที่จะครบวาระการด�ารงต�าแหน่งในวันที่31ธันวาคม2556

Page 7: su news December 56-1.indd

7 ธันวาคม 2556

Page 8: su news December 56-1.indd

8 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะจิตรกรรม ฯ ส�ารวจและอนุรักษ์ฟื้นฟูภาพจิตรกรรมฝาผนังหลังประสบอุทกภัย จากการที่ประเทศไทยประสบกับมหาอุทกภัยครั้งใหญ่เมื่อปีพ.ศ.2554ส่งผลให้ผู้คนสัตว์และสถานที่ต่างๆได้รับผลกระทบในหลายๆด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่ที่เป็นที่พึงทางจิตใจของมนุษย์นั้นคือ"วัด"ซึ่งได้รับผลกระทบเช่นกันสภาพภายนอกและภายในของวัดต่างๆโดยเฉพาะในเขตภาคเหนือและภาคกลางถูกน�้าท่วมขังหมดสิ่งหนึ่งที่น่าเป็นห่วงคือผลงานภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถซึ่งถือเป็นศิลปกรรมของชาติถูกน�้าท�าลายเช่นกันด้วยเหตุผลนี้ภาควิชาศิลปไทยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์จึงได้จัดโครงการส�ารวจและอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังโดยการคัดลอกหลังประสบอุทกภัย

ผูช่้วยศาสตราจารย์อภชิยัภริมย์รกัษ์หวัหน้าภาควชิาศลิปไทยกล่าวว่า"โครงการนี้เริ่มด�าเนินการมาตั้งแต่เดือนมกราคม2556โดยมีทีมงานไปส�ารวจความเสียหายในเขตพื้นที่ทางภาคเหนือและภาคกลางพิจารณาคัดเลือกจากความเสียหายอย่างรุนแรงประกอบด้วยภาคเหนือที่จังหวัดน่านและภาคกลางที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาปทมุธานีนนทบรุีและกรงุเทพมหานครและเกบ็ข้อมลูเพือ่เตรยีมการวางแผนในการคดัลอกและจดัทมีส�าหรบัคดัลอกภาพซึง่ในขัน้ตอนนีม้คีวามส�าคญัมากเนือ่งจากต้องใช้ผูท้ีม่คีวามรูค้วามสามารถสงูในการเขยีนภาพจติรกรรมไทยโดยเป็นกลุม่ศษิย์เก่าและนักศึกษาของคณะฯหลังจากนั้นจึงเริ่มด�าเนินการคัดลอกประมาณเดือนมีนาคมถึง

เดือนธันวาคมนี้โดยมีการประชุมคณะท�างานเพื่อดูความคืบหน้าในทุกๆสองเดือนต่อจากนั้นจะสรุปผลการปฏิบัติงานคัดลอกรวบรวมเป็นข้อมูลเพื่อเผยแพร่เป็นความรู้ในการสัมมนาและน�าภาพคัดลอกมาจัดแสดงนิทรรศการ”

การสมัมนา“โครงการส�ารวจและอนรุกัษ์จติรกรรมฝาผนงัโดยการคดัลอกหลงัประสบอทุกภยั”จดัขึน้เมือ่วนัที่16ธนัวาคม2556ณหอศลิป์บรมราชกมุารีอาคารศนูย์ปฎบิตักิารทศันศลิป์สรินิธรคณะจติรกรรมประตมิากรรมและภาพพมิพ์โดยมกีารบรรยายในหวัข้อเกีย่วกบัการส�ารวจและอนรุกัษ์อาทิเรือ่ง“จติรกรรมฝาผนงัวดัหนองบวัและวดัภมูนิทร์ภายหลงัอทุกภยั”โดยนายวนิยัปราบรปิูผูอ้�านวยการหอศลิป์รมิน่านเรือ่ง“การจดัการน�า้ท่วมกบัมรดกทางวฒันธรรม”โดยนายชยันนัท์บษุยรตัน์ผูอ้�านวยการอทุยานประวตัศิาสตร์พระนครศรอียธุยาเรือ่ง“แนวทางการฟ้ืนฟแูละอนรุกัษ์จติรกรรมฝาผนงัภายหลงัอทุกภยั”โดยนางสาวขวญัจติรเลศิศริินกัอนรุกัษ์งานจติรกรรมส�านกัโบราณคดีและเรือ่ง“การส�ารวจและคดัลอกจติรกรรมฝาผนงัทีไ่ด้รบัผลกระทบจากอทุกภยั”โดยอาจารย์สมศกัดิ์แตงพนัธ์ผูเ้ชีย่วชาญด้านการอนรุกัษ์ศลิปกรรมและผูช่้วยศาสตราจารย์อภชิยัภริมย์รกัษ์หวัหน้าภาควชิาศลิปไทยหลงัจากนัน้เป็นพธิเีปิดการแสดงนทิรรศการภาพคดัลอกจติรกรรมฝาผนงัทีไ่ด้รบัผลกระทบจากอทุกภยัโดยผูช่้วยศาสตราจารย์ชยัชาญถาวรเวชอธกิารบดีซึง่ได้รบัความสนใจจากผูเ้ข้าร่วมชมเป็นจ�านวนมาก

