91
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ ทางการเคลื่อนไหว โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

  • Upload
    ss

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019

Page 2: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ความเปนมาของโครงการ

ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแตศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีและสวนมากจะเปนผูใหญมากกวาและอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวกของเด็กก็มีไมเพียงพอตอความตองการของเด็กและศูนยฟนฟูก็ยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่มากขึ้นทุกปในทั้งนี้จึงเห็นวาควรทําศูนยฟนฟูต้ังแตยังเด็กเพราะเด็กยังสามารถมีพัฒนาการไดอีกแตถาเปนผูใหญแลวจะทําใหการรักษาบําบัดทําเปนไปไดยาก

พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมีประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมในแตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่งทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-5 แสนคน แตทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด

Page 3: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

วัตถุประสงคของโครงการ

1.เพ่ือรักษาและบําบัดฟนฟูความพิการทางรางกายของเด็กตั้งแตอายุ 3-6 ป

2.ใหบริการเปนศูนยกลางในการรักษาเด็กพิการทางการเคล่ือนไหว

3. เปนสถานฟนฟูที่ใหบรรยากาศเด็กรูสึกเหมือนอยูบาน

4.ใหบริการเฉพาะในกรุงเทพและปริมณฑล

5.เปนสถานที่เด็กไปกลับได

Page 4: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

วัตถุประสงคของการศึกษา1.เพ่ือศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพ่ือตอบสนองตอความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพ่ือนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูใช

2.เพ่ือศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว ในปจจุบันเพ่ือเปนแนวทางการจัดต้ังโครงการ

3.เพ่ือศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพ่ือใหเกิดบรรยายการที่ดีในการฟนฟู

Page 5: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ขอบเขตการศึกษา

1.ศึกษาขอมูลพ้ืนฐานทั้งหมดที่เก่ียวของกับการวิเคราะหการออกแบบ1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพ่ือนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ต้ัง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพ้ืนที่เพ่ือในมาประกอบในการออกแบบ1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ

เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวต้ังแตอายุ 3-6 ขวบ

Page 6: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

2.ศึกษาระบบตางๆที่ใชภายในอาคาร2.1ศึกษาระบบการสัญจร2.2 ศึกษาระบบการระบายน้ํา2.3 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ

3.ศึกษางานวางผังบริเวณโดยรอบ3.1 สวนบริหารและอํานวยการ3.2 สวนบําบัดฟนฟู3.3สวนนันทนาการ3.4สวนบริการและซอมบํารุง3.5สวนลานจอดรถ

Page 7: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

4.ศึกษาการออกแบบและรายละเอียดตางๆ4.1 ออกแบบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา 4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ

Page 8: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ข้ันตอนและวิธีดําเนินการศึกษาแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ

งานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล

1.ศึกษาขอมูลของโครงการ

1.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ2.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม3.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว5.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ

Page 9: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ

1.2.1ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ

1.3 ศึกษาที่ต้ังของโครงการ

1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม1.3.2 ที่ต้ังโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของพ้ืนที ่ฯลฯ1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ

ใชที่ดินพืชพันธในทองถิ่น ทัศนียภาพ

Page 10: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพ่ือนําขอมูลมาใชในการออกแบบ1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ1.4.4 โครงสรางการบริหาร

1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน

Page 11: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

แนวทางการจัดกิจกรรมในเด็กกลุมบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพชนิดตาง ๆ1.เด็กสมองพิการแบบแข็งเกร็งในการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กในกลุมนี้ส่ิงที่จะตองดูแล คือ•การจัดทาทางที่เหมาะสม•การนั่งบนเกาอ้ีจะตองจัดใหเด็กนั่งตัวตรง เทาทั้งสองขางวางราบกับพ้ืน มีสายรัดตัวเพ่ือปองกันการตก มีโตะวางดานหนาเพ่ือรองรับแขนทั้งสองขาง•การเลนไมควรใหอยูในทาใดทาหนึ่งนานเกิน 20 นาที•การนั่งกับพ้ืนไมควรใหเด็กนั่งในทากบ หรือ W sitting เพราะจะสงเสริมใหเด็กเกิดความพิการผิดรูป ควรแนะนําใหเด็กนั่งขัดสมาธ ินั่งพับเพียบ หรือนั่งเหยียดขา กิจกรรมที่ใหควรสงเสริมการเคลื่อนไหวของมุมขอตาง ๆ ใหกวางขึ้น เชน วางตําแหนงของกิจกรรมใหสูงขึ้น หรือวางใหหางจากลําตัวมากขึ้น เพ่ือใหเด็กพัฒนาความสามารถในการเคลื่อนไหวในทุกทิศทางของเลนหรือวัตถุตาง ๆ ที่ใชในการเลนควรมีขนาดใหพอเหมาะกับมือใหเด็กสามารถกําและปลอยไดงาย ของเลนขนาดเล็กเกินไปเด็กจะตองใชความพยายามในการหยิบจับเนื่องจากเด็กมีการเกร็งกลามเนื้อ สวนของเลนที่ใหญเกินไปทําใหเด็กหยิบจับไดไมมั่นคง

Page 12: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

2. เด็กสมองพิการแบบสั่นหรือไมสามารถควบคุมแขนและมือไดเด็กในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของกลามเนื้อไปมาทําใหบางคร้ังเด็กไมสามารถที่จะควบคุมการทํางานของแขนและมือใหอยูนิ่งได ดังนั้นแนวทางในการในชวยเหลือ คือ• การจัดทาทางใหเหมาะสมดังที่กลาวในขางตน• จัดวางตําแหนงของกิจกรรมใหอยูในแนวกึ่งกลางและดานของลําตัว เนื่องจากเด็กในกลุมนี้การ

เคลื่อนไหวของแขนและมือจะเปะปะไปทั่ว• ใชของเลนที่มีน้ําหนัก• ใชถุงทรายหรือถุงน้ําหนักถวงบริเวณขอมือเพ่ือลดการสั่นและใหเด็กสามารถควบคุมแขนและมือ

ไดดีขึ้น• เนนใหเด็กนําวัตถุไปยังเปาหมายตาง ๆ ใหแมนยํา

Page 13: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

3. เด็กอัมพาตคร่ึงซีกภายหลังจากการที่เสียหนาที่ของสมองซีกใดซีกหนึ่งแลวจะสงผลใหการทํางานของรางกายดานตรงขามสูญเสียการหนาที่ไปจึงทําใหเกิดการเสียสมดุลของรางกาย ขาดความสามารถในการใชมือ การเดินลดนอยลง ดังนั้น จึงมีวิธีการชวยเหลือเด็กในกลุมนี้ คือ•การจัดทานั่งใหเหมาะสม คือ จัดใหเด็กนั่งพับเพียบมาดานของแขนขางที่เปน (Effected side) โดยการจัดใหมีการเหยียดแขน เหยียดศอก กระดกขอมือ นิ้วมือกางและวางราบกับพ้ืน และกระตุนใหมีการลงน้ําหนักมาทางแขนดานที่เสีย ดังรูป•จัดใหเด็กนั่งบนโตะ เกาอ้ีควรมีความสูงพอเหมาะกับเด็ก มือทั้งสองขางวาวบนโตะ กระตุนใหเด็กใชทั้งสองมือในการทํากิจกรรม ถาเด็กใชมือขางเดียวจะตองจัดทาของแขนขางที่เปนใหคลายตัวโดยจัดใหไหลโนมมาดานหนา วางขอศอกบนโตะ กางนิ้วมือวางบนโตะอยูเสมอ ดังรูป•เนนการจัดกิจกรรมที่ใชสองมือรวมกัน เชน การโยนบอลโดยใชมือสองขางการเลนของเลนที่ไขลาน•ใชผาขนหนูที่หยาบจนถึงละเอียด เช็ด ลูบ บริเวณผิวหนังดานที่เปนเพ่ือกระตุนอวัยวะรับความรูสึกของผิวหนัง•จัดทาในการเลนซึ่งอาจะจัดในทายืนบนเขา ทายืน กระตุนใหเด็กมีการลงน้ําหนักมาทางดานที่เปน ฝกการทรงตัวในทาตาง ๆ มีการบิดตัวซายขวาเพ่ือเปนกระตุนการรับรูความรูสึกจากเอ็นและขอ ดังรูป

