13
1 หลักธรรมของนักบริหาร หลักธรรม หรือคําสั่งสอนของพระพุทธเจานั้น ถึงแมวาจะมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล นับถึงป จจุบันเปนเวลา 2540 กวาปแลว แตทุกหลักธรรมยังคงทันสมัยอยูเสมอ สามารถนําไปประยุกตใช เปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปนอย างดี ที่เปนเชนนีก็เพราะหลักธรรมดังกลาว เปนความจริงทีสามารถพิสูจนไดที่เรียกวา สัจธรรมปฏิบัติไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนํา หลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับนักบริหารก็มีหลักธรรมสําหรับยึดถือ และปฏิบัติอยางมากมาย ซึ่งไดนําเสนอไวบาง เรื่องที่สําคัญดังตอไปนีพรหมวิหาร 4 เปนหลักธรรมของผูใหญ (ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย มี 4 ประการ คือ 1. เมตตา ความรักใคร ปราถนาจะใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข 3. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข 4. อุเบกขา วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัติ มีทุกข

หลักธรรม ของ นักบริหาร

Embed Size (px)

DESCRIPTION

รวม หลักธรรม ของ นักบริหาร หรือผู้ที่สนใจ และสำหรับ ทุกท่าน

Citation preview

Page 1: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  1  

หลักธรรมของนักบริหาร

หลักธรรม หรือคําสั่งสอนของพระพุทธเจานั้น ถึงแมวาจะมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล นับถึงปจจุบันเปนเวลา 2540 กวาปแลว แตทุกหลักธรรมยังคงทันสมัยอยูเสมอ สามารถนําไปประยุกตใช เปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปนอยางด ี ที่เปนเชนนี ้ก็เพราะหลักธรรมดังกลาว เปนความจริงที ่ สามารถพิสูจนไดที่เรียกวา “สัจธรรม” ปฏิบัติไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนํา หลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับนักบริหารก็มีหลักธรรมสําหรับยึดถือ และปฏิบัติอยางมากมาย ซึ่งไดนําเสนอไวบาง เรื่องที่สําคัญดังตอไปนี ้

พรหมวิหาร 4 เปนหลักธรรมของผูใหญ(ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย ม ี4 ประการ คือ 1. เมตตา ความรักใคร ปราถนาจะใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข 3. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข 4. อุเบกขา วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัต ิ มีทุกข

Page 2: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  2  

อคติ 4 อคติ หมายความวา การกระทําอันทําใหเสียความเที่ยงธรรม มี 4 ประการ

1. ฉันทาคต ิ ลําเอียงเพราะรักใคร 2. โทสาคต ิ ลําเอียงเพราะโกรธ 3. โมหาคติ ลําเอียงเพราะเขลา 4. ภยาคต ิ ลําเอียงเพราะกลัว

อคติ 4 นี้ ผูบริหาร/ผูใหญ ไมควรประพฤติเพราะเปนทางแหงความเสื่อม

Page 3: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  3  

สังคหวัตถ ุ4 เปนหลกัธรรมอันเปนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจของกันและกันเห็นเหตุใหตนเอง และหมูคณะกาวไปสูความเจริญรุงเรือง 1.ทาน ใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให 2.ปยวาจา เจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวาน 3.อัตถจริยา ประพฤติในสิง่ที่เปนประโยชน 4.สมานนัตตตา วางตนใหเหมาะสมกับฐานะของตน

อิทธิบาท 4 เปนหลักธรรมถือใหเกิดความสําเร็จ 1.ฉันทะ ความพึงพอใจในงาน 2.วิริยะ ความขยันมั่นเพียร 3.จิตตะ ความมีใจฝกใฝเอาใจใสในงาน 4.วิมังสา ไตรตรองหาเหตุผล

