7
1 (การศึกษาดูงานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์ “ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย” Thai PBS เริ่มเปิดบริการในสื่อสังคมออนไลน์ตั้งแต่ปี 2552 สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส แม้ว่าจะถือเป็นช่องทาง หลักในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แต่ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) ที่มีจานวนสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็เป็นสื่อ ใหม่ที่ ส.ส.ท. ให้ความสาคัญไม่แพ้กัน สื่อสังคมออนไลน์ ทั้ง Twitter, Facebook, Instagram และ Youtube ของ ส.ส.ท. ซึ่งนอกจากจะใช้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รายการต่างๆ โดยเฉพาะประเด็นข่าวสาคัญในรอบวัน หรือ สถานการณ์ด่วนแล้ว ยังเป็นเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนความเห็นเปิดรับ ข้อเสนอแนะ ตอบข้อซักถาม ให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วมพัฒนาปรับปรุง รายการทางไทยพีบีเอสอีกทางหนึ่งด้วย Thai PBS สื่อ นโยบายความเป็น สังคมออนไลน์ สังคมออนไลน์ “เปลี่ยนการรับข่าวสาร จากสื่อหลักเพียงอย่าง เดียว ไปเป็นการ แลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งความ คิดเห็น จากทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับสาร เป็นการ สื่อสารสองทาง และใช้เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง จากแหล่งข่าวหลายๆ แห่ง ได้ในเวลาเดียวกันใช้สื่อสังคมออนไลน์ เข้าถึงคนรุ่นใหม่ Thai PBS

การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

1

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

Thai PBS เริ่มเปิดบริการในสื่อสังคมออนไลน์ตั้งแต่ปี 2552

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส แม้ว่าจะถือเป็นช่องทาง

หลักในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร แต่ “เครือข่ายสังคมออนไลน์” (Social Network) ที่มีจ านวนสมาชิกเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ก็เป็นสื่อใหม่ที่ ส.ส.ท. ให้ความส าคัญไม่แพ้กัน

สื่อสังคมออนไลน์ ทั้ง Twitter, Facebook, Instagram และ Youtube ของ ส.ส.ท. ซึ่งนอกจากจะใช้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รายการต่างๆ โดยเฉพาะประเด็นข่าวส าคัญในรอบวัน หรือสถานการณ์ด่วนแล้ว ยังเป็นเป็นพ้ืนที่แลกเปลี่ยนความเห็นเปิดรับข้อเสนอแนะ ตอบข้อซักถาม ให้ผู้ชมได้มีส่วนร่วมพัฒนาปรับปรุงรายการทางไทยพีบีเอสอีกทางหนึ่งด้วย

Thai PBS

สื่อ นโยบายความเป็น สังคมออนไลน์ สังคมออนไลน์

“เปลี่ยนการรับข่าวสารจากสื่ อหลัก เ พียงอย่ างเ ดี ย ว ไ ป เ ป็ น ก า รแ ล ก เ ป ลี่ ย น ทั้ ง ข้ อ มู ลข่ า วส าร ร วมทั้ ง ค ว ามคิดเห็น จากทั้งผู้ส่ งสารและผู้ รั บสาร เป็ นการสื่อสารสองทาง และใช้เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องจากแหล่งข่าวหลายๆ แห่งได้ในเวลาเดียวกัน”

ใชส้ื่อสังคมออนไลน์ เข้าถึงคนรุ่นใหม่

Thai PBS

Page 2: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

2

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

ช่ ว ง วิ ก ฤ ต ท า ง

การเมือง และภัยพิบัติน้ าท่วมปี 2553 คือบททดสอบครั้งส าคัญ ที่ ส.ส.ท. ได้ใช้ช่องทางสื่อใหม ่เป็นเครื่องมือท าให้เกิดการติ ดต่อสื่ อสารระหว่ า งหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน ประสานงานผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ทั้ง Twitter, Facebook และYoutube เชื่อมต่อกับงานหน้าจอไทยพีบีเอส และงานหลังจอภาคประชาสังคมในเครือข่ายจนกระทั่งผู้ เดือดร้อนได้รับความช่วยเหลือ และปัญหาต่างๆได้รับการแก้ไขจนลุล่วงการตอบรับของผู้ชมที่เลือกรับข้อมูลจากช่องทางนี้ เติบโตอย่างรวดเร็ว และได้รับการบอกต่อจนมีสถิติการเพ่ิมขึ้นของเพ่ือน (Friends), แฟน (Fans), ผู้ติดตาม (Followers) และสมาชิก (Subscribers)

วิทยอุอนไลน ์

http://www.thaipbsonline.net/

Thai PBS

“บททดสอบครั้งส าคัญของหน้าที่สื่อสังคมออนไลน์”

Thai PBS

Page 3: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

3

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

ไม่ว่าจะเป็นสื่อสังคมออนไลน์แบบใด สิ่งส าคัญคือ ข่าวสารจาก ส.ส.ท. ในทุกช่องทางต้องผ่านการ

กลั่นกรอง และเชื่อถือได้ รวมถึงต้องมีการสื่อสารกลับไปยังผู้ชมให้ได้รับทราบด้วย ผลจากการท างานด้วยความรวดเร็วและถูกต้อง ท าให้ได้รับเสียงตอบรับที่ดี สื่อออนไลน์ของ ส.ส.ท. ได้รับคัดเลือกให้เป็น “ส านักข่าวดีเด่น” ในงาน Best Journalist in Social Media: Thailand Crisis. April-May, 2010