Page 14: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

กลุมเด็กพิการทางกายและการเคลื่อนไหวท่ีนักกิจกรรมบําบัดเขาไปชวยเหลือ1. เด็กสมองพิการ (Cerebral Palsy) : CP2. เด็กที่มีพัฒนาการลาชากวาวัย (Delay development)3. เด็กที่มีการยึดติดของขอและกลามเนื้อ : AMC4. เด็กที่ไดรับบาดเจ็บทางไขสันหลัง : Spianl cord Injury5. เด็กไขสันหลังฝอ : SMA6. เด็กที่มีปญหาการรับรูทางสายตา7. เด็กที่มีปญหาในทักษะการใชดินสอและการเขียน8. เด็กที่ตองการอุปกรณชวยในการทํากิจวัตรประจําวัน

Page 15: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

เปาหมายการใหบริการทางกิจกรรมบําบัดในเด็กบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพเมื่อนักกิจกรรมบําบัดไดประเมินเด็กเพ่ือคนหาปญหาของเด็กแลว ขั้นตอไป คือ การแจงปญหา

และการวางเปาหมายในการรักษา รวมทั้งวางแผนกิจกรรมที่จะใชเพ่ือบําบัดรักษาปญหาของเด็กแตละคน ซึ่งเปาหมายการรักษาจะครอบคลุมในหัวขอตอไปนี้1. พัฒนาทักษะการทํางานของกลามเนื้อมัดใหญและกลามเนื้อมัดเล็ก (Improving gross and

fine motor skill)2. พัฒนาความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวันดานตาง ๆ (Improving activitites of daily

living)3. พัฒนาความแข็งแรงและความทนทานของกลามเนื้อโดยเฉพาะกลามเนื้อแขนและมือ (Improving

muscle strength / endurance)4. พัฒนาความสามารถของรางกายโดยใชอุปกรณชวยและอุปกรณเสริม (Improving of

adaptive equipment / devices)5. ปองกันความพิการที่อาจจะเกิดขึ้น (Prevention of further dysfunction)6. ปองกันความพิการผิดรูปของรางกาย (Prevention of deformities)7. พัฒนาชวงการเคลื่อนไหวของขอตอ (Improving range of motion)8. พัฒนาทักษะการเคี้ยว การกลืน และลดภาวะน้ําลายไหล

Page 16: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 17: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ลูกบอล(Blowster ball)

ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกล้ิง การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง

ราวฝกเดินใชฝกการทรงตัวซ่ึงมีความม่ันคงมากกวาอุปกรณ

ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพ่ือกระตุนพัฒนาการ

ทางดานการเคล่ือนไหว ฝกการทรงตัว

Page 18: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag)

ใชฝกรวมกับอุปกรณอ่ืนไดโดยมีน้ําหนักต้ังแต 0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพ่ือใชถวงน้ําหนักในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพ่ือเปนการฝกการทรงตัว เพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อแขนและขา

อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอนบนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยูตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณโดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิมการเพ่ิมระดับความยาก และเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อ

สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพ่ิมขนาดน้ําหนักของถุงทราย หรือเพ่ิมจํานวนคร้ังของการยก

กระดานฝกกลามเน้ือขา

Page 19: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 20: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 21: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 22: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 23: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 24: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 25: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 26: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 27: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 28: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ภาวะสมองพิการ ( Cerebral palsy )ภาวะสมองพิการเปนกลุมอาการที่มีสาเหตุจากความผิดปกติหรือมีการทําลายในสวน

ของสมองของเด็กที่กําลังเจริญเติบโต ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดกับเด็กในชวงนับต้ังแตอยูในครรภมารดาจนกระทั่งเด็กอายุ 7 ป ซึ่งความผิดปกติของสมองที่เกิดขึ้นนี้จะไมมีการลุกลามมากขึ้นสาเหตุของการเกิดภาวะสมองพิการ

ภาวะสมองพิการเกิดจากมีความผิดปกติของการเจริญเติบโตของสมอง หรือภาวะขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง ตลอดจนสาเหตุใดๆ ก็ตามที่ทําใหมีการทําลายในสวนของสมอง ซึ่งอาจจะแบงสาเหตุของการเกิดภาวะสมองพิการออกไดเปน 3 ชวงระยะเวลา คือ1. ระยะกอนคลอด คือระยะที่ทารกยังอยูในครรภมารดาในชวง 3 เดือน และ 6 เดือนแรก ซึ่งสาเหตุของความพิการอาจเกิดจากตัวมารดาหรือทารกเอง2. ระยะระหวางคลอด คือ ระยะที่ทารกอยูในครรภมารดา ชวง 3 เดือนหลัง และระยะระหวางคลอดจนถึงเมื่อทารกอายุ 1 สัปดาหหลังคลอด สาเหตุของความพิการอาจเกิดได 3. ระยะหลังคลอด คือ ระยะการเจริญเติบโตของเด็ก ต้ังแตอายุ 1 สัปดาหเปนตนไป สาเหตุของภาวะสมองพิการในชวงระยะนี้

Page 29: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ชนิดของภาวะสมองพิการในเด็กการแบงชนิดของภาวะสมองพิการในเด็กสามารถแบงได ดังนี้

1. แบงตามลักษณะความผิดปกติของกลามเนื้อและการเคล่ือนไหว1.1 ภาวะสมองพิการชนิดหดเกร็ง เปนลักษณะที่พบไดมากที่สุด คือ ประมาณสามในสี่ของผูเด็ก

สมองพิการทั้งหมด โดยจะพบอาการเกร็งกระตุกของกลามเนื้อ แขน ขา ลําตัว และมักจะมีปญหาแทรกซอนคือขอยึดติด

1.2 ภาวะสมองพิการชนิดอะทตีอยด เด็กกลุมนี้จะมีการเคลื่อนไหวของแขน-ขาและลําตัวที่ ผิดปกติ มีการเคลื่อนไหวของรางกายที่ควบคุมไมได ซึ่งจะเกิดกับสวนของศีรษะ ปลายแขนและปลายขามากกวาสวนอ่ืน ๆ

1.3 ภาวะสมองพิการชนิดอะแท็กเซีย เด็กจะมีปญหาเกี่ยวกับการทํางานประสานกันของกลามเนื้อ เด็กจะมีอาการสั่น การทรงตัวไมคอยดี

1.4 ภาวะสมองพิการชนิดออนปวกเปยก เปนอาการแสดงในเด็กที่มีอายุนอย เด็กจะมีลักษณะแขน ขา ลําตัวออนปวกเปยก แตเมื่อเด็กอายุเพ่ิมขึ้น ความตึงตัวของกลามเนื้อจะเพ่ิมขึ้น ดังนั้นจะทําใหเด็กมีอาการหดเกร็งหรืออาการอะทีตอยดตามมา

Page 30: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

1.5 ภาวะสมองพิการแบบผสมเด็กบางรายอาจมีลักษณะผิดปกติดังกลาวเบื้องตนปนกัน ที่พบบอยคือ แบบหดเกร็งรวมกับแบบอะทีตอยด

1.6 ภาวะสมองพิการไฮเปอรไคเนเซีย เปนภาวะที่เด็กมีการเคล่ือนไหวมากกวาปกติ เด็กจะไมอยูนิ่ง ทําอะไรเร็ว ๆ โดยขาดการควบคุม การใชมือไมด ี มักโยนหรือเหว่ียงของเลน เด็กจะว่ิงมากกวา เดิน ขณะว่ิงจะลมบอย เพราะการทรงตัวไมดี

Page 31: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

การดูแลรักษาเด็กสมองพิการเนื่องจากเด็กมีความผิดปกติรวมกันหลายอยาง การรักษาเด็กสมองพิการจึงตองอาศัยการ

ดูแลเปนพิเศษ เพ่ือใหเด็กเติบโต และสามารถชวยเหลือตนเองไดมากที่สุด ซึ่งตองอาศัยความรวมมือในการรักษาระหวางแพทยผูเชี่ยวชาญหลายสาขา นักกายภาพบําบัด นักกิจกรรมบําบัด นักอรรถบําบัด นักสังคมสังเคราะห ครู และที่สําคัญที่สุดคือ ผูปกครองเด็กพิการ ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทมากที่สุดในการดูแลรักษา โดยเนนที่การสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีกับเด็ก รวมทั้งสรางสิ่งแวดลอมในครอบครัวใหเหมาะสมสําหรับเด็กพิการ

หลักการดูแลรักษาเด็กสมองพิการ1. รักษาความพิการหรือปญหาทางกาย2. ฝกหรือกระตุนเด็กใหมีพัฒนาการใกลเคียงเด็กปกติมากที่สุด

Page 32: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

โรคไขสันหลังฝอ ( Spinal Muscular Atrophy )