"..ทัง้การคดัลอกและการลอกแบบทางจติรกรรม ไม่ได้มคีวามหมายเพยีงการเลยีนแบบทางรปูแบบภายนอกธรรมดาทีเ่หน็ได้ด้วยตา แต่จะต้องเข้าถงึความคดิ ความรูส้กึ เข้าถงึคณุภาพงานจติรกรรมต้นแบบ เข้าถงึความซบัซ้อนภายใน คณุลกัษณะ ฝีมอืและระดบัความสามารถของช่างเดิมที่รู้สึกได้ด้วยใจและผู้คัดลอกต้องมีความรู้ความสามารถสูง มีความเข้าใจงานจิตรกรรมไทยอย่างลึกซึ้งแยกแยะคุณค่าฝีมือช่างได้อย่างถูกต้อง"

รศ.สุรศักดิ์เจริญวงศ์ผู้เชี่ยวชาญงานด้านศิลปไทยอดีตอาจารย์ภาควิชาศิลปไทยคณะจิตรกรรมฯมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 9: su news December 56-1.indd

9 ธันวาคม 2556

สัมมนา “การด�าเนินงานด้านความร่วมมือกับต่างประเทศ”

เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม2556 ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ส�านักงานอธกิารบดีจดัสมัมนาเรือ่ง“การด�าเนนิงานด้านความร่วมมอืกบัต่างประเทศ:เป้าหมายและกลยทุธ์สูค่วามเป็นสากลของคณะวชิามหาวทิยาลยัศลิปากร”โดยบรรยายให้ความรูแ้ก่ผูเ้ข้าร่วมฟังในหวัข้อต่างๆ ทีน่่าสนใจประกอบด้วยหวัข้อ“การน�าพาคณะวชิาและมหาวทิยาลยัสูค่วามเป็นสากล”บรรยายโดยรองศาสตราจารย์ดร.พินิติรตะนานุกูลรองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาหัวข้อ“กลยุทธ์การสร้างความร่วมมือกับองค์กรและสถาบันการศึกษาต่างประเทศ”โดยนางสาวพรทิพย์กาญจนนิยตผู้อ�านวยการบริหารมลูนธิกิารศกึษาไทย-อเมรกินั(ฟลุไบร์ท)และหวัข้อ“การจดัท�าข้อตกลงความ-ร่วมมือกับต่างประเทศ”โดยนางสาวลักขณาบัณฑิตศรีนักวิเทศสัมพันธ์ช�านาญการพิเศษงานวิเทศสัมพันธ์ ณส�านักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน

ศาสตราจารย์ดร.หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิสุขสวัสดิ์ภาควิชาโบราณคดีคณะโบราณคดีได้รับเชิญเป็นวิทยากรเสวนาในพิธีเปิดนิทรรศการเรื่อง“ศิลปะร่วมแบบเขมรในประเทศไทย”จัดโดยมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์โดยน�าโบราณวัตถุในศิลปะร่วมแบบเขมรในประเทศไทยที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดมาจัดแสดงประกอบการเสวนาทางวิชาการโดยหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์บริพัตรผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและประธานมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์เป็นประธานในพิธีเปิดงานนิทรรศการดังกล่าวเมื่อวันที่9สิงหาคม2556ณพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาดกรุงเทพฯ

เสวนา “ศิลปะร่วมแบบเขมรในประเทศไทย”

หลักสูตรการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิตภาควิชาการออกแบบและวางผงัชมุชนเมอืงคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์จดัโครงการศกึษาภาคสนามศึกษาการวางแผนพัฒนาและอนุรักษ์มหานครซีอานประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเพือ่ประกอบการเรยีนการสอนการศกึษาภาคสนามระหว่างวนัที่20–24พฤศจกิายน2556ณหอนิทรรศการผังเมืองซีอานบริเวณจัดงานพืชสวนโลกExpo2011การพัฒนาเมืองบริเวณจัตุรัสน�้าพุและเจดีย์วัดห่านป่าใหญ่จัตุรัสกลางเมืองบริเวณหอระฆังและหอกลองบริเวณพื้นที่มรดกโลกสุสานจิ๋นซีพิพิธภัณฑ์กองทัพทหารม้าจิ๋นซีพิพิธภัณฑ์สุสานจักรพรรดิจี๋นเออซีและพิพิธภัณฑ์มณฑลส่านซีรวมทั้งการอนุรักษ์โบราณสถานสถานที่ส�าคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิทัศน์วัฒนธรรมเช่นที่บริเวณก�าแพงเมืองโบราณซีอานพระราชวังต้าหมิงกงวัดลามะกว่างเหรินศาลเจ้าหลักเมืองและสุเหร่าซีอานเป็นต้นผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วยนักศึกษาจากหลักสูตรการ-วางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิตหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมืองศิษย์เก่าหัวหน้าภาควิชาและคณาจารย์

ศึกษาภาคสนาม

รอบรั้ว มศก.

Page 10: su news December 56-1.indd

10 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์คว้ารางวัลประกวดออกแบบ “โรงเรียนสีเขียว”

“ฝ่าดงกรีน” ทีมออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร น�าโดยนายดิษย์ แสงทองสุข นายสุกฤษฎิ์ หาญพชิติวทิยา และนายสขุเกษม เกษมหฤทยัสขุ ฟันฝ่าคูแ่ข่งขนัจากหลาย ๆ สถาบันที่เข้าแข่งขันประกวดออกแบบ “โรงเรียนสีเขียว” ได้ส�าเร็จ สามารถคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 จาก

