22

WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้
Page 2: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท�าให้ผู้ที่สนทนาเข้าใจร่วมกัน

นั่นก็คือ การสื่อด้วยภาพ “แบบ” จึงมีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้องให้ได้มองภาพออกว่า สิ่ง

ทีเ่ราพดูถงึกนัอยูน่ัน้มรีปูร่างหน้าตาเป็นแบบไหน การเขยีนแบบจึงเป็นสิง่ส�าคญัทีจ่ะ

ช่วยให้แบบนั้นออกมาดูแล้วเข้าใจตรงกัน

หากพดูถงึการเขยีนแบบในงานอตุสาหกรรมทัง้เคร่ืองกล ไฟฟ้า อิเลก็ทรอนกิส์

ไปจนถึงงานก่อสร้าง สถาปัตย์ คงจะต้องยกให้กับโปรแกรม AutoCAD ด้วยการ

ใช้งานที่ง่ายและนิยมกันอย่างแพร่หลาย AutoCAD จึงเป็นโปรแกรมท่ีเหมาะกับ

ผู้ที่คิดจะเริ่มต้นในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์เป็นอย่างยิ่ง

ผู้เขียนหวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะท�าให้ผู้อ่านได้เรียนรู้และเข้าใจการเขียนแบบ

ด้วยคอมพิวเตอร์จากโปรแกรม AutoCAD ได้ดีขึ้น และหากหนังสือเล่มนี้มีข้อ

ผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

อิศเรศ ภาชนะกาญจน์มกราคม 2016

W R I T E R ’ S N O T E

Page 3: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

I

AutoCAD 2

016

Intro

มอีะไรแปลกใหม เปลีย่นไปใน AutoCAD 2016หนาตาง Welcome Screen . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2

แท็บเปดไฟลงาน New Tab Button. . . . . . . . . . . . . . . . . 3

โทนสีใหม New color schemes . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3

กลองแสดงตัวอยางในริบบอน Insert blocks from the ribbon . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4

การเลือกชิ้นงานที่ดูแปลกใหม New selection look and lasso selection . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4

คําสั่งแสดงตัวอยาง Command preview . . . . . . . . . . . 5

ปายเคอรเซอรแสดงผล Cursor badges . . . . . . . . . . . . . 5

ตัวหอย ตัวเลขยกกําลัง New Mtext Feature . . . . . . . . 6

ควบคุม Viewport แบบใหม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6

CHAPTER 01โลกของการเขยีนแบบ 2D ดวย AutoCADการเขียนแบบและ AutoCAD . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8

เทคนิคงายๆ กับการเขียนแบบ 2 มิติดวย AutoCAD . . . . 9

เริ่มตนเขียนแบบอยางไรแบบแผน. . . . . . . . . . . . . . . . . . 10

ขั้นตอนที่ 1 เปดคอมพิวเตอรแลวดับเบิลคลิกเรียกโปรแกรม

AutoCAD . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 10

ขั้นตอนที่ 2 ทําความคุนเคยกับ Workspace ของ

AutoCAD . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .12

ขั้นตอนที่ 3 รูจักกับสวนประกอบของ Workspace แบบ 2D

Drafting & Annotation . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 14

ขั้นตอนที่ 4 ฝกเขียนเสนตรง รูปสี่เหลี่ยม และหลายเหลี่ยมดวย

วิธีการตางๆ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 16

ขั้นตอนที่ 5 ถอยกลับมาเพื่อรูจักการเรียกใชคําสั่ง . . . . . . . 20

ขั้นตอนที่ 6 แนวทางการเขียนแบบใหไดระยะที่ถูกตอง . . . . 22

ขั้นตอนที่ 7 ฝก Erase, Copy และคําสั่งแกไขอื่นๆ

ที่ไมซับซอน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 24

ขั้นตอนที่ 8 ฝกเขียนรูปทรงตามตัวอยาง. . . . . . . . . . . . . . 26

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 30

CHAPTER 02พืน้ฐานการเขยีนแบบ 2D กบั AutoCADเราจะศึกษาอะไรในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 32

การใชเมาสใน AutoCAD 2016. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 32

Function Keys บนคียบอรด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 33

เปลี่ยนมุมมองภาพดวยคําสั่ง Zoom และ Pan. . . . . . . . 34

เขาหาตําแหนงที่แมนยําดวย Object Snap . . . . . . . . . . 38

การตั้งคา Object Snap แบบอัตโนมัติ . . . . . . . . . . . . . . . 41

มาเริ่มตนกับคําสั่งเขียนแบบฉบับเบื้องตน . . . . . . . . . . . 41

เรียนรูการใชกลุมคําสั่ง Draw เบื้องตน . . . . . . . . . . . . . . . 42

เรียนรูการใชกลุมคําสั่ง Modify เบื้องตน. . . . . . . . . . . . . . 45

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 50

CHAPTER 03การเขียนแบบ 2Dรูจกัใชคาํสัง่ประยกุตของกลุมคาํสัง่ Draw และ Modify...52

คําสั่ง Arc . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 57

คําสั่ง Revision Cloud . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 58

คําสั่ง Spline . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 59

คําสั่ง Ellipse และ Elliptical Arc . . . . . . . . . . . . . . . . . . 59

คําสั่ง Point . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 60

คําสั่ง Array . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 62

คําสั่ง Stretch . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 65

คําสั่ง Trim และ Extend . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 68