โรคไขสันหลังฝอ เปนโรคทางพันธุกรรมที่พบไดไมบอยนัก เปนโรคที่มีการเสื่อมสลายของกลุมเซลลประสาทสวนหนาของไขสันหลัง และบางคร้ังอาจพบที่เซลลประสาทยนตของเสนประสาทสมอง ผูปวยจะมีความตึงตัวของกลามเนื้อลดลงไปเร่ือย ๆ และมีการออนแรงของกลามเนื้อ โดยมากมักจะเกิดการออนแรงของกลามเนื้อสวนปลายแขน ขา มากกวาสวนตนแขน ตนขา แลขามักจะออนแรงมากกวาแขน สวนการรับรูสัมผัสจะปรกติ

โรคไขสันหลังฝอ ถายทอดทางพันธุกรรม พบไดในเพศชายและเพศหญิงเทา ๆ กัน แตจะมีอาการรุนแรงมากในเพศชาย จะพบคนเปนโรคไขสันหลังฝอ 1 คน ในจํานวนคน 15,000 คน แตพบวาคนที่เปนพาหะของโรคมีจํานวนมากกวาคือพบ 1 คน ใน 80 คน

Page 33: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

การรักษา•เนื่องจากเด็กที่เปนโรคไขสันหลังฝอ จะมีอาการออนแรงของกลามเนื้อ ทําใหเด็กไมสามารถใชงานในอวัยวะนั้นๆ ไดอยางเต็มที่ จึงมักเกิดการหดร้ังของกลามเนื้อตามมา โดยมากมักเกิดกับกลามเนื้องอขา ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองปองกันการยึดกลามเนื้อแขน และขา เปนประจํา และใหนอนควํ่าบอย ๆ เพ่ือยึดกลามเนื้องอสะโพก•สงเสริมใหเด็กทํากิจกรรมตาง ๆ เทาที่เด็กมีศักยภาพที่จะทําได เพ่ือคงกําลังของกลามเนื้อ และความสามารถในการชวยเหลือตนเอง ทั้งในเร่ืองของการเคลื่อนยายตัวเองและการทํากิจวัตรประจําวัน•แนะนําและฝกการใชอุปกรณเคร่ืองชวยตาง ๆ เชน รถเข็น ประกับขา (เบรส)•จัดทาทางที่เหมาะสมในทาตาง ๆ โดยเฉพาะทานั่ง เนื่องจากอาจเกิดหลังคดได จากการที่เด็กนั่งตัวเอียง และหลังงอเปนเวลานาน

Page 34: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

โรคกระดูกออน ( Osteogenesis Imperfecta )

โรคกระดูกออนเปนโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งสามารถพบไดทั้งในเพศหญิงและเพศชาย โรคกระดูกออนเกิดขึ้น เนื่องจากความผิดปกติในการสรางเซลลของกระดูก ซึ่งผูที่เปนโรคนี้จะมีกระดูกที่เปราะบาง ไมแข็งแรง กระดูกเกิดการแตกหักงาย

ระดับความรุนแรงของโรคกระดูกออน สามารถแบงได 3 ระดับ คือ1. ระดับที่มีความรุนแรงมากที่สุด พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกในขณะที่เด็กอยูในครรภ ซึ่ง

พบวาสามารถเปนอันตรายถึงชีวิตได2. ระดับที่มีความรุนแรงปานกลาง พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกขณะที่มีอายุอยูในชวงวัยเด็ก

เล็ก หรือวัยกอนเขาเรียน ซึ่งการแตกหรือหักมักพบในกระดูกทอนยาว ความผิดปกติที่พบคือ จะ เกิด การผิดรูปของกระดูกแขนหรือขา รางกายจะมีการเจริญเติบโตชากวาปกติเมื่อเทียบกับอายุ3. ระดับที่มีความรุนแรงนอยที่สุด พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกขณะที่เด็กมีอายุในชวงวัยเรียน

Page 35: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

การรักษาทางการแพทย•แกไขการผิดรูปของกระดูก•รักษาการแตกหรือหักของกระดูก•ใหเคร่ืองดามเพ่ือแกไขการผิดรูปของกระดูก•ใหอุปกรณชวยหรืออุปกรณเสริม เชน เหล็กประกับขา เพ่ือชวยในการเคลื่อนยายตัวเองทางกายภาพบําบัด•ออกกําลังกายเพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อ และเพ่ิมชวงในการเคลื่อนไหว•ฝกเดินและการเคลื่อนยายตัวเอง•แนะนําวิธีการใชอุปกรณเสริมตาง ๆ เชน เหล็กประกับขา•ใชความรอนและความเย็นในการรักษา เพ่ือชวยเพ่ิมชวงการเคลื่อนไหวและลดบวม เชน หากเกิดการหักของกระดูก ควรจะใชแผนเย็นหรือน้ําแข็งประคบกอนเพ่ือลดการคั่งของเลือด และลดบวม เมื่อกระดูกติดดีแลวอาจใชแผนรอนหรือกระเปาไฟฟาประคบ เพ่ือลดการปวดและชวยเพ่ิมการเคลื่อนไหวของขอตอ•ธาราบําบัด เพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อและเพ่ิมการเคลื่อนไหวของขอตอ•ใหคําแนะนําในการดูแลสําหรับครอบครัวอของเด็กที่เปนโรคกระดูกออน

Page 36: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

เด็กพิการแขน ขาแตกําเนิดสาเหตุของแขนขาพิการแตกําเนิด

ในการศึกษาถึงสาเหตุความพิการของแขน ขา แตกําเนิด เชื่อวาความพิการของแขนขาจะเกิดขึ้นในระยะที่เด็กเปนตัวออนอยูในครรภ หรือในระหวาง 8 สัปดาหหลังจากปฏิสนธ ิ ซึ่งเปนระยะที่ตัวออนมีการแบงตัวและสรางเซลลตาง ๆ จากการรวบรวมขอมูล พอที่จะสรุปสาเหตุที่อาจทําใหเด็กเกิดมาแขน ขาพิการได คือ1. การที่มารดาไดรับสารเคมีหรือยาบางชนิดในขณะมีครรภ มารดาควรหลีกเลี่ยงการใชยาโดยไม

จําเปน และหากมีความจําเปนตองใชยาควรจะปรึกษาแพทยกอน นอกจากนี้สารเคมีที่ปนเปอนมากับ ผัก หรือผลไม เชน สารปรอท สารตะกั่ว อาจเปนสาเหตุที่เกี่ยวของกับความพิการได

2. มารดามีอาการตกเลือดในระยะแรกของการมีครรภ3. โรคติดเชื้อ เชน หัดเยอรมัน4. มีความผิดปกติของฮอรโมนมารดา5. มารดาไดรับสารกัมมันตภาพรังสี เชน รังสเีอกซ6. อุบัติเหตุหรือการกระทบกระแทกโดยตรง7. ความผิดปกติของยีนและโคโมโซน8. ภาวะทุพโภชนาการของมารดา

Page 37: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ลักษณะของแขนขาท่ีพิการแตกําเนิดสามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ

1. ลักษณะความพิการแบบแขนขาสวนปลายถูกตัดหายไป เปรียบคลายกับการถูกขวานฟน ทําใหแขนขา สวนปลายขาดหายไป เหลือเพียงสวนตอแขน หรือตอขา

2. ลักษณะความพิการแบบแขน ขาบางสวนขาดหายไป แตสวนปลายลงไปยังเจริญเติบโต เปรียบเหมือนกับถูกสัตวรายขบกัด ทําใหมีบางสวนขาดหายไป แตบางสวนยังเหลืออยู

แนวทางในการใหการรักษาและฟนฟู•ผาตัดแกไขหรือตบแตงตอแขน หรือตอขา เพ่ือสะดวกในการทําแขนเทียม หรือขาเทียม ซึ่งแพทยผูทําการผาตัดจะพิจารณาถึงวิธีการเปนเฉพาะกรณีของผูพิการ•ฝกการใส และฝกการใชงานของแขน ขาเทียม•ฝกทักษะและความสามารถพิเศษ เชน ฝกการใชอวัยวะที่เหลืออยูในการทํางานทดแทนสวนที่ขาดหายไป•ฝกการชวยเหลือตนเองในการทํากิจวัตรประจําวัน

Page 38: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

การบาดเจ็บไขสันหลังไขสันหลังเปรียบเสมือนสายโทรศัพท ที่ใชติดตอสั่งการและรับรูเร่ืองราวตาง ๆ จากที่

หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เมื่อสายโทรศัพทขาดหรือชํารุดจึงทําใหไมสามารถรับหรือสงขอความได หรือรับสงไดแบบกระทอนกระแทน ไมชัดเจน ที่เปนเชนนี้เพราะไขสันหลังประกอบดวยใยประสาทที่เชื่อมติดตอกับสมองที่เปนศูนยกลางของความคิดอานทําหนาที่รับรูและสั่งการมายังเซลลประสาทที่อยูในไขสันหลัง ซึ่งเซลลประสาทเหลานี้มีใยประสาทสงตอไปควบคุมกลามเนื้อที่อวัยวะตาง ๆ ของรางกาย เมื่อทุกอยางปกติสมองสามารถรับความรูสึกจากผิวหนังได และสั่งการใหอวัยวะตาง ๆ ทํางานดังที่ใจนึก แตเมื่อใดไขสันหลังไดรับบาดเจ็บ ชอกช้ํา ใยประสาทรับความรูสึกขาด เราจะไมสามารถรับรูวามีสิ่งเรามากระทบผิวหนัง นั้นคือ หมดความรูสึก หรือรับรูไดแตนอยกวาปกติที่เรียกวาชา สวนใยประสาทสั่งการหรือเซลลประสาทสั่งการที่ไขสันหลัง เมื่อไดรับบาดเจ็บหรือถูกทําลายสมองไมสามารถสั่งการใหกลามเนื้อหดตัว ขอไมเคลื่อนไหวอยางที่ตองการซึ่งเราเรียกสภาวะนี้วา เปนอัมพาต ถายังพอขยับเขย้ือนไดบางเรียกวา ออนแรง

Page 39: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ความผิดปกติทางการพูด (Communication Disorders)

หมายถึง ความผิดปกติซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติในดานความชัดเจนในเร่ืองการเปลงเสียง สระ พยัญชนะ การใชเสียง จังหวะและความคลองในการพูด การใชภาษาและความเขาใจ ภาษาพูด ตลอดจนความผิดปกติที่เกี่ยวกับการไดยินหมายเหตุ ความผิดปกติทางการพูดมีความหมายเชนเดียวกับความผิดปกติในการสื่อความหมาย

Page 40: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ประเภทของความผิดปกติทางการพูด (Types of Speech Disorders)มี 5 ประเภท

1. พูดชา (Delayed Speech) อายุในการพูดไมเหมาะสมกับวัย2. พูดไมชัด (Articulatory Disorders) การเปลงเสียง เชน กิน อิน ฯลฯ3. เสียงผิดปกติ (Voice Disorders) ความผิดปกติที่เกี่ยวของกับการทํางานของสายเสียง เชน

เสียง เสียงแหบ – หาว พูดไมมีเสียง เสียงแตก ฯลฯ4. ความผิดปกติทางภาษา (Language Disorders) เปนความผิดปกติทางการับรู และแปลความหมายของคําพูด เชน ใชภาษาพูดไมถูกตองตามหลักไวยากรณ มีความผิดปกติในการรับฟง5. มีความผิดปกติเกี่ยวกับความคลองในการพูดและจังหวะ เชน พูดติดอาง

Page 41: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ปญหาการพูดของเด็กสมองพิการ1. บางรายมีปญหาการควบคุมอวัยวะที่ใชเปลงเสียง ทําใหพูดลําบาก พูดไมชัด ฟงเขาใจยาก2. มีปญหาในการเขาใจคําพูด ทั้ง ๆ ที่หูไดยิน3. พูดไมไดทั้ง ๆ ที่เขาใจ สังเกตไดจากการที่ทําตามคําสั่งถูกตอง4. ถาพูดไดอาจพูดเหมือนเปนประโยค แตมีคําที่มีความหมายเพียงไมกี่คํา หรือ ใชคําสลับที่กัน

Page 42: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

การวิเคราะหโครงการโครงการประเภทเดียวกันในประเทศ

ศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาต ิ

ศูนยฟนฟูสวางคนิวาส

โครงการประเภทเดียวกันในตางประเทศ National Rehabittation Center For DisableRehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center

Page 43: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

ที่ตั้ง : ซอยโรงพยาบาลบําราศนราดูร ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี บริเวณกระทรวงสาธารณสุข

พื้นที่ : 33 ไร

ลักษณะโครงการศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติเปนหนวยงานระดับกอง สังกัดกรมการแพทยกระทรวงสาธารณะสุข มีจุดหมายในการเปนศูนยกลางของภาครัฐในการรับผิดชอบทางวิชาการและการประสานงาน เพ่ือพัฒนางานฟนฟูสมรรถภาพผูปวยและผูพิการของประเทศไทย โดยดําเนินการภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแหงชาต ิและ แผนเเมบทการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ

Page 44: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ภารกิจขององคกรแบงไดเปน 2 สวนคือ

•การวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี รูปแบบ และ โปรแกรมการฟนฟูสมรรถภาพผูปวย ผูพิการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทย

•การสนับสนุนและการถายทอดทางวิชาการเพ่ือการพัฒนาบริการฟนฟูสมรรถภาพผูปวย ผูพิการในสวนภูมิภาค เพ่ือใหเกิดการกระจายการบริการ จนผูปวย/ผูพิการที่ตองการรับบริการสามารถเขาถึงไดเทาเทียมกัน ทั่วประเทศ

Page 45: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนประกอบโครงการ•สวนอาคารผูปวยนอก

สวนรักษาทางการแพทยและสวนบริหาร

-โรงอาหาร รานคาสวัสดิการ -สวนกายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด-สวนอาชีวะบําบัด -สวนกายอุปกรณ-งานวิชาการ -หอพักผูปวยหญิง-หอพักผูปวยชาย -อาคารโภชนาการกลาง-อาคารซอมบํารุง -หองเครื่องอาคารเก็บของ-อาคารซักฟอก -หองเก็บศพ -อาคารกีฬาในรม -สนามฟุตบอล

Page 46: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 47: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ลักษณะการวางผัง

มีการจัดแบงพ้ืนที่ใชสอยเปน 2 สวน อยางชัดเจน คือสวนที่ทําการ บําบัด กับสวนที่พักผูปวย โดยแบงกลางดวยทางเดินหลัก กวาง 3 เมตร จัดกลุมตามลําดับการเขาถึง และ สะดวกตอการติดตอ เชน สวน service ที่สามารถติดตอโดยตรงกับสวนที่พักผูปวย โดยไมตองผานถนน และ สวนอ่ืน ๆ กอนจัดกลุมอาคารที่ใชสอยโดยผูปวยใหอยูในกลุมเดียวกัน มีทางสัญจรเชื่อมถึงกันโดยไมผานทางรถ (ยกเวนสวนของโรงอาหารที่สรางขึ้นมาทีหลัง ที่แยกตัวออกไปทําใหเกิดความยากลําบากในการสัญจรของผูใช

( Wheelchair ) มีการเชื่อมตอ open space ของสนามกับสวนของโรงพยาบาลศรีธัญญา สรางมุมมองที่ดีใหกับบริเวณทาง สัญจรหลัก ผูปวยจะใชบริเวณทางสัญจรนี้เปนพ้ืนที่พักผอน อานหนังสือ และ พบญาติมิตร ยังไมคอยมีการคํานึงถึงการสรางสภาพแวดลอมที่ดีมากนัก เชนทางรถที่ผานสวนที่พักผูปวยตลอดเวลา และการวาง สวน service ที่เกิดเสียงรบกวน (โภชนาการ) ไวใกลผูปวยเกินไป

Page 48: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

รูปแบบการสัญจร ทางเดินสัญจรวางตัวในลักษณะเปนเสนแลวทางแยก อาจสะดวกในดาน orientation แตในแง

การติดตอกันจะไมสะดวกเพราะระยะทางที่ยืดยาว ตองเดินยอนกลับทางเดิมตลอดเวลาการขึ้นลงอาคารของผูปวย wheelchair เสนทางหลักคือ ramp ระหวางกึ่งกลางหมายเลข 1 และ

2 แตทีD่rop off รถยนตที่มีหลังคาคลุม อยูบริเวณหนาตึกผูปวยนอก ซึ่งไมสัมพันธกัน และ ramp ที่ขึ้นอาคาร บริเวณจุด drop off ก็มีความชันเกินมาตรฐานเนื่องจากไมไดออกแบบพ้ืนที่เผ่ือไว

การสัญจรทางต้ังระหวางชั้น และ สําหรับผูปวย wheelchair สวนใหญใชทาง ลิฟทซึ่งอยูกึ่งกลางระหวางหอพักชายและหญิงเปนหลัก มีการทํา ramp เชื่อมในระดับความชัน 1 : 12 ที่ผูใช wheelchair ที่ฝกหัดแลวสามารถขึ้นไดดวยตัวเอง แตเมื่อสังเกตการใชงานแลว ผูที่ใช ramp กลับเปนคนปกติมากกวา อาคารเก็บศพวางตัวอยูที่ปลายสุดทางเดินที่จะไปอาคารกีฬาในรม ใหบรรยากาศไมด ี