Page 4: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  4  

ทศพิธราชธรรม 10 ประการ เปนหลักธรรมสําหรับพระมหากษัตริยจะพึงถือปฏิบัติมาแตโบราณกาลแดนักบริหาร เชน สรรพสามิตจังหวัด สรรพสามิตอําเภอ ก็นาจะนําไปอนุโลมถือปฏิบัติได หลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ มีอยูดังนี ้ 1. ทาน คือ การใหปน ซึ่งอาจเปนการใหเพื่อบูชาคุณหรือใหเพื่อเปนการอนุเคราะห 2. ศีล ไดแกการสํารวม กาย วาจา ใจ ใหเรียบรอยสะอาดดีงาม 3. บริจาค ไดแก การใหทรัพยสิ่งของเพื่อเปนการชวยเหลือหรือความทุกขยากเดือดรอน

ของผูอื่นหรือเปนการเสียสละเพื่อหวังใหผูรับไดรับความสุข 4. อาชวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยซื่อตรงมั่นในความสุจริตธรรม 5. มัทวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยดีงาม ละมุนละไม ออนโยน สุภาพ 6. ตบะ ไดแก การบําเพ็ญเพียรเพื่อขจัดหรือทําลายอกุศลกรรมใหสิ้นสูญ 7. อโกรธะ ไดแก ความสามารถระงับหรือขจัดเสียไดซึ่งความโกรธ 8. อวิหิงสา ไดแก การไมเบียดเบียนคนอื่น 9. ขันต ิ ไดแก ความอดกลั้นไมปลอยกาย วาจา ใจ ตามอารมณหรือกิเลสที่เกิดมีขึ้นนั้น 10. อวิโรธนะไดแก การธํารงครักษาไวซึ่งความยุติธรรม

Page 5: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  5  

บารมี 6 เปนหลักธรรมอันสําคัญที่จะนิยมมาซึ่งความรักใครนับถือ นับวาเปนหลักธรรมที่เหมาะมาก สําหรับนักบริหารจะพึงยึดถือปฎิบัต ิ มีอยู 6 ประการคือทาน 1. ทาน การใหเปนสิ่งที่ควรให 2. ศีล การประพฤติในทางที่ชอบ 3. ขันต ิ ความอดทนอดกลั้น 4. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร 5. ฌาน การเพงพิจารณาใหเห็นของจริง 6. ปรัชญา ความมีปญญารอบรู

ขันติโสรัจจะ เปนหลักธรรมอันทําใหบุคคลเปนผูงาม (ธรรมทําใหงาม) 1. ขันต ิ คือ ความอดทน มีลักษณะ 3 ประการ 1.1 อดใจทนไดตอกําลังแหงความโกรธแคนไมแสดงอาการ กาย วาจา ที่ไมนารัก ออกมาใหเปนที่ปรากฏแกผูอื่น

1.2 อดใจทนไดตอความลําบากตรากตรําหรือความเหน็ดเหนื่อย 2. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ทําจิตใจใหแชมชื่นไมขุนหมอง

Page 6: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  6  

ธรรมโลกบาล เปนหลกัธรรมที่ชวยคุมครองโลก หรือมวลมนุษยใหอยูความรมเย็นเปนสุข มี 2 ประการคือ 1. หิร ิ ความละอายในตนเอง

2. โอตัปปะ ความเกรงกลัวตอทุกข และความเสื่อมแลวไมกระทําความชั่ว

อธิฐานธรรม 4

เปนหลักธรรมที่ควรตั้งไวในจติใจเปนนิตย เพื่อเปนเครื่องนิยมนําจิตใจใหเกิดความรอบรูความจริง รูจักเสียสละ และบังเกิดความสงบ มี 4 ประการ 1. ปญญา ความรูในสิ่งที่ควรรู รูในวิชา 2. สัจจะ ความจริง คือประพฤติสิ่งใดก็ใหไดจริงไมทําอะไรจับจด

3. จาคะ สละสิ่งที่เปนขาศึกแหงความจริงใจ คือ สละความเกียจคราน หรือความหวาดกลัว ตอความยุงยาก ลําบาก 4. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เปนขาศึกตอความสงบ คือ ยับยั้งใจมิใหปนปวนตอความพอใจ รักใคร และความขัดเคืองเปนตน