คําสั่ง Break at Point และ Break . . . . . . . . . . . . . . . . . 69

คําสั่ง Join. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 70

คําสั่ง Lengthen . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 70

คําสั่ง Chamfer . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 71

คําสั่ง Fillet . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 72

คําสั่ง Explode . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 73

คําสั่ง Edit Polyline และ Edit Spline (เฉพาะงาน 2D) . . . 73

การใชงาน Snap และ Grid ชวยในการกําหนดตําแหนง...74

Page 4: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

II

CONTENTS

การตั้งคา Grid และ Snap . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 75

การควบคุมการใชงาน Snap และ Grid . . . . . . . . . . . . . . 76

การเขียนตัวอักษรและเสนลายตัด . . . . . . . . . . . . . . . . . 77

คําสั่ง Mtext (Multiline Text) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 77

คําสั่ง Dtext (Single Line Text). . . . . . . . . . . . . . . . . . . 78

คําสั่ง Text Style . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 79

การสรางเสนลายตัด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 81

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 84

CHAPTER 04ความสมบรูณของแบบแปลนรูจักกับ Layer . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 86

เลเยอรกับการใชงาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 88

หลักการทํางานของเลเยอร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 88

แนวทางการใชงานเลเยอร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 89

การควบคุมเลเยอร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 90

การควบคุมเลเยอรแบบอื่นๆ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 92

สื่อขอมูลจากแบบแปลนใหผูอื่นไดรับรู . . . . . . . . . . . . . . 94

สวนประกอบของเสนบอกขนาด (Dimension) . . . . . . . . . 94

กลุมคําสั่งและรูปแบบการบอกขนาด . . . . . . . . . . . . . . . . 99

ทํางานใหเร็วขึ้นดวย Block . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 111

การสราง Block สาธารณะ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 114

อะไรคือ Dynamic Blocks. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 115

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .124

CHAPTER 05โลกของการเขยีนแบบ 3D ดวย AutoCADโลก 3 มิติกับ CAD/CAM . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .126

ทําไมถึงตองมีการออกแบบชิ้นงาน 3D . . . . . . . . . . . . . . 126

มารูจักกับ CAD และ CAM. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 126

Solid Modeling คืออะไร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 127

เทคนิคงายๆ กับการขึ้นรูป 3D ดวย AutoCAD . . . . . .128

กอนจะขึ้นรูปชิ้นงาน 3 มิติ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .129

เริ่มตนกับไฟลใหมดวย New และ Template . . . . . . . . . 129

กําหนดหนวยวัด (Units) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .130

User Interface และ Workspace กับการทํางาน 3 มิติ. . . .131

วาดวย Layer . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .132

วาดวยการเปลี่ยนมุมมอง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .133

วาดวยการแสดงผลภาพแบบ Visual Styles . . . . . . . .138

วาดวยการแสดงผลภาพแบบ Render. . . . . . . . . . . . .140

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .144

CHAPTER 06โลก 3D และการกาํหนดตําแหนงทําไมถึงตองมี UCS . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .146

UCS กับการใชงาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 147

กลุมคําสั่ง UCS . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .147

คําสั่ง UCS. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 147

คําสั่ง UCS > World (WCS : World Coordinate

System) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 149

คําสั่ง UCS > Previous . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 150

คําสั่ง UCS > Face. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 151

คําสั่ง UCS > Object . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 153

คําสั่ง UCS > View. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 154

คําสั่ง UCS > Origin . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 156

คําสั่ง UCS > Z Axis. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 157

คําสั่ง UCS > 3 Point . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 159

คําสั่ง UCS > X, Y, Z . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 162

คําสั่งและพารามิเตอรอื่นๆ ที่ควรรู. . . . . . . . . . . . . . . .164

คําสั่ง UCSMAN (UCS Manager) . . . . . . . . . . . . . . . . 164

คําสั่ง UCSVIEW. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 170

คําสั่ง UCSORTHO . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 172

คําสั่ง UCSFOLLOW. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 174

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .174

Page 5: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

III

AutoCAD 2

016

CHAPTER 07มมุมองของภาพและการแสดงผลการแสดงผลและมุมมองของภาพ 3 มิติ . . . . . . . . . . .176

กลุมคําสั่งในการแสดงผลของภาพ 3D (Visual Styles & Edge Effect) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .176

ทูลบาร Visual Styles. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 177

รูจักกับ “Visual Styles Manager” . . . . . . . . . . . . . . . 180

กลุมคําสั่งในการแสดงมุมมองของภาพ 3D (3D Navigate) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .193

กลุมคําสั่ง Views . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 194

รูจักกับ SteeringWheels และ ViewCube . . . . . . . . . . 199

กลุมคําสั่ง Zoom . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 202

กลุมคําสั่ง Orbit . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 202

กลุมคําสั่ง Camera Adjustment . . . . . . . . . . . . . . . . . 206

กลุมคําสั่ง Animation . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .208

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .212

CHAPTER 08การข้ึนรปูช้ินงาน 3Dรูจักกับ Solid Model และ Surface Model . . . . . . . . .214

Solid Model . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 214

Surface Model. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 214

Wireframe Model . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 215

กลุมคําสั่งสําหรับขึ้นรูปชิ้นงาน 3D . . . . . . . . . . . . . . .216

กลุมคําสั่ง 3D Modeling สําหรับการสราง SolidModel . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .219