Page 49: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ลักษณะรูปแบบการและการวางตัวอาคารอาคารสวนใหญสูง 2 ช้ัน วางอาคารตาม orientaion แนว ตอ – ตต. แตภายในอาคารยังไมคํานึงถึงกับการรับแสงธรรมชาติมากนักลักษณะอาคาร ที่ทําการบําบัด จัดวางแบบ open plan ยืดหยุนการใชงานของผูปวย อาคารที่พักผูปวย จัดแบบsingle corrdor รับลมธรรมชาต ิพ้ืนที่ช้ันหนึ่งสูงขึ้นจากพ้ืน 1 เมตร เพ่ือปองกันน้ําทวม ทําใหดูตัดขาดจากพ้ืนดิน ผูปวยไมสามารถ ลงไปที่สนามที่เห็นอยูขางหนาโดยตรงได แตตองเดินออมไปลงที่อาคารกีฬาในรม

การใชพ้ืนที่วางระหวางอาคาร มีการจัดวางตนไมประดับไว แตก็เปนไดเพียงเพ่ือการมองเพียงอยางเดียวไมสามารถเขาถึงได

Page 50: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

หองฝงเข็ม ท่ีนั่งรอ

ทางเดินไปยังอาคารตางๆ

Page 51: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

หองกายภาพบําบัด

หอพักผูปวยในชาย หญิง สนามกีฬา

ทางเดินภายในอาคาร

Page 52: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ชองวางระหวางตึก

หองทํางาน

ทางลงจากตัวอาคาร

ทางขึ้นอาคาร

Page 53: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ท่ีฝกพัฒนาการพูดท่ีฝกการใชชีวิตประจําวัน

หองกายภาพ ท่ีหัดเดิน

Page 54: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 55: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ปญหาท่ีเกิดข้ึนในโครงการ

สวนใหญเปนปญหาเรื่องการใชงานที่แตกตางกัน ของผูปวยใช wheelchair ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลังและ ผูปวยที่ใชไมเทา เชน

ระดับ dimension ของผูปวยที่นั่งเกาอี้จะต่ํากวาระดับปกต ิทําใหการออกแบบเฉพาะสวน เชน ระดับเคาทเตอร ระดับเสียง ที่ต่ํากวาปกต ิสรางปญหาใหผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลัง ที่ไมสามารถกมตัวได

การออกแบบพ้ืนที่เปล่ียนระดับ ควรตองมีทั้ง ramp และบันไดไปพรอม ๆ กัน เพราะผูปวยที่ใชไมเทา สามารถขึ้นดวยบันไดสะดวกกวา ramp

Page 56: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ศูนยฟนฟสูวางคนิวาสท่ีตั้ง : ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนาคนิวาส หมู2 ถนนสุขุมวิท (สายเกา) ต.ทายบาน อ.เมือง จ.สมุทรปราการการเดินทาง :นั่งรถสองแถววินรถ 36 เดินทางจากตลาดปากน้ํา ระยะทาง 6 กิโลเมตร หรือขับรถยนตบนเสนทางสุขุมวิทสายเกาประมาณกิโลเมตรที ่32ส่ิงท่ีนาสนใจสวางคนิวาสเนนเรื่องการบริการสาธารณสุขเปนสวนใหญ และยังเปนที่พักผอนหยอนใจที่มีช่ือเสียงมากที่สุดแหงหนึ่ง มีทั้งที่พักไวบริการดวยปจจุบันสวางคนิวาสซ่ึงเปนสวนหนึ่งของโรงพยาบาลจุฬาฯ เปนที่ตั้งสถานีกาชาดที่ 3 ใหบริการผูปวยนอกและการสาธารณสุขทุกอยาง และยังมีตึกผูปวยในไวเปนสถานพักฟนหลังการผาตัดของผูปวยจากโรงพยาบาลจุฬาฯ และยังมีตึกสถานพักฟนคนชราสําหรับขายเปนหองๆ หรือจายเปนรายเดือน โดยสวางคนิวาสจะมีบริการอาหาร กายภาพบําบัด และดูแบบอยางด ีนอกจากนี้ยังมีหองประชุมตางๆดวย

Page 57: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

แนวความคิดในการวางผัง

เนื่องจากศูนยสวางคนิวาสเปนการนําเอาอาคารเกามาดัดแปลงทําจึงคอนขางมีขอจํากัดในแง Space การใชงาน การแบงพ้ืนที่ใชงานระหวาง Function ที่เก่ียวของและไมเก่ียวของไมเดนชัด

Page 58: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ศูนยฟนฟูสวางคนิวาสเดิมใชเปนสถานพักฟนอยางเดียวจนภายหลังไดเปล่ียนแปลงและปรับปรุงเปนศูนยฟนฟูสวางคนิวาส ซ่ึงรองรับคนพิการที่พนขีดอันตรายแลวจากโรงพยาบาลจุฬาฯ และในบางสวนยังตองไดรับการดูแลเปนระยะเวลายาวนาน การรักษามุงเนนเรื่องการฟนฟูสภาพของผูปวยใหกลับเปนปกติหรือใหดีที่สุดเทาที่จะทําได โดยมีอาคารตางๆดังนี้

อาคารสถานีกาชาดที ่5 ทําหนาที่เปนอาคารตรวจโรคพรอมอุปกรณที่จะอํานวยความสะดวกในการตรวจรางกายโดยระเอียด รวมทั้งทําหนาที่เปนตึกอํานวยการดวย

ศูนยเวชศาสตรฟนฟู เปนอาคาร 4 ช้ัน โดยอาคารนี้มีหองนอนเดี่ยวและหองน้ําสวนตัว 40 หอง สวนมากเปนคนไขหญิง และคนไขอัมพาตที่อาการคอนขางมาก สวนคนไขที่เหลือเปนคนไขชาย จะไปอยูบริเวณตึก 9 ซ่ึงเปนอาคาร 2 ช้ัน โดยช้ันบนเปนที่พักเจาหนาที่

แนวความคิดในดานการออกแบบประโยชนใชสอย

Page 59: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงสถาปตยกรรม

เนื่องจากศูนยฟนฟูสวางคนิวาสเปนการนําเอาอาคารเกามาดัดแปลง ทําใหงานสถาปตยกรรมที่ออกมามีการจํากัด Space ในแงการใชงาน ซ่ึงปรากฎใหเห็นถึงความคับแคบในการใชงานของเจาหนาที่และผูปวย นอกจากนี้ในการออกแบบอาคารเดิมผูออกแบบไมไดพิจารณาความคิดเปนของเจาหนาที่ทางการแพทยทําใหลักษณะทั่วไปบางจุดไมสอดคลองกับการใชงาน

Page 60: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

โครงการในตางประเทศNational Rehabittion Center For Disable

ที่ตั้ง : 1 Namiki 4 – Chome Tokorozawa Coty Saitama Prefecture 359 Japan พ้ืนที่ : 140 ไร ลักษณะโครงการเปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับชาติของญี่ปุน โดยมีกิจกรรมที่ใหบริการแบงออกเปน 4 สวนใหญ ๆ คือ1. Comprehensive Rehabittation Services การใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยทีมผูเช่ียวชาญทางดานตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ซ่ึงรวมทั้งคนพิการแขนขา ลําตัว คนตาบอด หูหนวก เปนใบ จุดประสงคเพ่ือใหสามารถกลับเขาสูสังคมได (Re – Entry into Society )

Page 61: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 62: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

2.Research and Development of Rehabittation Technique

สวนบริการ มีหนาที่ทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเทคนิคตาง ๆ ที่จะชวยในการฟนฟูผูพิการ

3.Training of Professional Staff

สวนของวิทยาลัย ทําหนาที่ผลิตบุคลากรทางการแพทย ที่เก่ียวของกับผูพิการ

• Infotmation Service เปนศูนยรวมขาวสารตาง ๆ ที่เก่ียวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในญี่ปุนและประเทศ

ตาง ๆ ทั่วโลก

Page 63: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนประกอบโครงการดานลักษณะอาคารและเนื้อที ่(ตารางเมตร)

สวนโรงพยาบาล (Nursing ) 13,087

สวนงานวิจัย 3,108ศูนยฝก 7,655วิทยาลัย 2,314หอพักผูฝก (Non – nursing) 17,064หอพักนักศึกษา 3,768โรงยิมเนเซียมและสระวายน้ําในรม 2,919สวนบริการ บริการ และ อื่น ๆ 22,050สวนกายอุปกรณเทียมและโรงงานผลิต 1,339

Page 64: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 65: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

