26

1 intro

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1 intro
Page 2: 1 intro

ปัจจุบนัเทคโนโลย ีและการสื่อสารไดเ้จริญกา้วหนา้อยา่ง

รวดเร็ว

เทคโนโลยเีหล่านี้ไดก้ลายเป็นส่วนหนึ่งของ

ชีวติประจาํวนัของมนุษย์

ส่งผลใหม้ีการนาํมาใชก้นัอยา่งแพร่หลายในทุกสาขา

Presenter
Presentation Notes
ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์อุปกรณ์สื่อสารและคอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ได้มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กรทั้งภาครัฐ และธุรกิจ แม้กระทั่งวงการการศึกษา เช่น ระบบเกรด ระบบ ERP ของมหาวิทยาลัย ซึ่งในอดีต ข้อมูลจะถูกจัดเก็บในรูปแบบของเอกสาร กระดาษ ทำให้สิ้นเปลืองทั้งทรัพยากร และสถานที่ ๆ ใช้ในการจัดเก็บ ไม่เพียงแต่ในองค์กรต่างๆ เท่านั้นที่นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ตามบ้านทุกคนก็มีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งสามารถใช้งานได้ง่ายกว่าในอดีตมาก จนคอมพิวเตอร์กลายเป็นส่วนหนึ่งของทุกคน ทุก ครัวเรือนเหมือนกับเครื่องรับโทรทัศน์ ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว การเรียนรู้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้น จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในการทำงาน, การศึกษาหรือเพื่อความบันเทิง ให้มีประสิทธิภาพและความสะดวกเพิ่มมากขึ้น
Page 3: 1 intro

อุปกรณ์ที่ทาํมาจากชิ้นส่วนอิเลก็ทรอนิกส์

รับ-ส่ง และประมวลผลขอ้มูลได้

Presenter
Presentation Notes
คอมพิวเตอร์ คือ “อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ สามารถรับข้อมูลและชุดคำสั่งในรูปแบบที่เครื่องรับได้ แล้วนำมาประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเพื่อแก้ปัญหา หรือทำการคำนวณที่ สลับซับซ้อนจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ และยังสามารถบันทึก หรือแสดงผลลัพธ์เหล่านั้นได้”
Page 4: 1 intro

Super Computer

Mainframe Computer

Mini Computer

Personal Computer

Notebook Computer

Personal Digital Assistant : PDA

Presenter
Presentation Notes
คอมพิวเตอร์ระดับยิ่งใหญ่ หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ตอนนี้จีนที่ 1 Tianhe-1A - ใช้ GPU จาก nvidia และ cpu xeon 6 core จาก intel เมกาที่ 2 Jaquar – ใช้ CPU จาก AMD คอมพิวเตอร์ระดับใหญ่ หรือเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) คอมพิวเตอร์ระดับเล็ก หรือมินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เช่น AS400 ภาษา RPG จอเขียว คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซี (PC : Personal Computer) คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก หรือโน็ตบุค (Notebook Computer) คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เลขาส่วนตัว หรือพีดีเอ (PDA : Personal Digital Assistant)
Page 5: 1 intro

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

ซอฟตแ์วร์ (Software)

บุคลากร (Peopleware)

ขอ้มลู (Data)

กระบวนการทาํงาน (Procedure)

Page 6: 1 intro

หน่วยรับขอ้มูล (Input)

หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit)

หน่วยเกบ็ขอ้มลู (Storage)

หน่วยแสดงผล (Output)

Presenter
Presentation Notes
หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) หน่วยเก็บข้อมูล (Storage) หน่วยเก็บข้อมูลหรือความจำหลัก (Primary Storage หรือ Main Memory) - แรม หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) - HDD , Flash drive , Ext. หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต (Output Unit)
Page 7: 1 intro
Page 8: 1 intro
Page 9: 1 intro

ประกอบดว้ยส่วนประกอบ 4 ส่วน ดงันี้

ส่วนควบคุม (Control unit) : ทาํหนา้ที่ควบคุมการทาํงาน

ของ CPU

ส่วนเอแอลย ู(ALU : Arithmetic and Logic unit) : ทาํหนา้ที่

ประมวลผลคาํสัง่คณิตศาสตร์ และคาํสัง่ทางตรรกะ

Page 10: 1 intro

รีจิสเตอร์ (Registers) : เป็นหน่วยบนัทึกขอ้มูลภายในตวั

CPU

ส่วนเชื่อมต่อภายใน CPU (CPU interconnection) : กลไกที่

ช่วยใหส้่วนประกอบทั้งสามส่วน สามารถสื่อสารระหวา่ง

กนัได้

Page 11: 1 intro

Computer

Main Memory

InputOutput

SystemsInterconnection

Peripherals

Communicationlines

CentralProcessing

Unit

Computer

Page 12: 1 intro

Computer Arithmeticand Login Unit

ControlUnit

Internal CPUInterconnection

Registers

CPU

I/O

Memory

SystemBus

CPU

Page 13: 1 intro

CPU

ControlMemory

Control Unit Registers and Decoders

SequencingLogin

ControlUnit

ALU

Registers

InternalBus

Control Unit

Page 14: 1 intro
Presenter
Presentation Notes
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) - ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่ การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐาน ต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (OS : Operating System) โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) Utility Program คือ โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ในการอำนวย ความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการเรียงลำดับข้อมูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึ่งไปยังอักชนิดหนึ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงานเฉพาะอย่าง หรือเฉพาะด้าน - ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไปหรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป - ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
Page 15: 1 intro