คําสั่ง Polysolid. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 219

คําสั่ง Box . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 222

คําสั่ง Wedge . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 224

คําสั่ง Cone. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 225

คําสั่ง Sphere . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 227

คําสั่ง Cylinder . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 228

คําสั่ง Torus. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 229

คําสั่ง Pyramid . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 230

คําสั่ง Helix . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 231

คําสั่ง Planar Surface . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 233

คําสั่ง Extrude . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 234

คําสั่ง Presspull . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 237

คําสั่ง Sweep. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 238

คําสั่ง Revolve . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 240

คําสั่ง Loft . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 242

กลุมคําสั่ง Solid Editing เพื่อการ Boolean Operation . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .246

คําสั่ง Union . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 246

คําสั่ง Subtract . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 246

คําสั่ง Intersect . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 247

กลุมคําสั่ง 3D Operation . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .247

คําสั่ง 3D Move . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 247

คําสั่ง 3D Rotate . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 248

คําสั่ง 3D Align . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 250

คําสั่ง 3D Array . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 252

กลุมคําสั่ง 3D Modeling สําหรับการสราง Surface Model . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .254

การสราง Surface Model ผิวเรียบแบบไมซับซอน. . . . . . 255

การสราง Surface Model ที่มีดานเปนพื้นผิวเรียบตรง . . . 256

การสราง Surface Model ที่เปนโครงรางตาขาย หรือพื้นผิวที่

ขรุขระซับซอน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 257

การสราง Surface Model จากรูปทรงตางๆ . . . . . . . . . 259

การสราง Surface Model ที่มีลักษณะรูปทรง Primitive . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .263

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .264

Page 6: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

IV

CONTENTS

CHAPTER 09การปรับแตงช้ินงาน 3Dกลุมคําสั่ง Solid Editing และ 3D Operation . . . . . . .266

กลุมคําสั่ง Solid Editing . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .266

คําสั่ง Extrude Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 266

คําสั่ง Move Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 269

คําสั่ง Offset Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 271

คําสั่ง Delete Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 272

คําสั่ง Rotate Faces. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 273

คําสั่ง Taper Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 275

คําสั่ง Copy Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 277

คําสั่ง Color Faces . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 277

คําสั่ง Copy Edges. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 279

คําสั่ง Color Edges . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 279

คําสั่ง Imprint . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 280

คําสั่ง Clean . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 280

คําสั่ง Separate . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 281

คําสั่ง Shell . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 281

คําสั่ง Check . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 284

คําสั่งอื่นๆ ในกลุม 3D Operation . . . . . . . . . . . . . . . .284

คําสั่ง Interference Checking. . . . . . . . . . . . . . . . . . . 284

คําสั่ง Thicken. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 286

คําสั่ง Section Plane . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 286

คําสั่ง Flatshot . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 293

คําสั่ง Covert to Solid . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 295

คําสั่ง Convert to Surface . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 296

คําสั่ง Slice . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 296

คําสั่ง Extract Edges . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 297

คําสั่ง 3D Mirror. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 298

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .300

CHAPTER 10ทาํภาพเสมอืนจรงิกบัการ Renderทําไมถึงตองมีการ Render . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .302

เทคนิคการใชงาน Render. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .302

ขั้นตอนที่ 1 และ 2 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .303

ขั้นตอนที่ 3 การกําหนด Background . . . . . . . . . . . .304

Background และการปรับแตง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 304

ขั้นตอนที่ 4 การกําหนด Lights & Sun . . . . . . . . . . . .306

กลุมคําสั่ง Lights . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 308

รูจักกับ Sun Properties และการใชงาน . . . . . . . . . . . . 312

ขั้นตอนที่ 5 การกําหนด Material . . . . . . . . . . . . . . .314

คําสั่ง Material และการเรียก Material มาใชงาน . . . . . . 314

การปรับแตง Material ดวยพาเลท Material . . . . . . . . . 315

ขั้นตอนที่ 6 การทดลองใชคําสั่ง Render . . . . . . . . . .322

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .328

CHAPTER 11

การพิมพแบบแปลนPlotting and Printing . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .330

รูจักและใชงาน Layout และ Title Block . . . . . . . . . . .330

1. การกําหนดรูปแบบ Layout และ Title Block เมื่อเริ่มใช

คําสั่ง New . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 332

2. การแทรก Layout และ Title Block (Template)

เพิ่มเติม. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 333

จัดหนากระดาษดวย Page Setup Manager . . . . . . . . . 335

สักนิดกับการปรับแกรายละเอียดใน Title Block . . . . . . . 337

รูจักและนํา Viewport มาใชใน Layout. . . . . . . . . . . . .338

เริ่มพิมพงานใน AutoCAD. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .344

ขั้นตอนทั่วไปในการพิมพงาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 345

การพิมพงานเบื้องตนโดยใชคําสั่ง Plot . . . . . . . . . . . . . . 345

ทําอยางไรจะพิมพงานใหไดตรงตามอัตราสวนที่ตองการ. . . . 348

สรุปสิ่งที่เราเรียนรูในบทนี้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .351