รูปแบบการวางผัง มีการจัดวางผังใหมีความสัมพันธกันตามความตองการการใชสอยและลําดบั

การเขาถึงอยางชัดเจน เชนการจัดวางผังแบงตาม พ้ืนที่ Public (Admin) Semi – public (hospital vocational education active receation)และสวน Private (non – nursing dorm service staff dorm) และ การจัดความสัมพันธของแตละสวน เชนสวนService ที่สามารถบริการสวนของโครงการไดคอนขางทั่วถึง สวนของที่พัก staff ที่จัดใหใกลสวนที่พักผูใชแบบNon – nursing ทําใหผูใชรูสึกปลอดภัย และปองกันในกรณีตองชวยผูใชซ่ึงเปนผูพิการยามฉุกเฉิน เชน อุบัติเหตุไฟไหม สวนของ recreation ที่สะดวกตอผูใชพิการและ ความเช่ือมโยงกับสวนบําบัด

เนื่องจากสภาพพ้ืนที่ลอมรอบดวยถนน จึงมีการวางพ้ืนที่โดยกันสวนที่พักผูปวยและสวนการบําบัดซ่ึงตองการความสงบมากที่สุด ใหอยูหางจากถนนดวยพ้ืนที่ใชสอยอื่นจัดสวน sport rectation ซ่ึงเปน open – space ผืนใหญในโครงการใหมีความสัมพันธกับ พ้ืนที่ขาง ๆ ที่เปน Open space ผืนใหญใหตอเนื่องกัน

Page 66: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

รูปแบบการสัญจรเนื่องจากพ้ืนที่ขนาดใหญ และ ตองมีทาง service ของรถยนตเขาถึงโดยรอบ

จึงมีทางเขาออกและทางสัญจรเปนจํานวนมากมีการแยกระบบสัญจรของผูพิการกับรถออกจากกันโดยในสวนทางสัญจรของคนจะเช่ือมดวย cover way ตลอดแตก็ยังมีการตัดกันของทางรถและคนในบางจุดซ่ึงอาจเกิดอันตรายไดเสนทางเดินมีลักษณะตรงไปตรงมา ซ่ึงจะสะดวกตอผูใช wheelchair ผูพิการทางตา

Page 67: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร สภาพอาคารสวนใหญเปนตึกสูงขนาดใหญ คลายโรงพยาบาลทั่วไป ใชลิฟทในการสัญจรทางตั้ง เพ่ืออํานวยความสะดวกตอผูพิการ ซ่ึงอาจไมคอยเหมาะสมในแงการฟนฟูสุขภาพมากนัก มีการจัดกลุมอาคารใหลอมรอบ court ทําใหเกิดการไหลของ open space อยางตอเนื่อง โดยมีสวนOutdoor training facitty เปน open – space สีเขียวผืนใหญ ซ่ึงเปนการเปดมุมมองที่ดีใหผูใชที่อยูในอาคาร

Page 68: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร

Page 69: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center

ที่ตั้ง : downtown Knoxville Tenessee

พ้ืนที่ : 1,300 ตรม

ลักษณะโครงการเปนโครงการปรับปรุงหลังคาของโรงพยาบาลใหเปนสวนเพ่ือการบําบัด ที่ชวยสงเสริมการฟนฟูสภาพผูปวย โดยมีแนวความคิดหลักคือการตอบสนองทางรางกาย อารมณ และ จิตวิญญาณตอผูปวย รวมทั้งญาติครอบครัวและเจาหนาที่ในโรงพยาบาล

Page 70: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 71: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนประกอบโครงการมีการแบงพ้ืนที่หลังคารูปตัว L ออกเปน 5 สวน ที่มีความหลากหลายตางกัน เพ่ือใหมี space ที่หลากหลายสามารถเลือกใชไดตามตองการ แลวเช่ือมสวนตาง ๆ เขาดวยกัน ดวยทางเดินรูปรางคดเคี้ยว ซ่ึงแตละ spaceสามารถเช่ือมถึงกันดวยสายตาได โดยการออกแบบที่คํานึงถึงผูใชเกาอี้ลอเล่ือนเปนหลัก โดยมี sequence ในการเขาถึงโดยบริเวณ lifft (A) ซ่ึงมีคนเขาถึงมากจะเปน active zone แลวคอย ๆ ลดความ active ลงมาเรื่อย ๆ

Page 72: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

การแกปญหาในงานออกแบบ1.ดานการรับน้ําหนัก เนื่องจากเปน สวนหลังคา จึงมีการคํานึงถึงความมั่นคงของโครงสราง โดยการวางตําแหนงตนไมตามหัวเสา และ การเลือกใชวัสดุปลูกที่ลดน้ําหนักแลว2.ดานการระบายน้ํา ใชระบบการระบายน้ํา 3 ระบบดวยกัน คือ การระบายตามรองน้ํา และ การระบายน้ําออกจากผิวพ้ืนโดยตรงในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมระบบรดน้ําโดยการใหน้ํา แบบอัตโนมัติตามอุณหภูมิ เพ่ือควบคุมน้ําหนักที่จะรองรับ และ ใหน้ํามีปริมาณที่เหมาะสมกับตนไม

การใชพืชพรรณ เนื่องจากบริเวณสวนถูกลอมรอบดวยอาคารสูง 4 – 6 ชั้น จึงตองมีการเลือกใชพืชพรรณใหเหมาะสมกับปริมาณแสงแดด โดยผูออกแบบไดเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่ชอบรมเงาในสวนที่รับแสงนอย

พืชพรรณที่ใชเปนประเภท texture ละเอียด ซึ่งนอกจากจะไมดานลมแลวยังทําใหเห็นความเคลื่อนไหวของใบที่พัดปลิวตามแรงลม ที่ดูมีชีวิตชีวา

Page 73: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

Page 74: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

รายละเอียดของประเภทและจํานวนผูใช

โครงการศูนยฟนฟูฯ มีผูใช 3 กลุมหลักคือ

1. คนไข Patient ไดแก patient ผูปวยในOut-patient ผูปวยนอก

2. เจาหนาที่ Staff ไดแก แพทยทางดานเวชศาสตรฟนฟูและกายภาพบําบัด พยาบาล และเจาหนาที่ทั่วไป

3. ผูมาเย่ียม Visitor ไดแก ผูมาเย่ียมผูปวย ผูมาติดตองานทั่วไป

Page 75: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

1. คนไข Patient

ประเภทของคนไข คนไขที่มาทําการบําบัดในศูนย ไดแก ผูที่มีความเส่ือม หรือสูญเสียการทํางานของอวัยวะบางสวน จากสาเหตุตางๆ เชน โรคภัยไขเจ็บ การผาตัด และการเปนมาแตกําเนิด ซ่ึงตองการการบําบัดเพ่ือฟนฟูสมรรถภาพใหใชการไดหรือดําเนินชีวิตไดตามปกต ิอาจเปนผูพิการจริงหรือผูที่มีความบกพรองทางรางกายและอวัยวะเปนการช่ัวคราวที่สามารถฟนฟูใหดีดังเดิมได โดยทั้งผูปวยในและนอกจะมีปญหาทางสมรรถภาพคลายคลึงกัน โดยสามารถแบงประเภทผูปวยความจําเส่ือม สมรรถภาพทางรางกายได คือ ผูมีปญหาทางแขนขาและลําตัว

เม่ือดูจากสถิต ิ10 อันดับของจํานวนผูปวยในและนอกของศูนยสิรนิทรเพ่ือการฟนฟูฯแลว ปรากฎวา ผูปวยสวนใหญนั้นเปนผูที่มีปญหาทางแขนขาและลําตัวเปนหลักเชน ภาวะการเจ็บปวยของระบบกระดูกและกลามเนื้อ ภาวะอัมพาตครึ่งซีก ครึ่งทอนและทั้งตัว และผูพิการแขนขาขาด ซ่ึงเปนประเภทที่มากที่สุดของผูพิการในภาคกลาง

Page 76: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ประเภทของผูปวยนอก ผูปวยนอกสวนใหญคือผูที่อยูในจังหวัดกรุงเทพหรือจังหวัดใกลเคียงที่สามารถ

เดินทางไปกลับไดมาทําการบําบัดตามโปรแกรมที่ทีมแพทยกําหนดไว เชนการทํากายภาพบําบัดแบบตางๆ โดยกําหนดเวลาในการตรวจวินิจฉัยผูปวยนอกใหมเฉพาะชวงเวลาเชา 8.00-12.00 น. และมีการจัดการเวลานัดมาทํากายภาพบําบัดอยางแนนอน รวมถึงมีการจํากัดปริมาณของผูปวยใหเหมาะสมกับการรองรับของเจาหนาที่ และ facility ที่มี คือประมาณ 40 คน ตอวัน เพ่ือไมใหกระทบกับการบําบัดผูปวยใน ประเภทผูปวยนอกสวนใหญมีภาวะการเจ็บปวยของกระดูกและกลามเนื้อที่ไมจําเปนตองรักษาดวยการผาตัด ภาวะอัมพาตครึ่งซีก ผูมาทําแขน ขาเทียมโรคปวดหลัง เปนตน