การประกวดโครงการ “Young Creative INSEE Contest 2013” ได้รับเงินรางวัลจ�านวน50,000บาทจัดโดยบริษัทปูนซีเมนต์นครหลวงจ�ากัด(มหาชน)รวมทั้งอีก4ทีมจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์เช่นกันได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดออกแบบครั้งนี้ประกอบด้วยทีม“AdaptiveGreenSchool:สถาปัตยกรรมตามน�้าน�าทีมโดยนายภูมิภัทรเมฆมัลลิกานางสาวปทิตตาคุณากูรหรรษาและนางสาวเบญจมาภรณ์ปัสสาจันทร์ทีม“GreenSchoolModular”น�าทีมโดยนายพชรคงเมืองนายสิรณัฐพุทธิพิพัฒน์ขจรและนายอรุณศักดิ์บุตรไชยทีม“Farm-Suk-School”น�าทีมโดยนายชัชชัยโชควนิชและนายธนธรณ์ศิลป-โสภณและทีม“เปิดกล่อง”น�าทีมโดยนางสาวรินทรายเลี้ยงฤทัยนางสาวปาลิตาสิมะไพศาลและนางสาวมานิตาบวรกีรติขจร

นักศึกษาคณะจิตรกรรม ฯ ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมประเภท ศิลปะ2 มิติ

Young Thai Artist Award “สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีใครรู้จัก” ผลงานภาพพิมพ์โดยนายเกียรติศักดิ์ รุ ่งรัตนพัฒนา นักศึกษาคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวทิยาลยัศลิปากร ได้รบัรางวลัยอดเยีย่มประเภทศลิปะ 2 มติ ิ จากการประกวดศิลปะระดับเยาวชนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ Young Thai Artist Award 2013ได้รับเงินรางวัลจ�านวน150,000บาทพร้อมทัศนศึกษาในต่างประเทศเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ด้านศิลปะแขนงต่างๆซึ่งจัดโดยมูลนิธิเอสซีจี คณะกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิและผู ้ เชี่ยวชาญด้านศิลปะ อาทิ

ศาสตราจารย์พิษณุศุภนิมิตรอาจารย์ธงชัยรักปทุมและรองศาสตราจารย์ทินกรกาษรสุวรรณได้กล่าวถึงผลงานยอดเยี่ยมประเภทศิลปะ2มิติที่ได้รับรางวัลครั้งนี้ว่า “ผลงาน “สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีใครรู ้จัก” เป็นผล-งาน เทคนิคภาพพิมพ์ Collograph แสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึกที่ตึงเครียด ลึกลับน่ากลัว อันเป็นเสมือนสิ่งมีชีวิตที่ซ่อนอยู ่ภายในจิตใต้ส�านึกของมนุษย์ทุกคนเป็นสัญชาติญาณดิบ ป่าเถื่อน พร้อมที่จะท�าร้ายสิ่งที่จะเข้ามารูปทรงและบรรยากาศที่ศิลปินสร้างขึ้นลึกลับซ่อน-เร้นอันเป็นปริศนาน่าสงสัยสิ่งมีชีวิตเหล่านี้อาจมาจากนอกโลกหรือจะอยู่ภายในมนุษย์ที่เกิดมาพร้อมกันแต่ดึกด�าบรรพ์หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่หลังจากที่อารยธรรมของโลกได้สูญสิ้นไปแล้ว ผลงานของศิลปินจึงบอกถึงอดีตและอนาคตของโลก เป็นอารมณ์ดิบ เถื่อน ที่ยังคงอยู่ในตัวมนุษย์ไม่ว่ามนุษย์จะมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาใดของโลกจักรวาล”

เกียรติศักดิ์ รุ ่งรัตนพัฒนา เป็นศิลปินหนุ่มที่ได้รับรางวัลหลายรางวัลจากเวทีการประกวดศิลปกรรมต่าง ๆ อาทิ ได้รับรางวัลชมเชยระดับอายุ17 -20ปี การประกวดศิลปกรรมเด็กและเยาวชนแห่งชาติครั้งที่3และรางวัลชนะเลิศการประกวดภาพวาดโปสเตอร์พร้อมค�าขวัญ“อิซูซุพาน้องท่องญี่ปุ่น”เมื่อปีพ.ศ.2551และเมื่อปีพ.ศ.2554ได้รับรางวัลสนับสนุนการประกวดวาดภาพระดับเยาวชน“เสน่ห์บางแสน”

เกียรติภูมิ มศก.

Page 11: su news December 56-1.indd

11 ธันวาคม 2556

นักศึกษาคณะอักษรศาสตร์ชนะการแข่งขันกิจกรรมภาษาฝรั่งเศส

เมือ่วนัที่1ธนัวาคม2556สมเดจ็พระเทพรตันราชสดุาฯสยาม-บรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินไปยังหอประชุมใหญ่ โรงเรียนอัสสัมชัญบางรักพระราชทานเกียรติบัตรแก่นักเรียนและนักศึกษาที่-ชนะเลิศการแข่งขันการประกวดทักษะภาษาฝรั่งเศสด้านต่างๆในงานกิจกรรมภาษาฝรั่งเศสประจ�าปี2556“LeFrancais:UnGrandDefi”โดยสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเดจ็พระเทพรตันราชสดุาฯสยามบรมราชกมุารีจดัขึน้อย่างต่อเนือ่งเป็นปีที่34เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาฝรั่งเศสให้แก่นักเรียนนักศึกษาในประเทศไทยผ่านกิจกรรมการประกวดต่างๆอาทิการประกวดร้อง-เพลงการท่องบทกวนีพินธ์การประกวดสนุทรพจน์และการแข่งขนัตอบค�าถามความรูท้ัว่ไปเกีย่วกบัวฒันธรรมไทย-ฝรัง่เศสโดยนกัศกึษาคณะอักษรศาสตร์ชั้นปีที่4ได้เข้ารับพระราชทานรางวัลจากการ