Page 7: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

AutoCAD2016

Introมอีะไรแปลกใหม เปลีย่นไปใน AutoCAD 2016

สําหรับ AutoCAD 2016 ในเวอรชันใหมนี้ มีอะไรเพ่ิมขึ้นมาแปลกใหมพอสมควร ทั้งน้ีก็เพื่อที่จะชวยใหผูใชนั้นใชงานโปรแกรมได และสะดวกสบายเพิ่มขึ้นกวาเวอรชันกอนๆ สวนจะมีอะไรที่เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มขึ้นบางนั้น เราไปดูกันเลย

Page 8: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

มีอะไรแปลกใหม เปลี่ยนไปใน AutoCAD 2016 Intro

2

หนาตาง Welcome Screenเมื่อเปดโปรแกรมเขามา สิ่งที่จะเจอเปนสิ่งแรกก็คือ Welcome Screen สําหรับเวอรชันใหมนี้ จะแบงการใชงาน

ออกเปน 3 คอลมัน หรอื 3 สวนหลกัๆ ดวยกนั ไดแก Get Started, Recent Documents และ Notifications/Connect

A Get Started ในสวนน้ีจะเปน

ส วนที่ ใช เลือกการเริ่มต นใน

การใชงานวา เราตองการที่จะ

ใชงานแบบไหน เริ่มวาดงาน

ใหม, เลือกแมแบบงานที่มีมาให

(Templates) หรือจะเปดไฟล

งานทีม่ ีซึง่เราสามารถคลกิเลอืก

ตรงสวนนี้ไดเลย

BA C

B Recent Documents ไฟล

ล าสุดที่ เราไดเคยเปดใชงาน

จะแสดงขึ้นมาตรงสวนนี้ หาก

ตองการจะเขาใชงานไฟลเดิมที่

เคยทาํไว กส็ามารถจะคลกิเลอืก

ไฟลนั้นที่แสดงไวตรงสวนนี้ได

ทันที

C Notif icat ions/Connect เปนสวนของการแจงเตือนและ

การเชื่อมตอ สามารถลงชื่อเขา

ใช Autodesk 360 หรือสง

ขอเสนอแนะตางๆ ไดจากตรง

สวนนี้

Page 9: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

3

AutoCAD 2016

โทนสีใหม New color schemes

สวนถาใครเคยชินกับเวอรชันกอน ก็สามารถ

เปลีย่นโทนสไีด โดยคลกิเมน ูTools > Options จากนัน้

ใหคลิกแท็บ Display ที่ Color scheme จาก Dark

ใหเปลี่ยนเปน Light

สิ่งที่ เห็นไดเด นชัด

แนนอนก็คือ โทนสีใหม

ของเวอรชันนี้ ที่จะมีโทน

สีท่ีเขมขึ้นไปจากเดิมมาก

ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการถนอม

สายตาของผูใชโปรแกรม

นั่นเอง

แท็บเปดไฟลงาน New Tab Buttonเมือ่เขามาในตวัโปรแกรมแลว หากเราทาํงานอยูหลายไฟล กจ็ะมีแท็บไฟลงานทีเ่ราไดเปดใชแสดงใหเหน็ ทําใหงาย

ตอการสลับการทํางาน แตสิ่งที่จะเพิ่มขึ้นมาคือ ปุม New Tab เมื่อคลิกปุมนี้ ก็จะกลับไปยังหนา Welcome Screen

เพื่อใหเลือกเปดไฟลงานที่เราตองการ ไมวาจะเปนการสรางไฟลงานใหมหรือเปดไฟลงานเดิม ถือวาเปนการเปดไฟลที่

สะดวกเอามากๆ

คลิกปุม New Tab เพื่อเปดไฟลงานเพิ่ม

Page 10: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

4

Introมีอะไรแปลกใหม เปลี่ยนไปใน AutoCAD 2016

กลองแสดงตัวอยางในริบบอน Insert blocks from the ribbon

สําหรับในริบบอนบางคําสั่ง เม่ือคลิกเขาไปแลวจะมีกลองแสดงตัวอยางของคําสั่งนั้นๆ ปรากฏขึ้นมาใหเห็นอีก

ดวย ซึ่งเปนสิ่งที่เพิ่มขึ้นมาใหมในเวอรชันนี้ เชน หากเราคลิกปุม Dimension ก็จะมีตัวอยางของรูปแบบ Dimension

ใหเราไดเห็นอีกดวย

การเลือกชิ้นงานที่ดูแปลกใหม New selection look and lasso selection

เมื่อเรา Selection หรือเลือกวัตถุชิ้นงาน ชิ้นงานที่ถูกเลือกนั้นจะดูเดนชัดขึ้นมา โดยจะเนนเสนใหหนาและสวาง

ขึ้น ดูแตกตางไปจากเสนปกติ และอีกสิ่งหนึ่งที่เพิ่มขึ้นมาคือ Lasso selection ซึ่งจะเปนการเลือกชิ้นงานไดอยางอิสระ

ไมไดเปนกรอบสี่เหลี่ยมในแบบเดิมๆ วิธีการก็แคคลิกคางแลวแดรกเมาสลากสวนที่ตองการจะเลือกไดเลย