Page 77: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

ประเภทผูปวยใน เปนผูปวยที่พักอาศัยภายในโครงการ โดยทําการบําบัดตาม โปรแกรมการรักษาจากทีมแพทย โดยมีจํานวนวันพักเฉล่ีย 20 คนตอวัน หรือสูงสุดประมาณ 1 ป ประเภทของผูปวยในสวนใหญมีภาวะที่มีผลพวงจากระบบประสาท เชน อัมพาตครึ่งทอน อัมพาตทั้งตัว ผูพิการแขนขาขาด และผูปวยในระบบกระดูกและกลามเนื้อ เปนตน

สาเหตุที่จําเปนตองมีที่พักผูปวยใน ไดแก - มีความจําเปนตองควบคุมสภาพแวดลอมกิจวัตรประจําวันและการ

บําบัดรักษาอยางตอเนื่อง- การติดตอรายวันทําไมไดเนื่องจากอยูไกลและมีอุปสรรคทางการเดินทาง- ปญหาทางสภาพแวดลอมที่บานหรือที่พักใกลศูนยไมเหมาะสมกับผูปวย- ตองการฝกสภาพจิตใจในการอยูรวมกับคนหมูมากเพ่ือที่จะเรียนรูที่จะ

ออกไปใชชีวิตอยางสมบูรณ และชวยใหมีการดูแลซ่ึงกันและกัน

ประเภทผูปวยใน

Page 78: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

กลุมอายุคนไข พิจารณาจากสถิติของผูพิการ ที่จะเปนผูใชหลักในโครงการซ่ึงจากตาราง สรุปไดวากลุมผูใชเปนเด็กทีมีอายุตั้งแต 3-6ป เปนหลัก

เจาหนาที่ Staffการบําบัดรักษาจําเปนตองมีกลุมบุคลากรซ่ึงเรียกวากลุมเวชศาสตรฟนฟู

ทํางานรวมกันในการบําบัดรักษา

ผูมาเย่ียม Visitorเปนกลุมที่มาใชเปนครั้งคราว ในชวงเวลาส้ันๆ มีจุดประสงคของการมา

ตางๆกัน

Page 79: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

จํานวนผูใช•คนไข โครงการจําเปนตองเจาะจงใหชัดเจนเพ่ือประสิทธิภาพและความคุมคาที่ดีที่สุดของโครงการ โดยพิจารณาตามความสามารถในการรองรับในดานบุคคลากร เครื่องมือเครื่องใชในการรักษา และพ้ืนที่ในการรองรับ- คนไขใน ปจจัยในการรับจํานวนคนมีเกณฑดังนี้1. ความตองการของการฟนฟูโดยเทียบจากจํานวนของคนพิการซ่ึงเปนผูใชหลัก ซ่ึงจํานวนผูปวยในที่ควรรองรับไดคิดเปนอัตรา 2.4 % ของผูพิการ (เทียบกับอัตรารองรับของแผนการสงเคราะหและฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ) ดังนั้นจํานวนผูปวยที่ควรรองรับไดคือ

จํานวนผูพิการในภาคกลาง x2.4% = 248,100 x 0.024 = ประมาณ 60 คน

Page 80: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

2. จํานวนบุคลากรที่ทําการรักษาตองมีจํานวนบุคลากรมากพอกับจํานวนผูปวยที่จะรับ ซ่ึงจะมีสวนแปรผันตามจํานวนผูปวยที่รองรับเปนอัตรามาตรฐาน เชน

แพทยเวชศาสตรฟนฟู 1 : 15นักกายภาพบําบัดตอผูปวย 1 : 8ผูชวยนักกายภาพบําบัดตอผูปวย 1 : 1นักกิจกรรมบําบัดตอผูปวย 1 : 8-16

3.ปริมาณพ้ืนที่ในสวนการบําบัดรักษาตอจํานวนผูปวย

4.ปริมาณเนื้อที่ของโครงการตอจํานวนผูปวย

Page 81: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

รายละเอียดท่ีใชสอยและองคประกอบหลักของอาคารในโครงการมีสวนประกอบดานหนาที่ใชสอยหลายสวน ซึ่งสามารถแยกโครงสรางใหชัดเจนไดดังนี้

สวนกลางและสวนบริหารเปนสวนกลางในดานการบริหารทั้งหมดของโครงการ ทั้งในดานฝายธุรการ และบริหาร สวนนี้

มักใชเนื้อที่ใชสอยอยูสวนหนาของโครงการ แยกเปนอาคารออกมา เพ่ือใหสะดวกตอการติดตอ ประสานงาน ซึ่งจะประกอบดวย หองผูบริหารระดับตางๆ หองประชุมยอย หองธุรการ หองพัสดุกลาง หองโถงตอนรับ และหองประชาสัมพันธเปนตน

สวนพัฒนาวิชาการมีหนาที่รับผิดชอบงานดานวิชาการ การวางแผนงาน งานทะเบียนและสถิติ งานประชุม การ

ฝกอบรมสัมมนา และติดตามประมวลผลผูเขารับการฟนฟูดานหองสมุด รวมถึงการวิจัยคนควาเพ่ือการพัฒนางานฟนฟูใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรจัดวางพ้ืนที่ไวใกลสวนบริหารเพ่ือความสะดวกในการติดตองานทั้งภายในและภายนอก

Page 82: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยมีหนาที่รับผิดชอบในเร่ืองการตรวจสภาพความพิการ และความสามารถของอวัยวะ

ที่เหลืออยู วางแผนการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย ใหบริการบําบัดดานตางๆ ประสานงานกับโรงพยาบาลในการสงตอผูปวยรับการฟนฟู รวมถึงดานการปฐมพยาบาลเบื้องตนดวย สามารถแบงสวนตางๆออกเปน

สวนผูปวยนอกมีหนาที่ใหบริการผูปวยและประชาชนที่มาขอรับบริการตรวจโรค ทั่วไป หรือโรค

เฉพาะทาง จะประสานงานกับฝายอ่ืนๆของศูนยเพ่ือการตรวจวินิจฉัย รักษาพยาบาล และฟนฟูสภาพโดยจะประกอบดวยหองทําบัตร หองรอตรวจ หองจายยา หองเก็บเงิน หองแสดงนิทรรศการ และหองอาหารสําหรับผูปวยนอก

สวนรักษาทางการแพทย ประกอบไปดวยหองสําหรับตรวจผูปวย หองผาตัดยอย หองพยาบาล มีโถงพักคอย

เชื่อมตอกับสวนผูปวยนอก

Page 83: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนงานกายภาพบําบัดเปนการบําบัดรักษาและฟนฟูสภาพรางกายใหเปนปกติมากที่สุด ดวยวิธีตางๆเชน การใชความรอน ความเย็น น้ํา แสง ไฟฟา พรอมการออกกําลังกาย ตานทานน้ําหนัก การจัดเนื้อที่แบงเปน 2 สวน คือสวนภายในอาคาร ประกอบดวย

หองตรวจ หองบําบัดดวยอุปกรณไฟฟาหองออกกําลังกาย (คลายฟตเนส) สําหรับการบําบัดทั้งเดี่ยวและกลุมหองธาราบําบัด ซ่ึงมีเครื่องมือสําหรับแชรางกายบางสวน และอางที่แช

รางกายไดทั้งตัว ซ่ึงมีการออกแบบใหผูปวยโดยเฉพาะสระบําบัด มี 2 ขนาด คือ 7x15 m. 2.4x4 m. (สระนวด) ซ่ึงมีอุปกรณอํานวย

ความสะดวกใหผูปวยขึ้นลงไดสะดวก เชน ramp และราวจับ ตองมีการจัดเตรียมอุปกรณตางๆเชน เครื่องทําความรอน เครื่องฆาเช้ือโรค เครื่องกรอง เครื่องปม ซ่ึงสามารถ ใชสระรวมกับสวนของ Recreation ไดดวย โดยการบริหารเวลาใหเหมาะสม

Page 84: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนภายนอกอาคาร ประกอบไปดวยพ้ืนที่ทํากายภาพบําบัดเชน พ้ืนที่หัดเดิน ซึ่งอาจใชวัสดุตางๆกัน เชน พ้ืนทราย

, พ้ืนหญา พ้ืนที่ออกกําลังกายดวยเคร่ืองมือเฉพาะคลายสวนสุขภาพ โดยในสวนนี้ ตองการรมเงาคอนขางมาก เพ่ือใหสะดวกสบายตอผูปวย

