2
เอกสารสรุปองค์ความรู้จากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันอังคารที่ 24 เมษายน 2555 บรรยายโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิริมนต์ ชายเกตุ {PAGE } วิตามินดี แสงแดด กับสุขภาพเชิงป้องกัน วิตามินดี (Vitamin D) เป็นวิตามินชนิดหนึ่งที่สาคัญต่อร่างกายอย่างมาก มีบทบาทหลักคือ การเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง โดยการกระตุ้นให้ลาไส้เล็กตอนบนดูดซึมแคลเซียมเข้าสูกระแสเลือด วิตามินดีได้จากทั้งอาหารและจากการสังเคราะห์ที่ผิวหนังโดยผ่านรังสียูวีบี (UVB) ทางด้านอาหารได้มาจากอาหารนมที่มีการเสริมวิตามินดีและน้ามันตับปลาเป็นต้น ส่วนที่ได้จาก ผิวหนังจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการได้รับรังสียูวีบีของบุคคลนั้น โดยปกติ วิตามินดีส่วนใหญ่ร่างกายได้มาจากการสร้างจากผิวหนังหลังจากได้รับรังสียูวีบี ใน แสงแดด ประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรและมีแดดจัดตลอดปี จึงไม่น่าจะมีการขาดหรือพร่อง วิตามินดี อย่างไรก็ตาม จากการสารวจในประเทศไทย พบว่า ประชากรที่ขาดวิตามินดีส่วนใหญ่อยู่ใน เขตเมืองมากกว่าชนบท โดยคนกรุงเทพฯ ขาดวิตามินดี 14% ทั้งนีเนื่องจากชีวิตการทางานในแต่ละ วันไม่เจอกับแสงแดดเลย โดยมากพบในผู้หญิง ส่วนในต่างจังหวัดตัวเลขการขาดวิตามินดีประมาณ 5- 7% หากร่างกายขาดวิตามินดีจะส่งผลให้ไม่ได้รับการบารุงกระดูกที่เพียงพอ ดังนั้นจะเกิดเป็นโรค กระดูกพรุน ซึ่งเป็นภาวะกระดูกเปราะบางทาให้แตกหักได้ง่าย ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับวิตามินดี 1. อายุ อายุมากขึ้นทาให้ความสามารถในการสังเคราะห์วิตามินดีน้อยล2. รังสียูวีบี ร่างกายได้รับแสงแดดมากน้อยเพียงใด พบว่าให้แขน-ขาได้รับแสงแดดเป็นเวลา 15 นาที ในช่วงเวลา 10.00-14.00 น. ก็เพียงพอ ต่อการสังเคราะห์วิตามินดีให้ได้ตามความต้องการของ ร่างกาย 3. เม็ดสีผิว คนผิวขาวจะสังเคราะห์วิตามินดีได้ดีกว่าคนผิวดาหรือผิวคล4. การใช้ครีมกันแดด การใช้ครีมกันแดดทาให้เราได้รับรังสียูวีบีน้อยลง 5. ความอ้วน ความอ้วนทาให้สังเคราะห์วิตามินดีได้น้อยลง เนื่องจากรังสียูวีบีถูกไขมันดูดซับหมด 6. อาหาร อาหารที่มีวิตามินดีมาก ได้แก่ ปลาแซลมอน (ปลาแซลมอนธรรมชาติจะมีวิตามินดีมากกว่า ปลาแซลมอนฟาร์มเลี้ยง) เห็ด (ที่ปลูกกลางแจ้ง) นอกจากนี้การประกอบอาหารด้วยวิธีการทอดจะทา ให้เกิดการสูญเสียวิตามินดีมากที่สุด แคลเซียมเป็นองค์ประกอบหลักที่สาคัญของเนื้อเยื่อกระดูก อีกทั้งโครงกระดูกทาหน้าที่เป็น แหล่งเก็บสะสมแคลเซียม โดยปกตินั้นเมื่อแรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 25 ปี ช่วงน้เป็นช่วงที่มีการ สร้างมวลกระดูก โดยร่างกายจะมีค่ามวลกระดูกสูงสุด (Peak Bone Mass) ในอายุประมาณ 25 ปี และหลังจากนั้นระดับมวลกระดูกจะเริ่มลดลงอย่างช้าๆ ประมาณ 0.5-1% ต่อปีทั้งในผู้หญิงและ ผู้ชาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุกรรม พฤติกรรมการออกกาลังกาย และการรับประทานอาหาร ซึ่งหากมวล

Vitamin D

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Vitamin D and health

Citation preview

เอกสารสรปองคความรจากโครงการการจดการองคความรภาควชาคหกรรมศาสตร วนองคารท 24 เมษายน 2555