มีตัวอยางแสดงในริบบอนใหดูดวย

คลิกแลวลากกรอบสี่เหลี่ยม เพื่อเลือกชิ้นงาน

สวนที่เลือกจะสวางเดนชัดขึ้น

คลิกคางแลวลากไดอยางอิสระ

Page 11: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

5

AutoCAD 2016

ปายเคอรเซอรแสดงผล Cursor badgesในบางคําสั่งเมื่อใชงาน จะมีเครื่องหมายหรือสัญลักษณแสดงบอกใหเรารูดวย เชน หากเราใชคําสั่งลบ (Erase) จะ

มเีครือ่งหมาย X แสดงใหเหน็วาเราจะลบวตัถนุัน้ หรอืถาไมสามารถใชคาํสัง่กับสวนนัน้ได จะมเีคร่ืองหมายวงกลมขดีฆา

แสดงเครื่องหมายและเสนที่จะหายไปกอนที่จะลบ

แสดงเครื่องหมายบอกวาใชกับสวนนั้นไมได

แควางเคอรเซอร ก็จะแสดงเสนที่ตอใหเห็น

ผลลัพธที่ได

คําสั่งแสดงตัวอยาง Command preview หากเราใชคําสั่งพวกตัดชวงของเสน (Break) หรือตอเสน (Extend) เราจะสามารถเห็นผลของการตัดหรือตอเสน

ไดกอนที่จะคลิกปุมตกลง เพียงแคกําหนดและวางเคอรเซอรไปยังวัตถุที่ตองการ ก็จะแสดงผลในทันที

กําหนดจุดแรก และเลื่อนไปยังจุดที่ 2 ก็จะแสดงผลใหเห็นกอน

กําหนดชวงในการตอเสนกอน

11

22

Page 12: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

6

Introมีอะไรแปลกใหม เปลี่ยนไปใน AutoCAD 2016

ตัวหอย ตัวเลขยกกําลัง New Mtext Feature

พิมพตัวเลขยกกําลังไดแลว

ควบคุม Viewport แบบใหมเราสามารถที่จะควบคุม Viewport ไดง ายขึ้น

สามารถปรับขนาด Viewport โดยการลากเสนขอบสีฟา

และเราสามารถเพ่ิมหรือแยก Viewport ขึ้นมาใหมได

งายๆ เพียงแคกดปุม แลวแดรกเมาส

ปรับขนาดไดงายๆ

จัดวาง Viewport ใหมไดงายๆ

กดปุม แลวแดรกเมาส เพื่อแยก Viewport เพิ่มขึ้น

สําหรับการพิมพตัวอักษรในเวอรชันใหมนี้ สามารถพิมพเลขยกกําลัง

หรือตัวหอยไดอยางงายดาย หมดปญหากับเรื่องนี้ไปไดเลย

1

32

Page 13: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

AutoCAD2016

01C H A P T E R

โลกของการเขยีนแบบ 2D ดวย AutoCAD

บทแรกนีจ้ะเปนแนวทางใหมในการเริม่ตนเขียนแบบ 2D ดวย AutoCAD ผูอานที่ไมเคยใชงาน AutoCAD มากอน แตถาเคยเขียนแบบดวยมือหรือเคยวาดรูปตอนเด็กๆ มาบาง ก็สามารถที่จะทําความเขาใจไดไมยาก สวนผูที่มีประสบการณมาบางแลว ก็สามารถเรียนรูเพื่อจะไดพบกับแนวทางใหมๆ ในการเขียนแบบ

ดังทีไ่ดเกร่ินไว เราจะเริม่ตนเขยีนแบบดวย AutoCAD โดยไมจําเปนตองอาศัยหลักการอะไรมากมายนัก เพียงแคมีคอมพิวเตอร มีโปรแกรม AutoCAD ก็สามารถเริ่มตนเขียนแบบตามคูมอืเลมนี ้และทาํตามบทแรกนีไ้ดทนัที

Page 14: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

8

โลกของการเขียนแบบ 2D ดวย AutoCAD CHAPTER 01

การเขียนแบบและ AutoCADดวยเทคโนโลยีที่กาวไปอยางไมหยุดยั้ง และการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรตางๆ ทําใหเพียงแคคนชั่วรุนเดียว

ไดมองเห็นการเปลี่ยนแปลงอยางที่ไมเคยเปนมากอน จากการเดินทางที่ตองใชเวลาเปนเดือนดวยการเดินเรือ ปจจุบัน

เครื่องบินคือเครื่องยอระยะทางที่มีประสิทธิภาพเปนอยางยิ่ง การพัฒนาเทคโนโลยีทางดานการสื่อสาร ทําใหเราได

พบจุดจบของการเขียนจดหมายลงบนกระดาษแลวสงทางไปรษณีย โทรศัพทมือห้ิวรุนกระติกนํ้าหรือกระดูกสุนัขเม่ือ

สิบกวาปกอน ที่ราคาหลายแสนบาทและโทรติดตอกันอยางยากลําบาก กลายมาเปนโทรศัพทมือถือท่ีเล็กจนสามารถ

รอยเปนสรอยหอยคอได หรือแมแตโทรทัศนที่ยิ่งนานวันก็ยิ่งบางลงๆ และไมเปนแคเพียงโทรทัศนอีกตอไป สิ่งตางๆ ที่

เปลี่ยนแปลงไปในชั่วรุนเดียว ทําใหเราตองปรับเปลี่ยนตัวเองอยางมโหฬาร และเครื่องมือในการทํางานท่ีปจจุบันไมมี