แข่งขันประเภทต่างๆในระดับอุดมศึกษาดังนี้รางวัลยอดเยี่ยมจากการแข่งขันตอบค�าถามจากวีดิทัศน์ได้แก่นายอลังการจรรยางามรางวัลที่3จากการแข่งขันตอบค�าถามความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประเทศฝรั่งเศส-ไทยได้แก่นางสาวศศิกัญญาจารุพูนผลรางวัลชมเชยจากการแข่งขันเขียนบรรยายภาพเป็นภาษาฝรั่งเศสได้แก่นายสิริพงศ์จันทัยและรางวัลชมเชยการแข่งขันวาดภาพตามหัวข้อที่ก�าหนดได้แก่นางสาวอลิสอรรถวิลัย

เภสัชกรวีรภัทรวิโนทพรรษ์นักศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาเภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และนักวิจัยในกลุ่มวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสีเขียวทางเภสัชศาสตร์(PharmaceuticalDevel-opmentofGreenInnovationsGroup,PDGIG)คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นคาวากุชิ (Ka-waguchiAward)ประจ�าปีพ.ศ.2555จากการน�าเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตก�าแพงแสนครั้งที่9พ.ศ.2555เรื่องการประยุกต์ใช้สารเจนิพินจากผลพุดและการออกแบบวิธีบ�าบัดของเสียจากปฏิบัติการเพื่อพัฒนากระบวนการวิเคราะห์อย่างปลอดภัยต่อผู ้ปฏิบัติงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม(Applicationofgardeniafruit-derivedgenipinanddesignoflaboratorywastetreatmentforthedevelop-mentofsafe-foroperatorandeco-friendlydrugassayprocess)โดยเข้ารับรางวัลจากรองศาสตราจารย์สมบัติชิณะวงศ์รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตก�าแพงแสนในพิธีเปิดการประชุมวิชาการแห่งชาติครั้งที่10เมื่อวันที่6ธันวาคม2556ณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตก�าแพงแสนคณะผู้ร่วมวิจัยประกอบด้วยเภสัชกรรองศาสตราจารย์ดร.ธีรศักดิ์โรจน-ราธาเภสัชกรหญิงอาจารย์ดร.นพรัตน์นันทรัตนพงศ์เภสัชกรคาเชนคงภัควรรธนะเภสัชกรหญิงศิริรัตน์เตชพิทยานันท์เภสัชกรหญิงอุดมลักษณ์สุขสราญและเภสัชกรหญิงสุวภาพปฐมเจริญสุขชัย

นักศึกษาปริญญาเอก คณะเภสัชศาสตร์ รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นคาวากุชิ

รางวัลคาวากุชิ เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้นโดยศาสตราจารย์ดร.เคอิซาบูโรคาวากุชิในปีพ.ศ.2530เพื่อมอบให้แก่ผู้น�าเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจ�าปีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วทิยาเขตก�าแพงแสนโดยพจิารณาคดัเลอืกจากผลงานวิจัยทั้งหมดที่ได้น�าเสนอในสาขาวิชาสาขาพืชและเทคโนโลยีชีวภาพสาขาวิชาสัตว์และสัตวแพทย์และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิง่แวดล้อมซึง่มคีณุภาพดเีด่นเพยีง1รางวลัเพือ่เป็นเกยีรตแิก่ผู้ที่ได้รับรางวัลและเป็นก�าลังใจและแรงจูงใจให้แก่นักวิจัยในการ

พัฒนางานวิจัยให้มีคุณภาพต่อไป

Page 12: su news December 56-1.indd

12 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

อาจารย์นักวิจัยศิลปากรสร้างชื่อ

สภาวิจัยแห่งชาติประกาศผลการคัดเลือกนักวิจัยจากองค์กรและหน่วยงานต่างๆ ที่มีผลงานวิจัยที่แสดงถึงความคิดริเริ่มเป็นผลงานวิจัยที่สะสมกันมาอีกทั้งเป็นผู้มีจริยธรรมจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการสมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นในปีนี้มีนักวิจัยที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่น จ�านวน 11 คน จาก 8 สาขาวิชา ซึ่งอาจารย์จากมหาวทิยาลยัศลิปากรได้รบัรางวลัดงักล่าวด้วย ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร. ศกัดิช์ยั สายสงิห์ สาขาปรชัญา และรองศาสตราจารย์ ดร. พรศกัดิ ์ ศรอีมรศกัดิ ์ สาขาวทิยาศาสตร์เคมแีละเภสชัโดยนกัวจิยัดเีด่นแห่งชาตจิะได้รบัเหรยีญนกัวจิยัดเีด่นแห่งชาตแิละประกาศนยีบตัรเชิดชูเกียรติคุณพร้อมเงินรางวัล500,000บาทและมีพิธีมอบรางวัลในงานวันนักประดิษฐ์ประจ�าปี2556ในวนัที่2กมุภาพนัธ์2557ณศนูย์การประชมุอมิแพค็ฟอรัม่เมอืงทองธานี

ศาสตราจารย์ ดร. ศกัดิช์ยั สายสงิห์ เป็นอาจารย์นกัวจิยัทีม่ผีลงานวจิยัออกมาอย่างต่อเนือ่งและเป็นผลงานวจิยัทีเ่กีย่วกบัศลิปะในประเทศไทยให้ความส�าคญักบัหลกัฐานทางศลิปกรรมแล้วน�ามาวเิคราะห์ร่วมกับหลักฐานทางโบราณคดีประวัติศาสตร์และจารึกเพื่อค้นหาความเป็นมาของประวัติศาสตร์ชาติไทยจากหลกัฐานทางศลิปกรรมในยคุสมยัทีห่ลกัฐานทางประวตัศิาสตร์ไม่ชดัเจนเพือ่ประโยชน์ในการศกึษาทางด้านโบราณคดีประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์ศิลปะการอนุรักษ์และการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมโดยมีผลงานวิจัยทางด้านศิลปะจ�านวน7เรื่องและผลงานวิจัยด้านการอนุรักษ์และพัฒนาจ�านวน1เรือง