ในปี 2554 องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งประเทศไทยย้ายที่ท าการไปยังส านักงานถาวร ฝ่ายนิวมีเดียมีแผนงานที่จะน าเทคโนโลยีอันทันสมัย เพื่อรองรับและตอบสนองความต้องการของการเป็นศูนย์กลางการสื่อสารของภาคประชาชนและภาคประชาสังคม และสนับสนุนงานสืบค้นข้อมูล ข่าวสารของผู้ชมด้วยเช่นกัน

“ให้ความมั่นใจ ข่าวทุกช่องทางให้ความเชื่อถือได้”

Page 4: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

4

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

ใช้สื่ออินเตอร์เน็ตเข้าถึงประชาชน

2. เป้าหมายและด าเนินการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย

การเพ่ิมขึ้นของจ านวนผู้ชมถือเป็นเป้าหมายหลักขององค์กร จากการพยายามรุกหนักด้านสื่อสังคม

ออนไลน์ของ Thai PBS ผลผลิตที่ได้คือ “ตัวรายการ” ที่มีเป้าหมายเพ่ิมคนดู 5% รายการเนื้อหาดีมีประโยชน์

สามารถน าความรู้จากผลผลิตไปใช้ประโยชน์ต่อได้ กลุ่มคนดูหลักส่วนใหญ่จะเป็น เด็กและผู้ใหญ่ 40+ จึงมี

การเปิดตลาดไปที่วัยรุ่นและรากหญ้ามากขึ้น เช่นรายการเกษตร

กลยุทธ์การเข้าถึงสื่อออนไลน์ของ Thai PBS

สื่อสารภายใน

1. การจัด meeting ในกลุ่มพนักงาน และ พนักงานกับผู้บริหาร

2. เปิดให้พนักงานได้ชม Preview รายการใหม่-ละคร-ซีรีย์ต่างประเทศ-สารคดี

3. ปรับวิธีการประกาศนโยบายต่างๆที่เป็นเรื่องไกลตัวเกินความสนใจของพนักงาน ด้วยการ

เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ตรับรู้ภายในองค์กรและการแปะประกาศตามบอร์ด

ส่ือสารภายนอก 1. การเข้าถึงผู้รับสื่อออนไลน์ เช่นการเผยแพร่รายการย้อนหลังผ่านทาง youtube และการ

ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ 2. สร้างบุคลากรของ Thai PBS ให้เป็นตัวแทนในการสื่อสารเรื่องราวต่างๆขององค์กร 3. ใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ส่วนตัวของพนักงานในการกระจ่ายข่าวองค์กรไปยังเครือข่าย

ของพนักงานที่อยู่ภายนอกองค์กร 4. เชื่อมร้อยบริการออนไลน์กับสื่อหลักของ Thai PBS 5. การกระตุ้นให้ผู้ชมมีส่วนร่วมกับสถานี เช่นการเปิดรับ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น และ

กิจกรรมต่างๆขององค์กรผ่านสื่อสังคมออนไลน์

Page 5: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

5

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

3. การแก้ไขปัญหาขององค์กรในภาวะวิกฤต

จากเหตุการณ์ล่าสุดที่เพ่ิงประสบในวันศึกษาดูงานได้ประสบกับม็อบต่อต้านรัฐบาลที่มาชุมนุม

ส านักงานต ารวจแห่งชาติซ่ึงรั้วติดกันกับส านักงาน Thai PBS

ในขั้นต้น จะมีการปิดรับบุกคนภายนอก เปิดห้องประชุมด่วนประกอบไปด้วย ผู้บริหารฝ่ายต่างๆและ

ฝ่ายสื่อสาร

การสื่อสารภายในองค์ ฝ่ายสื่อสารจะน าสารการประชุมแจ้งให้พนักงานทราบ HR มีหน้าที่แจกแจง

รายละเอียดการปฏิบัติให้กับพนักงาน โดยใช้วิธีการแจ้งข่าวด่วนส่งไปในระบบอินทราเน็ต, การกระจายเสียง

ตามสายและการส่ง SMS เพ่ือแจ้งให้พนักงานทุกคนภายในองค์กรทราบ

การสื่อสารภายนอกองค์กร หน้าที่เจรจาไกล่เกลี่ยจะเป็นหน้าที่ของผู้บริหารของแต่ละฝ่ายที่

รับผิดชอบในเรื่องนั้นๆ

ในกรณีที่มีการบุกร้องเรียนรายการต่างๆของสถานี ฝ่ายสื่อสารองค์กรจะไม่มีหน้าที่ในการเจรจา

ดังกล่าว โดยหน้าที่รับผิดชอบจะเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่รับผิดชอบในงานนั้น

Page 6: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

6

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

ภาพบรรยากาศการเข้าชมภายในพิพิธพันธ์ Thai PBS

Page 7: การสื่อสารอง์กร Thai pbs จากการศึกษาดูงาน

7

(การศกึษาดงูานภายในประเทศ) Thai PBS| โดยพิมพ์นรี ถิระธรรมสรณ์

“ความท้าทายและการปรับตัวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย”

เข้าฟังการบรรยายจากเจ้าหน้าสื่อสารองค์กร Thai PBS