4
PAGE 1 Bio Absolute ByAj.Nunnapat ph. สาระสาคัญช ววทยา บททีบทที1 1 : : ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร สิ่งมีชีวิต มีองค์ประกอบและคุณสมบัติ ดังนี1) ................................................................................................................................................... แบ่งออกเป็น การสืบพันธุ์แบบ.............. - ใช้เซลล์สืบพันธุ์ : เกิดความแปรผันทางพันธุกรรม การสืบพันธุ์แบบ............... - ใช้เซลล์ร่างกาย : ได้ลักษณะเหมือนต้นแบบ 2) .................................................................................................................................................. กระบวนการเมตาบอลิซึม (Metabolism) : ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น ………………………………………………….. ; การสลายโมเลกุลของสารจากขนาดใหญ่ให้เล็กลง ………………………………………………….. ; การสังเคราะห์สารจากโมเลกุลขนาดเล็กให้ใหญ่ขึ้น 3) .................................................................................................................................................. การเจริญเติบโต ประกอบด้วยขั้นตอน คือ … การเพิ่มจานวนเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปทาหน้าที่เฉพาะ เกิดรูปร่างที่แน่นอน สัตว์บางชนิดมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะมีการเจริญเติบโต เรียกว่า .......................................... พืช สามารถแบ่งตามอายุขัยได้ ดังนี พืชอายุสั้น (Ephemeral Plant) เช่น ถั่วเขียว ถั่วลิสง พืชตระกูลแตง พืชอายุ 1 ปี (Annual Plant) เช่น ข้าว อ้อย สับปะรด พืชอายุ 2 ปี (Biennial Plant) ลาต้นใต้ดิน เช่น หอม กระเทียม พืชอายุมากกว่า 2 ปี (Perennial Plant) ไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น หากใช้ความสูงเป็นเกณฑ์ แบ่งเป็น พืชล้มลุก (< 120 cm.) ไม้พุ่ม (120–300 cm.) ไม้ยืนต้น (> 300 cm.) 4) ......................................................................................... พารามีเซียม : ใช้ Contractile Vacuole พืช : ใช้การคายนาออกทางปากใบบริเวณเซลล์คุม ปลาน้าจืด : รักษาเกลือแร่ แต่ ขับน้าออก ปลาน้าเค็ม : รักษาน้า แต่ ขับเกลือแร่ออก สัตว์เลือดเย็น : อุณหภูมิในร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปตาม สิ่งแวดล้อม (ปลา ครึ่งบกครึ่งน้า เลื้อยคลาน) (A) สัตว์เลือดอุ่น (B) สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น : อุณหภูมิในร่างกายคงทีไม่ เปลี่ยนแปลง ไปตามสิ่งแวดล้อม (สัตว์ปีก, เล้ยงลูกด้วยนม)

ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

PAGE 1

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph. สาระส าคัญชวีวิทยา

บทที ่บทที ่11 : : ธรรมชาตขิองสิง่มชีวีติธรรมชาตขิองสิง่มชีวีติ 1.1 สิ่งมชีวีติคอือะไร สิ่งมีชีวิต มีองค์ประกอบและคุณสมบัติ ดังน้ี

1) ................................................................................................................................................... แบ่งออกเป็น การสืบพนัธุ์แบบ.............. - ใช้เซลล์สืบพันธุ์ : เกิดความแปรผันทางพันธุกรรม การสืบพันธุแ์บบ............... - ใช้เซลล์ร่างกาย : ได้ลักษณะเหมือนต้นแบบ

2) .................................................................................................................................................. กระบวนการเมตาบอลซิมึ (Metabolism) : ปฏิกิริยาเคมท่ีีเกิดขึ้นในส่ิงมีชีวิต แบ่งเป็น

………………………………………………….. ; การสลายโมเลกุลของสารจากขนาดใหญ่ให้เล็กลง ………………………………………………….. ; การสังเคราะห์สารจากโมเลกุลขนาดเล็กให้ใหญ่ขึ้น

3) .................................................................................................................................................. การเจริญเติบโต ประกอบดว้ยขั้นตอน คือ … การเพิ่มจ านวนเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์

การเปล่ียนแปลงรูปร่างไปท าหน้าท่ีเฉพาะ เกิดรูปร่างท่ีแน่นอน สัตว์บางชนิดมีการเปล่ียนแปลงรูปร่างขณะมีการเจริญเติบโต เรียกว่า .......................................... พืช สามารถแบ่งตามอายุขยัได้ ดังน้ี

พืชอายุสั้น (Ephemeral Plant) เช่น ถั่วเขียว ถั่วลิสง พืชตระกูลแตง พืชอายุ 1 ปี (Annual Plant) เช่น ข้าว อ้อย สับปะรด พืชอายุ 2 ปี (Biennial Plant) ล าต้นใต้ดิน เช่น หอม กระเทียม พืชอายุมากกว่า 2 ปี (Perennial Plant) ไม้พุ่ม ไมย้ืนตน้

หากใช้ความสูงเป็นเกณฑ์ แบ่งเป็น พืชล้มลุก (< 120 cm.) ไม้พุ่ม (120–300 cm.) ไม้ยืนต้น (> 300 cm.)