ผลงานวจิยัทางด้านศลิปะได้แก่ผลงานวจิยัเรือ่ง“ศลิปะสโุขทยั:บทวเิคราะห์หลกัฐานโบราณคดีจารึกและงานศิลปกรรมและเรื่อง“ศิลปะเมืองเชียงแสนฯ”ที่กล่าวถึงความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของขาวสุโขทัยและชาวเชียงแสนนอกจากนี้ยังมีผลงานวิจัยลักษณะเดียวกันนี้อีก3แห่งได้แก่เมืองลพบุรีเมืองล�าพูนและเวียงท่ากาน(จังหวัดเชียงใหม่)รวมทั้งผลงานวิจัยทางด้านรูปแบบศิลปกรรมกับแนวคิดในงานช่างได้แก่ผลงานวิจัยเรื่อง“งานช่างสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว”ที่แสดงให้เห็นพระราชศรัทธาปณิธานในพระพุทธศาสนาของรัชกาลที่3ที่มีต่อพุทธศาสนาและความเจริญรุ่งเรืองความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมืองสมัยนั้นและมีงานวิจัยที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นมาของหลักฐานทางศิลปกรรมของพระพุทธรูปด้านรูปแบบพระพุทธรูปที่พบในประเทศไทยสมัยต่างๆที่มีพัฒนาการรูปแบบแตกต่างกนัในแต่ละยคุสมยัตลอดจนความศรทัธาความเชือ่ของคนไทยทีม่ต่ีอพทุธศาสนาค้นหาค�าตอบได้ในผลงานวิจัยเรื่อง“พระพุทธรูปในประเทศไทยรูปแบบพัฒนาการและความเชื่อของคนไทย”ฯลฯ

ผลงานวิจัยด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาได้แก่ผลงานวิจัยเรื่อง“การท�านุบ�ารุงศาสนาสถานและโบราณสถาน:อ�านาจและวิธีการ”แสดงให้เห็นถึงปัญหาและแนวทางการอนุรักษ์งานศิลปกรรมจากผลงานวิจัยทางวิชาการหลายต่อหลายเล่มของศาสตราจารย์ดร.ศักดิ์ชัยสายสิงห์ตามที่กล่าวข้างต้นนั้นเป็นผลงานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ์และจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มเรียบร้อยแล้วซึ่งอาจารย์นักวิจัยท่านนี้ยังไม่หยุดนิ่งในการท�างานวิจัยเรื่องต่อไปที่จุดประเด็นน่าสนใจ เช่น ผลงานวิจัย เรื่อง“เจดีย์ในประเทศไทยรูปแบบพัฒนาการและความเป็นมาทางประวัติศาสตร์” เป็นงานวิจัยที่ขณะนี้อยู่ระหว่างการด�าเนินการ โดยต้องการตรวจสอบข้อมูลเรื่องพระพุทธรูปในประเทศไทยรวมกับข้อมูลศิลปกรรมด้านอื่นๆ ที่แสดงให้ทราบถึงความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในดินแดนไทย

ศาสตราจารย์ดร.ศักดิ์ชัยสายสิงห์อาจารย์นักวิจัยผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งกล่าวเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานวิจัยในอนาคตว่าต้องการตรวจสอบประเด็นปัญหาทางวิชาการทั้งประเด็นใหญ่และประเด็นย่อยที่ต้องการค้นคว้าเพื่อหาค�าตอบที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นและน�าผลการวิจัยที่ได้มามา-พัฒนาให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการซึ่งการอธิบายความเป็นมาทางประวัติศาสตร์จากหลักฐานทาง-ศิลปกรรมและทางโบราณคดีจะท�าให้เราได้ทราบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น

Page 13: su news December 56-1.indd

13 ธันวาคม 2556

ผลงานวจิยัของอาจารย์นกัวจิยัท่านนีใ้ห้ความส�าคญักบัการแก้ปัญหาประสทิธภิาพของยารูปแบบรับประทานให้ออกฤทธิ์ได้ดียิ่งขึ้นโดยอาศัยระบบน�าส่งยาที่เหมาะสมซึ่งเป็นงานวิจัยที่ตอบโจทย์ให้แก่สังคมหรือชุมชนเหตุนี้จึงส่งผลให้ผลงานวิจัยได้รับรางวัลรองศาสตราจารย์ดร.พรศักดิ์ศรีอมรศักดิ์กล่าวว่า“อุตสาหกรรมยาในประเทศไทยต้องพึ่งพาการน�าเข้ายาจากต่างประเทศในสดัส่วนทีส่งูมากขึน้ตลอดระยะเวลา15ปีทีผ่่านมาส่งผลให้มลูค่าการน�าเข้ายาจากต่างประเทศมปีรมิาณมากกว่าครึง่หนึง่ของมลูค่าการบรโิภคยาทัง้หมดของประเทศดงันัน้อตุสาหกรรมยาจงึต้องมกีารวจิยัและพฒันาทีเ่ข้มแขง็มากขึน้เพือ่การด�ารงอยูอ่ย่างยัง่ยนืและแข่งขนัได้ผมในฐานะนกัวจิยัในสถาบนัการศกึษาทีม่คีวามเชีย่วชาญด้านการวจิยัและพฒันายาได้ตระหนกัถงึมลูเหตดุงักล่าวจงึได้ให้ความสนใจในการวจิยัและพฒันาผลติภณัฑ์ยาสมนุไพรและผลติภณัฑ์สขุภาพอืน่ๆ โดยเน้นการบรูณาการองค์ความรู้เพื่อมุ่งเป้าให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมของอุตสาหกรรมยาทั้งด้านผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีการผลิต”

รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ�าปี 2556

ส�าหรับรางวัลผลงานวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชนักวิจัยที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นประจ�าปี2556อีกท่านหนึ่งได้แก่รองศาสตราจารย์ ดร. พรศักดิ์ ศรี-อมรศักดิ์ ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ซึ่งถือว่าเป็นอาจารย์เภสัชกรท่านแรกที่ได้รับรางวัลในสาขานี้ (ซึ่งที่ผ่านมาในสาขานี้ส่วนใหญ่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์เคมีที่ได้รับการคัดเลือก) ด้วยความมุ่งมั่นในการศึกษาวิจัยผสานกับแรงบันดาลใจในการท�า-วิจัยที่น�าไปใช้ประโยชน์ได้ท�าให้ผลงานวิจัย์ได้รับการการันตีคุณภาพด้วยรางวัลจากหลายสถาบันอาทิรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่รางวัลผลงานวิจัยดีเด่นรางวัลTRF-CHE-ScopusResearcherAward2009สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ รางวัลNAGAIAwardThailand2002 และรางวัลเภสัชกรดีเด่นของภูมิภาคเอเชีย2012 ISHIDATEAWARDในสาขาการวิจัยทางเภสัชศาสตร์ จากสหพันธ์เภสัชกรรมสมาคมแห่งเอเชีย เป็นต้น และรางวัลที่น่าภาคภูมิใจอีกรางวัลหนึ่งคือรางวัลนักวิจัยดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช

ความส�าเร็จของผลงานวิจัยครั้งนี้เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกีย่วกบัการเพิม่ประสทิธภิาพของระบบน�าส่งยาในทางเดนิอาหารรปูแบบต่างๆ การออกแบบยารปูแบบใหม่ทีส่่งผลต่อการรกัษาหรอืประสทิธภิาพในการรักษาที่ดีขึ้นการพัฒนายาสามัญใหม่และเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งจากผลติผลทางการเกษตรเพือ่น�าไปใช้เป็นวตัถดุบิในการผลติสารช่วยในการผลิตยาที่มีโครงสร้างและสมบัติที่หลากหลายมีความคงตัวสามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ โดยไม่เป็นพิษทั้งต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

รองศาสตราจารย์ ดร.พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ มีแนวทางการวิจัยในอนาคตโดยจะเน้นการวิจัยเพื่อเพิ่มมูลค่าของพอลิเมอร์จากธรรมชาติส�าหรับใช้ในอุตสาหกรรมยาและการพัฒนาวัตถุดิบทางยาจากสารธรรมชาติ วัสดุทางเภสัชกรรม การใช้เทคโนโลยีเภสัชกรรมและนาโนเทคโนโลยีเพื่อพัฒนารูปแบบหรือระบบน�าส่งยา สมุนไพรเครื่องส�าอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ไม่ซับซ้อนและสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีสู ่ภาคอุตสาหกรรมยาได้ รวมถึงการสร้างเครือข่ายวิจัยร่วมกับนักวิจัยและอาจารย์จากหน่วยงานสถาบันและมหาวิทยาลัยต่างๆทั้งภาครัฐและภาคเอกชนนอกจากนี้ยังให้ความสนใจกับการวิจัยเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยาภายในประเทศ รวมถึงการแก้ปัญหาผลิตภัณฑ์ยาและกระบวนการผลิตยาในภาคอุตสาหกรรม การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ยาและสมุนไพรในประเทศอีกด ้วย

นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ดร.พรศักดิ์ศรีอมรศักดิ์ ยัง-มุ่งมั่นผลิตผลงานเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับวงการยาในประเทศและในระยะเวลาอันใกล้นี้ผลการวิจัยการพัฒนาระบบน�าส่งยานาโนจากพอลิเมอร์ธรรมชาติเพื่อให้ไปออกฤทธิ์ที่เซลล์มะเร็งเป้าหมายและการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบยาใหม่ส�าหรับเพิ่มการละลายของยาที่ละลายน�้ายากและเพิ่มการดูดซึมยาในทางเดินอาหาร รวมถึงการใช้เทคนิคทางวิศวเภสัชกรรมเพื่อแก้ปัญหาระบบปฏิบัติงานในโรงงานยา จะ-ได้เผยแพร่สู่สาธารณะ เพื่อประโยชน์ในเชิงวิชาชีพเภสัชกรรมต่อไป

อาจารย์ยงักล่าวให้ก�าลงัใจแก่นกัวจิยัรุน่ใหม่ว่า“ส�ำหรบันกัวจิยัรุ่นใหม่ต้องมีกำรวำงแผนเรื่องเวลำในกำรท�ำวิจัย นักวิจัยเองคงจะต้องมีควำมรักในกำรท�ำงำนวิจัยหรือสร้ำงสรรค์ผลงำนวิจัยใหม่ ๆ ขึ้นมำจำกแรงบันดำลใจของตัวเองและสภำพสังคมของประเทศ เรื่องของทุนวิจัย ในช่วงแรก ๆ ก็อำจจะมีปัญหำเรื่องไม่มีทุนวิจัย แต่ถ้ำเรำสำมำรถที่จะผลติผลงำนหรอืสร้ำงผลงำนให้เป็นทีย่อมรบั กส็ำมำรถจะท�ำให้ได้รบักำรสนบัสนนุทนุเพือ่ท�ำวจิยัได้อย่ำงต่อเนือ่ง อย่ำงไรกด็ ีอปุสรรคในกำรท�ำวจิยัเป็นเรือ่งธรรมดำทีม่กัพบเจอ ต้องพยำยำมคดิและมองในแง่ทีด่ว่ีำอปุสรรคเป็นแบบทดสอบหนึง่ทีพ่สิจูน์ควำมสำมำรถในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนวจิยั”