บรรยายโดย ผชวยศาสตราจารย ดร. สรมนต ชายเกต

{PAGE }

วตามนด แสงแดด กบสขภาพเชงปองกน วตามนด (Vitamin D) เปนวตามนชนดหนงทส าคญตอรางกายอยางมาก มบทบาทหลกคอการเสรมสรางกระดกและฟนใหแขงแรง โดยการกระตนใหล าไสเลกตอนบนดดซมแคลเซยมเขาสกระแสเลอด วตามนดไดจากทงอาหารและจากการสงเคราะหทผวหนงโดยผานรงสยวบ (UVB) ทางดานอาหารไดมาจากอาหารนมทมการเสรมวตามนดและน ามนตบปลาเปนตน สวนทไดจากผวหนงจะมากหรอนอยขนอยกบการไดรบรงสยวบของบคคลนน โดยปกตวตามนดสวนใหญรางกายไดมาจากการสรางจากผวหนงหลงจากไดรบรงสยวบในแสงแดด ประเทศไทยตงอยใกลเสนศนยสตรและมแดดจดตลอดป จงไมนาจะมการขาดหรอพรองวตามนด อยางไรกตาม จากการส ารวจในประเทศไทย พบวา ประชากรทขาดวตามนดสวนใหญอยในเขตเมองมากกวาชนบท โดยคนกรงเทพฯ ขาดวตามนด 14% ทงน เนองจากชวตการท างานในแตละวนไมเจอกบแสงแดดเลย โดยมากพบในผหญง สวนในตางจงหวดตวเลขการขาดวตามนดประมาณ 5-7% หากรางกายขาดวตามนดจะสงผลใหไมไดรบการบ ารงกระดกทเพยงพอ ดงนนจะเกดเปนโรคกระดกพรน ซงเปนภาวะกระดกเปราะบางท าใหแตกหกไดงาย ปจจยทมผลตอการไดรบวตามนด 1. อาย อายมากขนท าใหความสามารถในการสงเคราะหวตามนดนอยลง 2. รงสยวบ รางกายไดรบแสงแดดมากนอยเพยงใด พบวาใหแขน-ขาไดรบแสงแดดเปนเวลา 15 นาท ในชวงเวลา 10.00-14.00 น. กเพยงพอ ตอการสงเคราะหวตามนดใหไดตามความตองการของรางกาย 3. เมดสผว คนผวขาวจะสงเคราะหวตามนดไดดกวาคนผวด าหรอผวคล า 4. การใชครมกนแดด การใชครมกนแดดท าใหเราไดรบรงสยวบนอยลง 5. ความอวน ความอวนท าใหสงเคราะหวตามนดไดนอยลง เนองจากรงสยวบถกไขมนดดซบหมด 6. อาหาร อาหารทมวตามนดมาก ไดแก ปลาแซลมอน (ปลาแซลมอนธรรมชาตจะมวตามนดมากกวาปลาแซลมอนฟารมเลยง) เหด (ทปลกกลางแจง) นอกจากนการประกอบอาหารดวยวธการทอดจะท าใหเกดการสญเสยวตามนดมากทสด แคลเซยมเปนองคประกอบหลกทส าคญของเนอเยอกระดก อกทงโครงกระดกท าหนาทเปนแหลงเกบสะสมแคลเซยม โดยปกตนนเมอแรกเกดจนถงอายประมาณ 25 ป ชวงนเปนชวงทมการสรางมวลกระดก โดยรางกายจะมคามวลกระดกสงสด (Peak Bone Mass) ในอายประมาณ 25 ป และหลงจากนนระดบมวลกระดกจะเรมลดลงอยางชาๆ ประมาณ 0.5-1% ตอปทงในผหญงและผชาย ทงนขนอยกบพนธกรรม พฤตกรรมการออกก าลงกาย และการรบประทานอาหาร ซงหากมวล

เอกสารสรปองคความรจากโครงการการจดการองคความรภาควชาคหกรรมศาสตร วนองคารท 24 เมษายน 2555

บรรยายโดย ผชวยศาสตราจารย ดร. สรมนต ชายเกต

{PAGE }

กระดกนอยมาก อาจเสยงตอการเปนโรคกระดกพรน สาเหตใหเกดกระดกหกจากอบตเหตเพยงเลกนอย และมโอกาสทกระดกทหกอาจไมสามารถตดกนได การรบประทานอาหารทมแคลเซยมสงจะชวยปองกนโรคกระดกพรนได อาหารทมแคลเซยมสง ไดแก กงแหงตวเลก ปลาลนหมาแหง กงฝอย ปลาเลกปลานอยทอด ดอกแค ใบชะพล งาด าคว และถวแดงหลวง นอกจากนอาจมการรบประทานแคลเซยมเสรมคนทเสยงตอการเกดโรคกระดกพรน ไดแก หญงตงครรภ หญงใหนมบตร หญงวยหมดประจ าเดอน ผสงอาย ผปวยทมปญหามวลกระดกชดเจน ผปวยกระดกหก ผปวยโรคไตบางชนด อยางไรกตามการไดรบแคลเซยมมากเกนไป ท าใหประสทธภาพการดดซมแคลเซยมลดลง เนองจากโปรตนทขนสงแคลเซยมจะหยดท างานโดยอตโนมต จงควรรบประทานแคลเซยมเสรมใหถกวธ ดงน 1. แคลเซยมเสรมชนดเมดฟ ควรรบประทาน 2 เมดตอวน โดยเฉพาะผทมอาย 45 ป ขนไป 2. ควรรบประทานแบบแบงรบประทาน (Divided dose) 3. หญงใหนมบตร ควรรบประทานแคลเซยมเสรม 30 นาท กอนใหนมบตร 4. การรบประทานแคลเซยมเสรมชนดแคลเซยมกลโกเนตควรทานควบคกบอาหารทมไฟเบอรสง