4) ......................................................................................... พารามีเซียม : ใช้ Contractile Vacuole พืช : ใช้การคายน้ าออกทางปากใบบริเวณเซลล์คุม ปลาน้ าจืด : รักษาเกลือแร่ แต่ ขับน้ าออก ปลาน้ าเค็ม : รักษาน้ า แต่ ขับเกลือแร่ออก สัตว์เลือดเย็น : อุณหภูมิในร่างกายจะเปล่ียนแปลงไปตาม สิ่งแวดล้อม (ปลา ครึ่งบกครึ่งน้ า เลื้อยคลาน) (A) สตัวเ์ลอืดอุน่ (B) สตัวเ์ลอืดเยน็ สัตว์เลือดอุ่น : อุณหภูมิในร่างกายคงท่ี ไม่ เปล่ียนแปลง ไปตามสิ่งแวดล้อม (สัตว์ปีก, เลี้ยงลูกด้วยนม)

Page 2: ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

PAGE 2

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph. สาระส าคัญชวีวิทยา

สิ่งมีชีวิต มีองค์ประกอบและคุณสมบัติ (ต่อ) 1.2 ชวีวทิยาคอือะไร ชีววิทยา (Biology) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 ค า คือ

Bios ; ชีวิต Logos ; ความคิดและเหตุผล ดังนัน้ Biology หมายถงึ การศกึษาความคิดทีเ่กีย่วกบัสิง่มชีวีติ แขนงวชิาตา่งๆ ของชวีวทิยา แขนงวิชาหลัก สัตววิทยา (Zoology) พฤกษศาสตร์ (Botany) จุลชีววิทยา (Microbiology)

แขนงวิชาย่อย Anatomy (กายวภิาคศาสตร์) Physiology (สรีรวิทยา) Morphology (สัณฐานวิทยา) Embryology (คัพภะวิทยา) Protozoology (โปรโตซวัวิทยา) Entomology (กีฏวิทยา) Ichthyology (มีนวิทยา) Ornithology (ปักษีวิทยา) Mammalogy (เล้ียงลูกด้วยนม) Genetics (พันธุศาสตร์)

Bryophyte (พืชไม่มีท่อล าเลียง) Virology (ไวรัสวิทยา) Vascular plant (พืชมีท่อล าเลียง) Mycology (ราวิทยา) Bacteriology (แบคทีเรยีวิทยา) Phycology (สาหร่ายวิทยา) Ecology (นิเวศวิทยา) Evolution (วิวัฒนาการ) Paleaontology (บรรพชีวินวิทยา) Ethology (พฤติกรรมวิทยา) Cytology (วิทยาเซลล์) Parasitology (ปรสิตวิทยา)

6) .................................................................................................................................................. สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะตัวเป็นเอกลักษณ์ ท าให้สามารถบอกความแตกต่างได้ นักชีววิทยาใช้ลักษณะจ าเพาะของสิ่งมีชีวิตจัดจ าแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็น 5 อาณาจักร คือ Monera Protista Fungi Plantae Animalia

7) .................................................................................................................................................. Cell Tissue Organ System Body

5) .................................................................................................................................................. สัตว์ ใช้ระบบประสาท แต่ พืชใช้การตอบสนองต่อปัจจัยภายนอก เช่น แสง อุณหภูมิ ฯลฯ

Page 3: ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

PAGE 3

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph. สาระส าคัญชวีวิทยา

1.3 การศกึษาชวีวทิยา ในการศึกษาชีววิทยา ใชว้ธิกีารทางวทิยาศาสตรม์าใชใ้นการศกึษา ประกอบด้วย

; (อเล็กซานเดอร์ เฟลมม่ิง : เลี้ยงเชื้อรากับแบคทีเรยี ยาปฏิชีวนะ)

; เกิดจากการสังเกต (ไอสไตน์ : การตั้งปัญหาย่อมส าคัญกว่าการแก้ปัญหา)

; ค าตอบท้ังหมดท่ีอาจเป็นไปได้ของปัญหานั้น ต้องวัดได้ (แนะแนวทางหาค าตอบได้)

โดยการทดลอง แบ่งชุดการทดลองเป็น 2 ชุด คือ ชุดทดลอง และชุดควบคุม มีการก าหนดตวัแปร 3 ชนิด คือ ตัวแปรต้น : ต้องการศึกษา ตัวแปรตาม : ผลจากตัวแปรต้น ตัวแปรควบคุม : ถูกก าหนดให้คงท่ี ไม่ให้มีผลต่อตัวแปรตาม

หาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อน าไปสรุปผล

Page 4: ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 01 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

PAGE 4

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph. สาระส าคัญชวีวิทยา

ความรูท้างวทิยาศาสตร์ ได้จากการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย

: สิ่งท่ีได้จากการสังเกต (ทุกคนสังเกตเห็นเหมือนกัน)

: ข้อเท็จจริงท่ีได้จากการทดลอง (วัดได้)

: สิ่งท่ีประมวลผลได้จากข้อมูลการทดลอง

: สมมติฐานท่ีตรวจสอบแล้วเป็นจริงเสมอ (หักล้างได้)

: ความจริงหลัก แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล มีทฤษฎีประกอบ ซึ่งอธิบายปรากฏการณต์่างๆ