Page 14: su news December 56-1.indd

14 ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร

นิทรรศการจิตรกรรมภาพประกอบมหากาพย์รามายณะ เมื่อวันที่2ธันวาคม2556มหาวิทยาลัยศลิปากรโดยฝ่ายศลิปวฒันธรรมเปิดการแสดงนทิรรศการจิตรกรรมภาพประกอบมหากาพย์รามายณะของวาลมีกิฉบับภาษาไทยเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม-พระชนมพรรษา7รอบ5ธนัวาคม2554และเนือ่งในโอกาสครบรอบ70ปีมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณคุณหญิงไขศรีศรีอรุณนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากรพร้อมด้วยผู้บริหารและศิลปินร่วมในงานดังกล่าวณหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรวังท่าพระกรุงเทพฯ

ผลงานภาพประกอบมหากาพย์รามายณะของวาลมกีฉิบบัภาษาไทยเป็นภาพผลงานจิตรกรรมไทยทีศ่ลิปินผูม้ชีือ่เสยีงของประเทศและส่วนหนึง่เป็นศลิปินทีร่่วมเขยีนภาพประกอบบทพระราชนพินธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่อง“พระมหาชนก”วาดภาพประกอบในหนังสือมหากาพย์รามายณะของวาลมีกิฉบับภาษาไทยซึ่งจัดท�าขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ7รอบ5ธันวาคม2554ประกอบด้วยศิลปิน7ท่านได้แก่ศาสตราจารย์ปรีชาเถาทองอาจารย์ปัญญาวิจินธนสารนายธรีะวฒัน์คะนะมะอาจารย์เนตกิรชนิโยอาจารย์จนิตนาเป่ียมศริิผูช่้วยศาสตราจารย์วริญัญาดวงรตัน์และอาจารย์อนุพงษ์จันทรผลงานแสดงเอกลักษณ์ของศิลปินแต่ละท่านมีจ�านวน30ชิ้น(ตัวอย่างภาพประกอบ)นทิรรศการจดัแสดงจนถงึวนัที่26ธนัวาคม2556ณหอศลิป์มหาวทิยาลยัศลิปากรวงัท่าพระกรงุเทพฯ

กัณฑ์ที่ 1 พาลกัณฑ์

อาจารย์เนติกร ชินโย

กัณฑ์ที่ 2 อโยธยากัณฑ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิรัญญา ดวงรัตน์

กัณฑ์ที่ 3 อารัณยกัณฑ์

อาจารย์จินตนา เปี่ยมศิริ

กัณฑ์ที่ 4 กิษกินธากัณฑ์

อาจารย์อนุพงษ์ จันทร

กัณฑ์ที่ 5 สุนทรกัณฑ์

ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง

กัณฑ์ที่ 6 ยุทธกัณฑ์

อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร

กัณฑ์ที่ 7 อุตตรกัณฑ์

นายธีระวัฒน์ คะนะมะ

Page 15: su news December 56-1.indd

15 ธันวาคม 2556

ดาวเด่นบัวหลวง....ดาวเด่นศิลปากร เวทีเรียลลิตี้วาดภาพสดเฟ้นหาศิลปินรุ่นใหม่ประดับวงการศิลปะ“ดาวเด่นบัวหลวง101ครั้งที่6”จัดโดยมูลนิธิธนาคารกรุงเทพร่วมกับหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถร่วมกันจัดขึ้นเพื่อสนับสนุนให้ศิลปินหนุ่มสาวได้แสดงความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะสู่สาธารณชนในปีนี้มีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมจ�านวน24สถาบันศิลปิน52คน ผลงาน “ระนาบแสงริมน�้าหมายเลข 7” ของนายบุญศรี เจริญยิ่ง นักศึกษาชั้นปีที่ 5 คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คว้ารางวัลดาวเด่นบัวหลวงดีเด่น ได้รับทุนการศึกษา 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ

กิจกรรมเรียลลิตี้โชว์นี้ ศิลปินทุกคนจะต้องเข้าค่ายศิลปะร่วมกันเป็นเวลา9วันและสร้างสรรค์ผลงานให้เห็นกันสดๆตลอดระยะเวลาที่เข้าค่ายนั้นศิลปินจะได้รับความรู้เกีย่วกบังานศลิปะจากบรมครรูะดบัชัน้แนวหน้าซึง่มคีวามน่าสนใจและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งอาทิศาสตราจารย์วิโชคมุกดามณีผู้ช่วยศาสตราจารย์ถาวรโกอุดมวิทย์อาจารย์ปัญญาวิจินธนสารฯลฯ

ส�าหรับรางวัลส�าหรับผู้ชนะแบ่งเป็น3รางวัลดังนี้

รางวัลดาวเด่นบัวหลวงยอดเยี่ยม : ผลงาน “เจ้าสาว” ของนางสาวกามีละห์ อิละละ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิทร์วทิยาเขตปัตตานีรบัทนุการศกึษา100,000บาทพร้อมโล่เกียรติยศ

