9

เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
Page 2: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

1. พิจารณาความต้องการผู้ใช้เป็นหลัก (เป็นใคร สนใจสาขาใด)

2. วัตถุประสงค์การจัดท า

2.1 เป็น Reference Resources หรือไม่

2.2 ลักษณะเนื้อหาสาระที่รวบรวม (เรื่องใดเรื่องหนึ่ง, ครอบคลุมทุกเรื่อง) เช่น สารานุกรมปรัชญา = รวมเรื่องเฉพาะด้านอย่างครบถ้วน ละเอียด ลึกซึ้ง

Encyclopedia Americana = รวมทุกเรื่อง ให้รายละเอียดอย่างกว้าง ๆ

2.3 กลุ่มผู้อ่าน (เด็ก ผู้ใหญ่ นักวิชาการ ฯลฯ) ถ้าตรงกับกลุ่มผู้ใช้เรา ---------> ส ารวจการใช้ภาษา &

การน าเสนอเนื้อหา เหมาะสม.

Page 3: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

3. ขอบเขตเนื้อหา3.1 เป็น Reference Resources ประเภทใด

(ให้สารสนเทศโดยตรง, ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ )

รู้แล้ว -----> ตรวจสอบสิ่งที่ควรมีใน Reference Resources ประเภทนั้น ๆ1) ให้สารสนเทศโดยตรง ดูว่า เน้ือหาครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน ลึกซึง้2) ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ ดูว่า รวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด ให้ข้อมูลทาง-

บรรณานุกรมครบถ้วน +Abstract +Full text

3.2 เนื้อหาสาระมีคุณค่า

3.3 ครอบคลุมสารสนเทศช่วงปีใด

3.4 สารสนเทศทันสมัย มีการUpdateข้อมูลสม่ าเสมอ

3.5 เสนอเนื้อหาเป็นแบบแผนเดียวกัน

Page 4: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

4. ความน่าเชื่อถือ

4.1 ผู้จัดท า (ผู้แต่ง/ผู้รวบรวม/บรรณาธิการ) --> คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ

4.2 ส านักพิมพ์ ---> ความมีชื่อเสียง เช่น ดรรชนีและสาระสังเขป H W Wilson

4.3 แหล่งความรู้ที่ใช้อ้างอิง (บรรณานุกรม) ทันสมยั ปฐมภูมิ

4.4 ความเป็นกลางในการน าเสนอสารสนเทศ (ลัทธคิวามเชื่อ ศาสนา สีผิว เชื้อชาติ )

Page 5: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

5. ความสะดวก รวดเร็วในการค้นหา

5.1 หนังสืออ้างอิง ดูที่

- การจัดเรียงเนื้อหา

- เครื่องมือช่วยค้นเนื้อหาภายในเล่ม (เช่น ดรรชนี, ส่วนโยง, ค าน าทาง)

5.2 ฐานข้อมูล ดูที ่ “วิธีการสืบค้น” และ “เทคนิคการค้นคืน”- ค้นจาก Keyword หัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง เลขหมู่หนังสือ ISBN ...

- การใช้ตรรกบูล (Boolean Logic) - การใช้ Truncation (การตัดค า)- การหยุดสืบค้นกลางคัน

- การพิมพ์ผลการสืบค้น (ย่อ เต็ม) ฯลฯ

Page 6: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

6. ราคา เหมาะสมกับคุณภาพ ราคาแพงแต่ใช้เยอะ OK

7. ลักษณะพิเศษอื่น ๆ (ให้สารสนเทศที่ไม่มีในชื่อเรื่องอื่น, ค้นข้อมูลง่ายกว่า)

Page 7: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

กรณีเป็นฐานข้อมูล หรือสื่ออิเล็กทรอนิกสมี์เกณฑ์เพิ่มเติม ดังนี้

1. มีเรื่อง Hardware/ Software เข้ามามีส่วนช่วยตัดสินใจ

- ความสามารถเข้ากับ/ ใช้ได้กับ IT เดิม

- ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมด้าน Hardware/ Software - มีระบบการจัดการเพื่อการค้นคืนสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

2. เทคนิคพิเศษในการค้นหาสารสนเทศ เช่น คลังค า (Index) ค้นระบุ Fields …

3. การได้รับอนุญาตเกี่ยวกับลิขสิทธิ์

- หนังสือ คุ้มครองโดยอัตโนมัติตามพรบ.ลิขสิทธิ์

- ฐานข้อมูล จะมีเรื่อง License เข้ามาเกี่ยวข้อง (สิทธิในการใช้ ท าส าเนาซอฟต์แวร์ และท าส าเนาข้อมูล)

Page 8: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

4. ค่าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ จะแตกต่างไปแต่ละฐาน (อัตราค่าใช้ฐาน ค่าค าสั่งพิมพ์ ค่าใช้สารสนเทศบนจอภาพ ฯลฯ)

5. บรกิารจากส านักพิมพ/์ ผู้จัดจ าหน่ายฐานข้อมูล จะแตกต่างไปแต่ละฐาน

- บริการ Hotline

- การคิดค่าบริการในอัตราพิเศษ (ลดราคา)

- บริการจัดส่งเอกสาร

- คู่มือการใช้ฐาน (ม?ี ปรับปรุง?)

- บริการจัดฝึกอบรมการใช้ฐาน

- บริการ Newsletter เพื่อ? ส่งแบบใด?

ฯลฯ

Page 9: เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources

6. ถ้าเป็นซีดีรอม เลือกที่มีปริมาณสารสนเทศเต็มแผ่น & ใช ้CD-Networking

7. ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และเก็บข้อมลูในปริมาณมากกว่าสื่อสิ่งพิมพ์

8. เป็น Multimedia น่าสนใจกว่าสื่อสิ่งพิมพ์