ใครไมรูจักหรือคอมพิวเตอร ก็ไดเขามามีบทบาทอยางที่ไมมีใครสามารถหลบหลีกพน

ทุกสิ่งทุกอยางกําลังเปล่ียนไป และน่ันก็รวมถึงวงการวิศวกรรมและ

สถาปตยกรรมทีเ่ปนแนวหนาในการประยกุตใชเทคโนโลย ีกต็องปฏวิตัติวัเองใหตาม

ตดิกระแสอยางหลกีเลีย่งไมได ปจจุบนัเราไดเห็นคอมพวิเตอรเขามามบีทบาทอยาง

มากในหลายวงการ ในทางวศิวกรรมและสถาปตยกรรมเอง เรากไ็ดเห็นแบบจาํลอง

เสมือนจริงผานทางคอมพิวเตอรกอนที่ฝายผลิตหรือฝายกอสรางจะเร่ิมปฏิบัติงาน

เสียดวยซํ้า ในสวนของวิศวกรรมการเขียนแบบ (Engineering Graphic Drawing)

เทคโนโลยีที่ลํ้าหนาไดทําใหเราพบวา ความสะดวกสบายในการเขียนแบบเปน

อยางไร เวลาในการทํางานลดลงอยางมีนัยสําคัญนั้นเปนอยางไร และความถูกตอง

แมนยํา ความสวยงามของผลงานนั้นเปนอยางไร

ผลจากการพฒันาอยางรวดเรว็ของคอมพวิเตอรทางดานการออกแบบและเขยีนแบบ ทาํใหเกดิ CAD, CADD, CG,

CAE, AD และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งลวนเปนการใชคอมพิวเตอรชวยในการออกแบบและเขียนแบบดวยกันทั้งสิ้น แตที่

มีการใชอยางกวางขวางและเปนที่เขาใจกันเปนอยางดีสําหรับงานดานนี้คือ CAD – Computer Aided Drafting หรือ

Computer Aided Design ซึ่งใชไดทั้ง 2 ความหมายไมวาจะเปนการเขียนแบบหรือออกแบบ

Page 15: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

9

AutoCAD 2016

เมื่อเราจําเปนตองกาวตามกระแส เราก็จําเปน

ตองเรยีนรูเพ่ือทีจ่ะไดติดตามและใชงานเทคโนโลยไีด

อยางไมอายใคร และที่สําคัญสําหรับผูที่อยูในแวดวง

วิศวกรรมและสถาปตยกรรม ที่จําเปนจะตองเรียนรู

เรื่อง CAD ไวเพื่อความไมประมาทในการดําเนิน

วิชาชีพ

ในหนังสือเลมนี้ ผูเขียนจะแนะนําเทคนิคงายๆ

ในการเขียนแบบ 2D และ 3D ดวย AutoCAD โดยได

แยกรปูแบบในการเรียนรูออกเปนสองสวนคอื เทคนคิ

การเขียนแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อใหผูอานสามารถ

แยกกันศึกษาไดทันที ซึ่งผูท่ีมีความตองการจะเขียน

แบบ 3 มิติก็สามารถขามไปศึกษาในสวนของการ

ใชงานแบบ 3 มิติไดตามแตสะดวก

เทคนิคงายๆ กับการเขียนแบบ 2 มิติดวย AutoCADตามความเปนจริงแลว โปรแกรม AutoCAD ถูกออกแบบมาใหทํางานเต็มรูปแบบ 3 มิติ แมวาเราจะเขียนแบบ

ดวย AutoCAD LT (AutoCAD เวอรชันที่ใชงานไดเฉพาะรูปแบบ 2 มิติ) ซ่ึงจะใหผลลัพธออกมาเปนงานเขียนแบบ

2 มิติก็ตาม แตเมื่อเปดไฟลนั้นๆ ใน AutoCAD เวอรชันเต็ม และแสดงผลลัพธของภาพออกมาในรูปแบบ 3 มิติแลว

จะพบวาแบบแปลน 2 มิติที่เราไดเขียนขึ้นมานั้นก็คือ การเขียนแบบที่อยูในเฉพาะระนาบ XY เพียงอยางเดียวนั่นเอง

รูปถัดไปจะแสดงตัวอยางการแสดงผลภาพออกมาในมุมมองของ 2 มิติและ 3 มิติ สิ่งที่เราจะสังเกตเห็นไดชัดเจนวามี

มุมมองภาพเปนแบบ 3 มิติก็คือ UCS หรือเครื่องหมายแสดงพิกัดจะเปลี่ยนไป

Page 16: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

10

โลกของการเขียนแบบ 2D ดวย AutoCAD CHAPTER 01

สาํหรบัการเริม่ตนเขยีนแบบของมอืสมคัรเลนนัน้ ส่ิงหนึง่ทีค่วรจดจําไวก็คอื ไมจาํเปนจะตองจาํคาํสัง่ใหไดทัง้หมด

นั่นก็เพราะวาสิ่งไหนที่ไมไดใชงานเราจะลืมมันเสมอ ซึ่งเทคนิคงายๆ ที่ผูเขียนตองการจะแนะนําก็คือ

1. ไมจําเปนตองนึกถึงความถูกตองของการเขียนแบบอยางมืออาชีพ

2. ใหนึกถงึชวงเวลาทีเ่ราเรยีนเขียนแบบ หรอืวาดรปูสมยัเดก็ๆ ดวยดนิสอ ยางลบ ปากกา ไมบรรทดั กระดาษ ฯลฯ