รางวัลดาวเด่นบัวหลวงความคิดสร้างสรรค์ : ผล-งาน “สภาวะสังขาร” ของนางสาวพฤตินันทร์ ด�านิ่ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานีรับทุนการ-ศึกษา70,000บาทพร้อมโล่เกียรติยศ

รางวัลดาวเด่นบัวหลวงดีเด่น : ผลงาน “ระนาบแสงริมน�้า หมายเลข 7” นายบุญศรี เจริญยิ่ง มหาวิทยาลัยศิลปากรรับทุนการศึกษา30,000บาทพร้อมโล่เกียรติยศ

ผูส้นใจเข้าชมผลงานทีไ่ด้รบัรางวลัและผลงานของผูเ้ข้าแข่งขันในโครงการศิลปินดาวเด่นบัวหลวง101ครั้งที่6ได้จนถึงวันที่11มกราคม2557ณหอศิลป์สมเด็จ-พระนางเจ้าสริกิติิ์พระบรมราชนินีาถเปิดแสดงทกุวนัยกเว้นวันพุธตั้งแต่เวลา10.00น.-19.00น.

รางวัลดาวเด่นบัวหลวงดีเด่น ผลงาน “ระนาบแสงริมนํ้า หมายเลข 7” บุญศรี เจริญยิ่ง / สีอะคริลิค

ศิลปินเจ้าของรางวัลดาวเด่นบัวหลวงดีเด่นกล่าวถึงแนวความคิดสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้จนได้รับรางวัลว่า

“แนวคิดหลักนั้นจะเป็นกำรน�ำเสนอภำพผลงำนที่มีเนื้อหำที่แสดงถึงควำมเงียบ ควำมสงบ ควำมเรียบง่ำย โดยแสดงออกผ่ำนทำงระนำบแสงและเงำ ถ่ำยทอดผ่ำนรูปทรงของบ้ำนเก่ำ ริมน�้ำที่ประทับใจเป็นส่วนตัว จำกกำรใช้ชีวิตอยู่และนั่งเรือข้ำมฟำกจำกฝั่งพรำนนกมำฝั่งพระนครเพื่อเรียนหนังสือ ซึ่งบริเวณนั้นมีบ้ำนริมน�้ำค่อนข้ำงเยอะ และมำจำกควำมรู้สึกที่ว่ำสังคมเมืองค่อนข้ำงมีควำมอึกทึกครึกโครม วุ่นวำย เสียงดัง ท�ำให้บำงครั้งรู้สึกอยำกแสวงหำควำมเงียบ และได้เห็นบ้ำนริมน�้ำที่หลีกเร้นอยู่ในสังคมเมืองที่ให้ควำมรู้สึกสงบทุกครั้งที่มองเห็น จึงน�ำควำมประทับใจมำเป็นแนวคดิในกำรท�ำงำน เทคนคิในกำรสร้ำงสรรค์ภำพใช้สอีะครลิคิ โดยใช้ควำมลดหลัน่ของแสงเงำ และไล่สโีดยกำรใช้ยำงพำรำกัน้เพือ่ให้เป็นเลเยอร์ของน�้ำหนัก”

Page 16: su news December 56-1.indd

ปฏิทินกิจกรรมศิลปะ

ข่าวมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นเอกสารเผยแพร่ข่าวสารภายในมหาวิทยาลัยก�าหนดออกเป็นรายเดือนสามารถอ่านย้อนหลังได้ที่www.su.ac.th

ที่ปรึกษา -รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม -ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมคณะท�างาน -งานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยศิลปากร -ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์คณะมัณฑนศิลป์ติดต่อ งานประชาสัมพันธ์โทร./โทรสาร028497538 e-mail:[email protected] http://www.su.ac.thพิมพ์ที่ บริษัทซันต้าการพิมพ์จ�ากัดโทร022164344-45

ศิลปากร มหาวิทยาลัยชั้นน�าแห่งการสร้างสรรค์

Silpakorn : A Leading Creative University

มหาวิทยาลัยศิลปากร22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170

ช�าระค่าฝากส่งเป็นรายเดือนใบอนุญาตเลขที่19/2540

ปณจ.ตลิ่งชัน

นิทรรศการภาพคัดลอกจิตรกรรมฝาผนัง ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย โดยภาควิชาศิลปไทย 16ธันวาคม2556-16มกราคม2557ณหอศิลป์บรมราชกุมารีอาคารศูนย์ปฏิบัติการทัศนศิลป์สิรินธรคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์จังหวัดนครปฐม

นิทรรศการเชิดชูเกียรติรองศาสตราจารย์ประทีป สว่างสุข “เส้นสีสู่แนวศิลป์” 8-30มกราคม2557ณหอศิลป์PSGArtGalleryคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์

นิทรรศการผลงานการออกแบบ Pride of Dec 16-26ธันวาคม2556ณหอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์

นิทรรศการจิตรกรรมภาพประกอบมหากาพย์รามายณะของวาลมีกิฉบับภาษาไทย 2-26ธันวาคม2556ณหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรวังท่าพระ

นิทรรศการ “ความจริงอย่างมายา” โดย ธณฤษภ์ ทิพย์วารี 13ธันวาคม2556-15มกราคม2556ณหอศิลป์PSGArtGalleryคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์

นิทรรศการพื้นฐานมัณฑนศิลป์ ผลงานนักศึกษาชั้นปีที่ 1 6มกราคม-6กุมภาพันธ์2557ณหอศิลปะและการออกแบบคณะมัณฑนศิลป์