สวนงานกิจกรรมบําบัดเปนสวนที่ชวยปรับปรุงสภาพจิตใจและรางกายผูพิการ ใหสอดคลองกับสภาพการใชงาน โดย

การสอนใหผูพิการสามารถทํากิจวัตรประจําวันไดตามปกติ โดยในการบําบัด อาจแบงไดเปน 2 รูปแบบ คือการฝกกิจวัตรประจําวัน ไดแก อาบน้ํา นอน แตงตัว และทักษะการหยิบจับตางๆ เปนตนการทํากิจกรรมตางๆรวมกัน เพ่ือเปนการฝกฝนการเขาสังคม โดยมีทั้งกิจกรรมภายในโครงการ เชน กิจกรรมประกอบเพลง กิจกรรมการพัฒนาภูมิทัศน และกิจกรรมภายนอก เชน การพาผูปวยออกนอกสถานที่เชน ไปทองเที่ยวตามที่ตางๆโดยสวนของอาคารควรมีสภาพแวดลอมที่เงียบสงบ เพ่ือใหผูฝกมีสมาธิในการฝกมากที่สุดและมีบรรยากาศเปนธรรมชาติเพ่ือความผอนคลาย และควรมีสวนฝกทํากิจกรรมตางๆภายนอกอาคารเชน ลานประกอบกิจกรรมรวมกัน

Page 85: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนอรรถบําบัดหมายถึงการชวยบําบัดผูปวยบางรายที่มีปญหาทางการไดยินมีผลทางปญหาการพูด

ประกอบดวยหองทดสอบการไดยิน หองบําบัดแบบเดี่ยวและหองบําบัดแบบกลุม โดยจะตองมีการควบคุมเสียงใหเงียบและกันเสียงรบกวนเพ่ือเกิดสมาธิมากที่สุด ภายนอกอาคารควรมีสวนสําหรับทําการบําบัดแบบกลุมเชนที่นั่งพักผอนพูดคุยที่สงบและรมร่ืน

สวนจิตบําบัด หมายถึงการรักษาทางสภาพจิตใจ โดยการใหการรักษา ใหคําแนะนํา กําลังใจ เพ่ือใหผูปวยมี

จิตใจ ผอนคลาย สดชื่น มีความหวัง มีกําลังใจ โดยอาจรวมเปนสวนหนึ่งอยูในอรรถบําบัดไดเนื่องจากการใชงานใกลเคียงกัน

สวนกายอุปกรณเทียมคือสวนที่ผลิตเคร่ืองชวยเหลือผูพิการในแงแขนขา เทียม เกาอ้ีลอเลื่อนโดยจะประกอบดวยหองทดลอง คือหองทําการวัดและลองอุปกรณ รวมถึงการถอดอวัยวะเทียมหรือเคร่ืองชวย

ภายในมีอุปกรณทดสอบการหัดเดิน บันไดลาด ลักษณะเปนหองโลงคลายโรงยิมโรงงาน คือสถานที่ลิต และเก็บอุปกรณเชนเกาอ้ีลอเลื่อน มีการใชอุปกรณขนาดใหญ และมักมี

เสียงดังจากการผลิต จึงควรมีการแยกโรงงานเพ่ือเปนการลดเสียง และอันตรายที่อาจเกิดจากไฟไหม โดยอาจมีพ้ืนที่นอกอาคารซึ่งเปนลานสําหรับทดลองเกาอ้ีลอเลื่อนที่สะดวกและกวางขวางกวาในอาคาร

Page 86: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนพื้นท่ีนันทนาการ1 เปนที่ออกกําลังกายเพ่ือฟนฟูสภาพรางกาย2 เปนที่พักผอนหยอนใจเพ่ือการฟนฟูสภาพจิตใจ3 เปนที่รวมกิจกรรม พบปะสังสรรค เกิดการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ระหวางผูปวยดวยกันเอง และคนธรรมดาทั่วไปเพ่ือไมใหเกิดการแบงแยก และเปนการปรับตัวเพ่ือการกลับเขาสูสังคมตอไปโดยสามารถแบงเปน2 สวนใหญๆ คือ•active Recreation สวนการกีฬา•สวนเพ่ือการพักผอนหยอนใจ

Page 87: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

1.Active Recreationเน่ืองจากผูปวยมีขอจํากัดในดานการเลน ดังน้ันลักษณะกีฬาท่ีเลือกจึงควรเหมาะสมตอสภาพผูปวย และสรางสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมในการเลนดวย โดยอาจใชกฎกติกา แตกตางกันตามความเหมาะสม ซึ่งประกอบดวยพ้ืนท่ีตางๆดังน้ี •พ้ืนท่ีอเนกประสงคเพ่ือใชเลนเกม และจัดกิจกรรมตางๆตามงานเทศกาล•สระวายนํ้าในรม ซึ่งใชรวมกันกับสวนกายภาพบําบัด•สนามหญาออกกําลังกายอเนกประสงค•สนามกีฬาในรมโดยในท่ีน้ีจะใชรวมในอาคารเอนกประสงค•สนามเด็กเลน สําหรับผูปวยเด็กๆ

Page 88: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

2.Passive Recreationเปนสถานที่ที่ใชในการพบปะพูดคุยกันของผูปวย ญาติมิตร เจาหนาที่และ คนทั่วไปที่เขามาใชบริการ สรางความสดช่ืน และชวยฟนฟูสภาพจิตใจใหปรอดโปรง ซึงมีสวนประกอบคือ

Indoor Passive Recreation ไดแก หองพักผอนสวนรวม โดยจัดเพ่ือเปนพ้ืนที่พักผอนของผูปวยที่พักในโครงการเปนหลัก แตก็เปดใหผูปวยนอกและเจาหนาที่ไดใชดวยเพ่ือเปนการสรางความสัมพันธอันดีและฝกการปรับตัวสําหรับผูปวย โดยประกอบไปดวย หองพักผอน หองสมุด หองดูVDO โดยมีสวนหองอาหาร ครัวขนาดเล็ก และหองซักรีดสําหรับผูปวยแบบnon-nursingที่สามารถชวยเหลือตนเองได ประกอบกิจกรรมดวยตนเอง

Outdoor Passive Recreation ไดแก ลานกิจกรรมรวม ศาลาพักผอน สวนธรรมชาต ิสวนสมุนไพร สวนพักผอนริมน้ํา

Page 89: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนหนวยจายกลางแผนกปราศจากเช้ือกลาง มีหนาที่จัดเตรียมเครื่องมือเครื่องใชทางการ

รักษา ใหกับทุกหนวยงานภายในศูนย ใหมีมาตรฐานเดียวกัน ดวยสุขวิธีการนึ่งดวยความดัน แชน้ํายาฆาเช้ือโรค อบแกสเปนตน

แผนกโภชนาการ มีหนาที่ประกอบอาหารใหผูปวยในและเจาหนาที ่ควรอยูติดกับสวนโรงอาหารรวมแผนกซักรีด และดูแลความสะอาด มีการติดตอโดยตรงกับผูปวยในทั้ง2 ประเภท โดยเฉพาะผูปวยแบบNursing

แผนกซอมบํารุงและพัสดุกลาง เปนที่ตั้งของหองเครื่อง หองระบบตางๆ เชนหองไฟฟา หองปมน้ํา หอเก็บของเปนตัน

Page 90: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนพักเจาหนาท่ีเนื่องจาการบําบัด ตองใชบุคลากรในการรักษาผูปวยมากกวาปกต ิดังนั้น

สัดสวนในการรองรับที่พักของเจาหนาที่จึงมีมากไปดวย โดยจะใชอัตราสวนของศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูมาเปนเกณฑ สวนอาคารสวนกลาง ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้

อาคารเอนกประสงค สามารถใชเปนอาคารหอประชุมรวม โรงยิมในรม และพ้ืนที่จัดกิจกรรมอเนกประสงค ตาง ๆ สหกรณ รานขายของ เปนสวนที่ผูใชภายนอกและภายในสามารถใชรวมกันได โดยมีศูนยจําหนายอาหาร และ รานคาขายสินคาเพ่ือผูใชในโครงการ

Page 91: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

สวนที่จอดรถที่จอดรถเจาหนาที่พิจารณาจากจํานวนเจาหนาที่และอัตราการพักในโครงการที่จอดรถผูมาใชบริการ- ผูปวยนอก ใชบริการที่จอดรถในชวงเชา สวนมากเปนการมาสงผูปวยแบบ drop-off แลวมารับกลับเวลากลางวัน- ญาติที่มาเย่ียมผูปวยใน ใชบริการในชวงเย็นของวันธรรมดา และชวงทั้งวันของวันหยุดตางๆ