3. เริ่มตนเขียนแบบลงในกระดาษอยางไร การเขียนแบบดวย AutoCAD ก็เปนอยางนั้น

4. จะเขียนลายเสนแบบไหน ก็ใหนึกถึงคําสั่งที่นาจะมีใน AutoCAD แลวหาคําสั่งนั้นๆ มาใชงาน ในที่นี้จําเปน

จะตองนึกถึงคําสั่งเปนภาษาอังกฤษ และอาจจะตองอางอิงคูมือการใชงานคําสั่งที่มีขายทั่วไป เชน

� ถาตองการจะเขียนเสนตรง ก็ใหใชคําสั่งที่ใชเขียนเสนตรง (คําสั่ง Line)

� ถาตองการจะเขียนวงกลม ก็ใหนึกถึงคําสั่งสรางวงกลม (คําสั่ง Circle)

� ถาตองการจะลบเสน ก็นึกถึงยางลบ (Eraser) (หรือก็คือ คําสั่งที่ใชในการลบ = Erase)

5. ทดลองเขียนแบบดวย AutoCAD อยางจริงจัง ไมใชทดลองโดยการจินตนาการเอาเอง (อยางกับมือสมัครเลน

ที่เอาแตอานคูมือ แลวเขาใจวาตัวเองใชงานเปน)

6. เขียนแลวเขียนอีกจนคําสั่งที่ใชงานบอยๆ ติดคางอยูในสมองซีกซาย

7. ศึกษาเพิ่มเติมและใชคําสั่งอื่นๆ เพื่อใหผลงานดีขึ้น และการทํางานรวดเร็วขึ้น

8. ศึกษาเพิ่มเติมถึงมาตรฐานในการเขียนแบบ ถาตองการจะเปนมืออาชีพ

เริ่มตนเขียนแบบอยางไรแบบแผนสาํหรบัผูเริม่ตนท่ีไมเคยไดแตะหนังสอืคูมอืการใชงาน AutoCAD มากอน ขอเพยีงใชคอมพวิเตอรและเมาสได กอ็าจจะ

สามารถเรียนลัดดวยการฝกฝนตามหนังสือเลมนี้ไดทันที ซึ่งการใชงานพื้นฐานของโปรแกรม AutoCAD อยางเชนการ

สรางไฟลใหม, การ Copy, การ Save ก็มีวิธีการที่เหมือนหรือใกลเคียงกับโปรแกรมจําพวก MS Word หรือ MS Excel

อยูแลว ดงันัน้ ใครทีส่ามารถใชงานโปรแกรมอ่ืนๆ ทีอ่ยูในคอมพวิเตอร กจ็ะคุนเคยกบัคาํสัง่พืน้ฐานเหลานีใ้น AutoCAD

ดวยเชนกนั และดงัทีก่ลาวไวในหวัขอขางตน เราจะเริม่ตนเขยีนแบบ 2 มติอิยางไมตองไปสนใจกฎเกณฑอะไรมากมายดงันี้

ขั้นตอนที่ 1 เปดคอมพิวเตอรแลวดับเบิลคลิกเรียกโปรแกรม AutoCADขัน้ตอนแรกในการฝกใชงานโปรแกรม AutoCAD กค็อื สามารถทีจ่ะเปดโปรแกรมขึน้มาได ซ่ึงความสามารถนีอ้าจจะ

จําเปนสําหรับผูเริ่มตนที่ไมคุนเคยกับคอมพิวเตอรมากอน อยางไรก็ตามปจจุบันหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียน

ประถมและมธัยม ไดทาํใหขัน้ตอนนีเ้ปนขัน้ตอนทีผู่อานหลายๆ ทานสามารถขามไปไดโดยไมจาํเปนตองสนใจอะไรมากนกั

Page 17: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

11

AutoCAD 2016

Step by Step กับการเริ่มตน

Step DefinitionIcon/

Command

ขั้นที่ 1 สําหรับผูเริ่มตน เมื่อเปดคอมพิวเตอรขึ้นมาแลว ใหสังเกต Shortcut ของโปรแกรม AutoCAD บนหนาจอ จากนั้นดับเบิลคลิกไอคอนนี้เพื่อเขาสูโปรแกรม

ขั้นที่ 2 ในกรณีที่ไมมี Shortcut บนหนาจอ ใหคลิกปุม Start (ของวินโดวส) เลือก All Programs > Autodesk > AutoCAD 2016 สุดทายจึงคลิกเลือก Shortcut ของโปรแกรม AutoCAD

ขั้นที่ 3 แตถาไมสามารถทําตามวิธีการทั้งสองที่กลาวมาแลวได แสดงวาคอมพิวเตอรของผูอานไมมีโปรแกรม AutoCAD ดังนั้น ผูอานจะตองติดตั้งโปรแกรมกอนที่จะอานคูมือเลมนี้เสียกอน

Page 18: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

12

โลกของการเขียนแบบ 2D ดวย AutoCAD CHAPTER 01

ขั้นตอนที่ 2 ทําความคุนเคยกับ Workspace ของ AutoCADเมื่อเขาสูโปรแกรม เราจะเห็นหนาตาของโปรแกรมเปนดังรูปถัดไป ซึ่งหนาตาหรือ User Interface หรือ