Page 7: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  7  

คหบดีธรรม 4 เปนหลักธรรมของผูครองเรือนพึงยึดถือปฏิบัต ิ มี 4 ประการ คือ 1. ความหมั่น 2. ความโอบออมอารี 3. ความไมตื่นเตนมัวเมาในสมบัต ิ 4. ความไมเศราโศกเสียใจเมื่อเกิดภัยวิบัต ิ

ราชสังคหวัตถ ุ4 เปนหลักธรรมอันเปนเครื่องชวยในการวางนโยบายบริหารบานเมืองใหดําเนินไปดวยด ีมี 4 ประการ คือ 1. ลัสเมธัง ความเปนผูฉลาดปรีชาในการพิจารณาถึงผลิตผลอันเกิดขึ้นในแผนดิน แลวพิจารณาผอนผันจัดเก็บเอาแตบางสวนแหงสิ่งนั้น

Page 8: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  8  

2. ปุริสเมธัง ความเปนผูฉลาดในการดูคนสามารถเลือกแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงในความถูกตองและเหมาะสม 3. สัมมาปาลัง การบริหารงานใหตองใจประชาชน

4. วาจาเปยยัง ความเปนบุคคลมีวาจาไพเราะรูจักผอนสั้นผอนยาวตามเหตุการณ ตามฐานะและตามความเปนธรรม

สติสัมปชญัญะ เปนหลักธรรมอันอํานวยประโยชนแกผูประพฤติเปนอันมาก 1.สต ิ คือ ความระลึกไดกอนทํา กอนบูชา กอนคัด คนมีสติจะไมเลินเลอ เผลอตน 2.สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวในเวลากําลังทํา กําลังพูด กําลังคิด อกุศลมูล 3 อกุศลมูล คือ รากเหงาของความชั่ว มี 3 ประการคือ 1. โลภะ ความอยากได 2. โทสะ ความคิดประทุษรายเขา 3. โมหะ ความหลงไมรูจริง

นิวรณ 5 นิวรณ แปลวา ธรรมอันกลั้นจิตใจไมใหบรรลุความด ี มี 5 ประการ 1. กามฉันท พอใจรักใครในอารมณ มีพอใจในรูป เปนตน

Page 9: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  9  

2. พยาบาท ปองรายผูอื่น 3. ถีนมิทธะ ความที่จิตใจหดหูและเคลิบเคลิ้ม 4. อุธัจจะกุกกุจจะ ความฟุงซานและรําคาญ 5. วิจิกิจฉา ความลังเลไมตกลงใจได ผูกําจัดหรือบรรเทานิวรณได ยอมไดนิสงส 5 ประการคือ 1. ไมของติดอยูในกายตนหรือผูอื่นจนเกินไป 2. มีจิตประกอบดวยเมตตา 3. มีจิตอาจหาญในการประพฤติความด ี 4. มีความพินิจและความอดทน 5. ตัดสินใจในทางดีไดแนนอนและถูกตอง

เวสารัชชกรณะ 5 เวสารัชชกรณะ แปลวา ธรรมที่ยังความกลาหาญใหเกิดขึ้นม ี 5 ประการ คือ 1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล ประพฤติการวาจาเรยีบรอย 3. พาหุสัจจะ ความเปนผูศึกษามาก 4. วิริยารัมภะ ตั้งใจทําความพากเพียร 5. ปญญา รอบรูสิ่งที่ควรรู

Page 10: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  10  

อริยทรัพย 7 1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล ประพฤติการวาจาเรียบรอย 3. หิร ิ ความละอายตอบาปทุจริต 4. โอตัปปะ ความสะดุงกลัวตอบาปทุจริต 5. พาหุสัจจะ ความเปนคนไดยินไดฟงมามาก 6. จาคะ การใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให

7. ปญญา ความรอบรูทั้งสิ่งที่เปนประโยชนและสิ่งที่เปนไท

สัปปุริสธรรม 7 เปนหลักธรรมอันเปนของคนด ี (ผูประพฤติชอบ) มี 7 ประการ 1. ธัมมัญุตา ความเปนผูรูวาเปนเหต ุ 2. อัตถัญุตา ความเปนผูรูจักผล 3. อัตตัญุตา ความเปนผูรูจักตน 4. มัตตัญุตา ความเปนผูรูจักประมาณ 5. กาลัญุตา ความเปนผูรูจักกาลเวลาอันเหมาะสม 6. ปุริสัญุตา ความเปนผูรูจักสังคม