Manager

System Analysis and Design

Database Admin (DBA)

Programmer

Operator

User

Presenter
Presentation Notes
ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบ (System Analysis and Design) โปรแกรมเมอร์ (Programming) ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) ผู้ปฏิบัติการ (Operator) ผู้ใช้ (User) ผู้บริหาร (Manager)
Page 16: 1 intro

ทาํงานดว้ยระบบอิเลก็ทรอนิกส์

การทาํงานดว้ยความเร็วสูง

ความถกูตอ้งแม่นยาํเชื่อถือได้

การเกบ็ขอ้มูลไดใ้นปริมาณมาก

การสื่อสารเชื่อมโยงขอ้มูล

Presenter
Presentation Notes
1.คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการบันทึกข้อมูล ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ ซึ่งมีการจัดเก็บข้อมูลที่บันทึกผ่านทางแป้นพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่นๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกแปลงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถประมวลผลได้ เมื่อคอมพิวเตอร์ประมวลผลเรียบร้อยแล้ว ข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้าจะถูกแปลงกลับให้เป็นรูปแบบที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ 2. เนื่องจากการทำงานของคอมพิวเตอร์เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นการดำเนินงานต่างๆ จึงสามารถกระทำได้อย่างรวดเร็ว (มากกว่าพันล้านคำสั่งในหนึ่งวินาที) 3. คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งที่มนุษย์เขียนโปรแกรมหรือคำสั่งไว้ ถ้าผู้ใช้ป้อนข้อมูลและชุดคำสั่งมีความถูกต้อง ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก็จะมีความถูกต้องเชื่อถือได้ 4. คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่บันทึกเข้าไป ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลนี้จะขึ้นอยู่กับขนาดของคอมพิวเตอร์ 5. คอมพิวเตอร์จะสามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้
Page 17: 1 intro

ประกอบดว้ยส่วนสาํคญั 2 ส่วน คือ

◦สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)

◦ออร์แกนไนเซชัน่ (Organization)

ตวัอยา่งความสมัพนัธ์

◦ เช่น การเขียนโปรแกรมแม่สูตรคูณ

Presenter
Presentation Notes
สถาปัตยกรรม หมายถึง คุณสมบัติต่าง ๆ ของ ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถมองเห็นได้ ซึ่งจะเป็นส่วนที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการประมวลผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างสถาปัตยกรรม : ชุดคำสั่ง, จำนวนบิตข้อมูลที่ใช้ในการสื่อความหมายข้อมูลชนิดต่าง ๆ เช่น เลขจำนวนเต็ม หรือตัวอักษร กลไกสำหรับอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผลข้อมูล และเทคนิคที่ใช้ในการกำหนดที่อยู่ในหน่วยความจำ ออแกนไนเซชั่น หมายถึง ส่วนประกอบแต่ละส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการเชื่อมต่อเข้ากับ ส่วนประกอบส่วนอื่น ๆ ซึ่งจะเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยจะต้องคำนึงถึงข้อกำหนดทางสถาปัตยกรรม ของคอมฯ เครื่องนั้น ตัวอย่าง ออแกนไนเซชั่น : สัญญาณควบคุมการทำงาน ช่องติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ เทคโนโลยีที่ใช้ในการสร้างหน่วยความจำ การที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีคำสั่งสำหรับการคูณ หรือไม่นั้นเป็นการตัดสินใจทางด้านสถาปัตยกรรม ส่วนการตัดสินใจทางด้านออแกนไนเซชั่น จะเกี่ยวกับการสร้าง HW สำหรับการคูณขึ้นมาโดยตรง หรือว่าจะใช้ การแปลคำสั่งการคูณเป็นคำสั่งทำซ้ำ วนรอบ บวกหลาย ๆ รอบ โดยที่ไม่ต้องทำการสร้าง HW ใหม่ขึ้นมา
Page 18: 1 intro