Workspace (ตอไปจะขอเรียกวา Workspace) ท่ีเห็นเปนรูปแบบเริ่มตนของโปรแกรมนี้ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได

และเราสามารถปรับเปลี่ยนตําแหนงหรือเพิ่มเติมไอคอนตางๆ ไดเหมือนกับโปรแกรมอื่นของ Microsoft ที่เราคุนเคย

Step by Step กับ Workspace ของ AutoCAD

Step DefinitionIcon/

Command

ขั้นที่ 1 หลงัจากท่ีเราเปดโปรแกรมข้ึนมาแลว เราจะเห็น Workspace รปูแบบใหมชือ่วา Initial Setup Workspace ซึ่งเหมาะสําหรับการขึ้นรูปชิ้นงาน 3D แบบ Surface Model

ขั้นที่ 2 การเปลีย่นหนาตาหรือ Workspace สามารถทาํไดดวยการคลกิลกูศรชีท้ีอ่ยูดานขวาของไอคอนรูปกานํ้าดานบนซาย แลวเลือก Workspace

คลิก

หมายเหต ุ: หากมองไมเหน็เมนบูาร ใหเราคลกิลกูศรชีท้ีอ่ยูดานขวาของไอคอนรปูกานํา้ดานบนซาย แลวเลอืก Show Menu Bar

Page 19: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

13

AutoCAD 2016

Step DefinitionIcon/

Command

ขั้นที่ 3 ทดลองเปลี่ยน Workspace เปน 3D Basics และ 3D Modeling เพื่อดูความแตกตาง

ขั้นที่ 4 สําหรับการเขียนแบบ 2 มิติ เราจะใช Workspace รูปแบบ 2D Drafting & Annotation ซึ่งเปน Workspace หลักในการศึกษาดวยหนังสือเลมนี้

Page 20: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

14

โลกของการเขียนแบบ 2D ดวย AutoCAD CHAPTER 01

ขั้นตอนที่ 3 รูจักกับสวนประกอบของ Workspace แบบ 2D Drafting & Annotationสาํหรับข้ันตอนนี ้เราจะทาํความเขาใจอยางละเอยีดกบัสวนประกอบของ Workspace เฉพาะรูปแบบ 2D Drafting &

Annotation แมวาผูอานจะไมไดทําความรูจัก Workspace แบบอื่นๆ แตก็จะสามารถใชงานไดเชนกันเมื่ออาน

ขั้นตอนนี้จบ

1. เมนูบราวเซอร เปนที่รวมของกลุมคําสั่งทั้งหมด และแบงแยกกลุมคําสั่งออกเปนเมนูตางๆ

2. แท็บริบบอน เปนที่รวมของกลุมคําสั่งหลักๆ

3. กลุมคําสั่งมาตรฐาน เปนกลุมคําสั่งที่ใชงานพื้นฐาน และเปนคําสั่งที่ใชบอยๆ

4. กลุมคําสั่งใชงาน เปนกลุมคําสั่งที่เราจะคลิกเพื่อเรียกใชงาน

5. แท็บ InfoCenter เปนสวนที่แสดงการคนหาขอมูลผานอินเทอรเน็ต

6. กลุมคําสั่งจัดการไฟล เปนการยอและขยายพื้นที่หรือหนาตางทํางาน และปดไฟล

7. พื้นที่ทํางาน เปนพื้นที่ที่เราจะใชในการเขียนแบบ

8. Crosshair เปนเคอรเซอรทีใ่ชแสดงตาํแหนงบนพ้ืนทีทํ่างาน เคล่ือนทีต่ามการขยบัของเมาส เปรยีบ

ไดกับปลายปากกาเขียนแบบที่ใชในการเขียนตามคําสั่งที่กําหนด

6

11

2

4

8

9

15

10 13 17

14

12

53

16

1

7

Page 21: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้

15

AutoCAD 2016

9. Status Bar เปนสวนทีแ่สดงสถานะของคาํส่ังชวยในการเขยีนแบบ และแสดงพกัิดของ Crosshair

ในขณะนั้น

10. Layout/Model เปนแท็บที่รวมของคําสั่งจัดการกับ Model Space และ Layout

11. แท็บมุมมองภาพ เปนแท็บคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนมุมมองของภาพ

12. Annotation Bar เปนสวนแสดงสถานะของการใชงาน Annotation

13. Workspace เปนคําสั่งที่ใชเปลี่ยน Workspace

14. Command Line เปนสวนที่รับคําสั่งผานทางการพิมพดวย Keyboard

15. Dynamic Input เปนสวนที่รับคําสั่งบนพื้นที่ทํางาน

16. UCS Icon เปนไอคอนแสดงระบบพิกัด

17. Customization เปนสวนที่ใชควบคุมและเปลี่ยนหนาจอทํางานเปนแบบตางๆ เราสามารถที่จะเพิ่ม

หรือลดคําสั่งท่ีอยูดานลางของหนาจอไดดวยการคลิกไอคอน ดานลางขวา ซึ่งจะ

ปรากฏ Shortcut ใหเราไดเลือกกลุมคําสั่งตางๆ ดังแสดงในรูปดานลางนี้

Page 22: WRITER’S NOTE · ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารเรื่องใดๆ ก็ตาม สิ่งที่จะท าให้ผู้