Page 11: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  11  

7. บุคคลโรปรัชญุตา ความเปนผูรูจักคบคน คุณธรรมของผูบริหาร 6 ผูบริหาร นอกจากจะมีคุณวุฒิในทางวิชาการตาง ๆ แลวยังจําเปนตองมีคุณธรรมอีก 6 ประการ 1. ขมา มีความอดทนเกง 2. ชาตริยะ ระวังระไว 3. อุฎฐานะ หมั่นขยัน 4. สังวิภาคะ เอื้อเฟอเผื่อแผ 5. ทยา เอ็นด ู กรุณา 6. อิกขนา หมั่นเอาใจใสตรวจตราหรือติดตาม

ยุติธรรม 5 นักบริหารหรือผูนํามักจะประสบปญหาหรือรองเรียนขอความเปนธรรมอยูเปนประจํา หลักตัดสินความเพื่อใหเกิดความ “ยุติธรรม” มี 5 ประการ คือ 1. สัจจวา แนะนําดวยความจริงใจ 2. บัณฑิตะ ฉลาดและแนะนําความจริงและความเสื่อม

Page 12: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  12  

3. อสาหะเสนะ ตัดสินดวยปญญาไมตัดสินดวยอารมณผลุนผลัน 4. เมธาว ี นึกถึงธรรม (ยุติธรรม) เปนใหญไมเห็นแกอามิสสินจาง 5. ธัมมัฎฐะ ไมริษยาอาฆาต ไมตอเวร

ธรรมเครื่องใหกาวหนา 7 นักบริหารในตําแหนงตาง ยอมหวังความเจริญกาวหนาไดรับการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น พระพุทธองคทรงตรัสธรรมเครื่องเจริญยศ (ความกาวหนา) ไว 7 ประการ คือ 1. อุฎฐานะ หมั่นขยัน 2. สติ มีความเฉลียว 3. สุจิกัมมะ การงานสะอาด 4. สัญญตะ ระวังด ี 5. นิสัมมการ ี ใครครวญพิจารณาแลวจึงธรรม 6. ธัมมชีวี เลี้ยงชีพโดยธรรม 7. อัปปมัตตะ ไมประมาท

ไตรสิกขา เพื่อเปนการสนับสนุนใหเกิดความตั้งใจดีและมีมือสะอาด นักบริหารตองประกอบตนไวใน ไตรสิกขาขอที่ตองสําเหนียก 3 ประการ คือ 1. ศีล 2. สมาธิ

Page 13: หลักธรรม ของ นักบริหาร

  13  

3. ปญญา ทั้งนี้เพราะ ศีล เปนเครื่องสนับสนุนใหกาย (มือ) สะอาด สมาธิ เปนเครื่องสนับสนุนใหใจสงบ ปญญา เปนเครื่องทําใหใจสวาง รูถูก รูผิด

พระพุทธโอวาท 3 นักบริหารที่ทํางานไดผลด ี เนื่องจากได ”ตั้งใจด”ี และ “มือสะอาด” พระพุทธองคไดวางแนวไว 3 ประการ ดังนี ้ 1. เวนจากทุจริต การประพฤติชั่ว ทางกาย วาจา ใจ 2. ประกอบสุจริต ประพฤติชอบ ทางกาย วาจา ใจ 3. ทําใจของตนใหบริสุทธิ์สะอาด ไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง การนําหลักธรรมที่ประเสริฐมาปฎิบัต ิ ยอมจักนําความเจริญ ตลอดจนความสุขกาย สบายใจ ใหบังเกิดแกผูประพฤติทั้งสิ้น สมดังพุทธสุภาษิตที่วา “ ธัมโม หเว รักขต ิ ธัมมจาริง” ธรรมะยอมคุมครองรักษาผูประพฤติธรรม