IBM System/370 ถกูนาํเสนอขึ้นครั้งแรก ปี พ.ศ.2513

ออร์กาไนเซชนัในแต่ละรุ่นไดเ้ปลี่ยนไป ในขณะที่

สถาปัตยกรรมยงัคงเดิม ผลกค็ือสถาปัตยกรรมของ IBM

System/370 ยงัคงใชอ้ยูใ่นเครื่องเมนเฟรมของบริษทั

ไอบีเอม็ในปัจจุบนั

Presenter
Presentation Notes
ในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ความแตกต่างระหว่างสถาปัตยกรรม และออร์กาไนเซชั่นนั้น มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง บริษัทผู้ผลิต คอมพิวเตอร์จำนวนมากผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ออกมากชุดหนึ่ง ซึ่งมีสถาปัตยกรรมเหมือนกันทั้งหมด แต่จะมีออร์แกนไนเซชั่นที่แตกต่างกัน ทำให้คอมพิวเตอร์ชุดนี้มีความแตกต่างกันทางด้านราคา และประสิทธิภาพ ซึ่งในบางรุ่นมีความทันสมัย สามารถรองรับเทคโนโลยีได้หลาย ๆ ปี แต่ ออแกนไนเซชั่น อาจจะเปลี่ยนแปลงไปบ้าง ตัวอย่างที่เห็นได้คือ IBM 370 IBM System 370 มีการผลิตออกมาใช้งานหลายรุ่น ตั้งแต่ราคาต่ำไปจนถึง ราคาสูง ซึ่งรุ่นที่ราคาต่ำอาจจะค่อนข้างช้า แต่ในรุ่นที่ราคาสูงจะทำงานเร็ว โดยที่ IBM ยังคงใช้ Software เดิมไม่ต้องลงทุนพัฒนาเพิ่ม ซึ่งสถาปัตยกรรมของ IBM System 370 ยังคงมีใช้งานในเครื่อง Mainframe ของบริษัท IBM ในปัจจุบัน
Page 19: 1 intro

เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นระบบที่มีความซบัซอ้นมา ดงันั้น

จึงมีส่วนที่รับผดิชอบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ

◦โครงสร้าง◦หนา้ที่

Presenter
Presentation Notes
โครงสร้าง วิธีการที่อุปกรณ์ต่าง ๆ เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน หน้าที่ การทำงานของส่วนประกอบแต่ละส่วนในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง
Page 20: 1 intro

การประมวลผลขอ้มลู (Data processing facility)

ส่วนเกบ็บนัทึกขอ้มลู (Data storage facility)

ส่วนการเคลื่อนยา้ยขอ้มลู (Data movement apparatus)

ส่วนการควบคุม (Control mechanism)

Page 21: 1 intro
Page 22: 1 intro
Presenter
Presentation Notes
รูปแสดงการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายข้อมูล จากอุปกรณ์ตัวหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง หรือสายสื่อสารเส้นอื่น ๆ (แลน, HDD)
Page 23: 1 intro
Presenter
Presentation Notes
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ซึ่งข้อมูล ถูกนำเข้า มาจากอุปกรณ์ภายนอก หรืออ่านข้อมูล (การดึงข้อมูลไปแสดงผล) หรือการส่งข้อมูลออกไปเก็บไว้ที่อุปกรณ์ภายนอกก็ได้
Page 24: 1 intro
Presenter
Presentation Notes
การนำข้อมูลไปประมวลผล แล้วส่งผลลัพธ์ มาจัดเก็บที่ Storage
Page 25: 1 intro
Presenter
Presentation Notes
การเปลี่ยนเส้นทางการเคลื่อนย้ายข้อมูล ระหว่างอุปกรณ์บันทึกข้อมูลกับอุปกรณ์ภายนอก
Page 26: 1 intro

เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นหวัใจของการคาํนวณ

ผูท้ี่เรียนสายคอมพิวเตอร์ ควรที่จะมีความเขา้ใจใน

สถาปัตยกรรมและออร์แกนไนเซชัน่

◦การวางโครงสร้างของโปรแกรมใหป้ระมวลผลไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ

◦การเลือกซื้อ/ใชเ้ครื่องคอมพิวเตอร์ ไดอ้ยา่งเหมาะสม

Presenter
Presentation Notes
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นหัวใจของการคำนวณ หากไม่มีคอมพิวเตอร์แล้ว วิชาที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ก็จะกลายเป็นเพียงทฤษฎี ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งในปัจจุบันที่แขนงวิชาที่ล้วนมีการคำนวณ จะเป็นจะต้องพึ่งพาคอมพิวเตอร์ ในการช่วยคำนวณทั้งสิ้น ซึ่งหากเรียนทางด้านสายคอมพิวเตอร์แล้ว เราควรที่จะมีความเข้าใจสถาปัตยกรรม และออแกนไนเซชั่น เพื่อที่จะสามารถวางโครงสร้างของโปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมให้สามารถ ประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ หากเรามีความเข้าใจในสถาปัตยกรรมและออแกนไน รู้ถึงข้อดี และข้อเสียขององค์ประกอบต่าง ๆ ความเร็วของซีพียู และขนาดของหน่วยความจำ ก็จะช่วยให้ตัดสินใจเลือกใช้ได้ถูกต้อง