25
เคมีศึกษา อะตอม (Atoms) ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะว ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาว ทยาลัยราชภัฏสุร นทร์

(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

เคมีศึกษา

อะตอม (Atoms)

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

Page 2: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

เคมีศึกษา

เรื่อง อะตอม (Atoms)

สมาชิก

นางสาวเยาวภา สมฤทธิ ์ รหัสประจ าตวั 53191410201

นางสาวสมุาพร ดวงทอง รหัสประจ าตวั 53191410231

นางสาวไอลดา ศรีดา รหัสประจ าตวั 53191410242

นางสาวณฐัพร ขาวริาช รหัสประจ าตวั 53191410249

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2

เสนอ

อาจารย์สมพร จันทมัตตุการ

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2

Page 3: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

ประวตัิอะตอม (History of Atoms)

ตั้งแต่สมัยโบราณนักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของสสารเรื่อยมา จนถึงปัจจุบันนี้จากอุดมการณ์ ความคิด และการสะสมประสบการณ์ของนักวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาและเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้นักวิทยาศาสตร์ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของสสาร โดยค านึงถึงโครงสร้างของสสารนั้นๆ

Page 4: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

เมื่อประมาณ 400 ปีก่อนคริสตศักราชเดโมคริส นักวิทยาศาสตร์ชาวกรีก ได้น าเสนอแนวคิดแรกเกี่ยวกับอะตอม ต่อมาได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านด้วยกันที่ได้เล็งเห็นความส าคัญ และให้ความสนใจในเรื่องของอะตอม จึงได้ท าการทดลองอย่างหลากหลายวิธี โดยมีความสัมพันธ์กันไปอย่างต่อเนื่อง จากนั้นพบว่าอะตอมแต่ละอะตอมนั้นมีรูปร่างที่แตกต่างกัน

ประวตัิอะตอม (ต่อ) (History of Atoms)

Page 5: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

ผลจากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายๆท่าน ได้ให้ข้อมูลและอธิบายรูปร่างโครงสร้างของอะตอมอย่างลึกซึ้ง แต่ไม่ได้เหมือนกันมากนักเพียงแต่มีความสัมพันธ์กันบ้างเท่านั้น แต่ที่สรุปได้คลายคลึงกันมากนั้นก็คือ อะตอมมีรูปร่างลักษณะคล้ายทรงกลม ภายในบรรจุอนุภาคมูลฐานซึ่งประกอบไปด้วย โปรตอน(ประจุบวก) นิวตรอน และอิเล็กตรอน(ประจุลบ) เราสามารถจ าแนกและเรียงล าดับความส าคัญของอะตอมจากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้

ประวตัิอะตอม (ต่อ) (History of Atoms)

Page 6: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ ดาลตนั

รูปภาพ จอร์น ดาลตัน

Page 7: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

จากการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลในเรื่องของโครงสร้างอะตอมของจอห์นดาลตัน พบว่าโครงสร้างอะตอมของจอห์นดาลตันนั้นมีลักษณะเป็นทรงกลมตัน

รูปภาพ แสดงแบบจ าลองอะตอมของดาลตัน

โครงสรา้งอะตอมของ ดาลตนั(ตอ่)

Page 8: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ โจเซฟ จอหน์ทอมสนั

รูปภาพ โจเซฟ จอห์นทอมสัน

Page 9: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอม โจเซฟ จอห์นทอมสนั(ตอ่)

จากการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลในเรื่องของโครงสร้างอะตอมของ โจเซฟ จอห์น ทอมสันพบว่า อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมซึ่งประกอบไปด้วยอนุภาคของโปรตอนมีประจุเป็นบวก และอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ กระจายอยู่ทั่วไปอย่างสม่ าเสมอภายใอะตอม อะตอมที่สภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีจ านวนประจุบวกเท่ากับจ านวนประจุลบนั่นเอง

Page 10: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

รูปภาพ แบบจ าลองอะตอมของ ทอมสัน

โครงสรา้งอะตอม โจเซฟ จอห์นทอมสนั(ตอ่)

Page 11: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอม โจเซฟ จอห์นทอมสนั(ตอ่)

จากการทดลองที่ได้จากหลอดรังสีแคโทด ดังนี้ รังสีแคโทด - เป็นรังสีที่ได้จากขั้วโลหะแคโทด และแก๊สที่บรรจุ - เป็นรังสีที่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก และเบี่ยงเบนหาขั้วบวกของ สนามไฟฟ้า - เป็นรังสีที่มีประจุไฟฟ้าลบ เรียกว่า อิเล็กตรอน - เป็นรังสีที่มีมวลน้อยมาก และมีอัตราส่วนประจุต่อมวล (e / m) คงที่ในแก๊สทุกชนิด

Page 12: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอม โจเซฟ จอห์นทอมสนั(ตอ่)

รังสีที่มีอนุภาคบวก - เป็นรังสีที่ได้จากแก๊สบรรจุ - เป็นรังสีที่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก และเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วลบของสนามไฟฟ้า - เป็นรังสีที่มีมวลเปลี่ยนแปลงตามชนิดของแก๊สที่บรรจุจึงมีค่าอัตราส่วนประจุต่อมวล(e / m) ไม่คงที่ในแก๊สชนิดต่าง ๆ - เป็นรังสีที่มีประจุไฟฟ้าบวก เรียกว่า โปรตอน

Page 13: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ รัทเธอร์ฟอร์ด

รูปภาพ รัทเธอร์ฟอร์ด

Page 14: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ รัทเธอร์ฟอร์ด

รัทเทอร์ฟอร์ดจึงเสนอแบบจ าลองอะตอมขึ้นมาใหม่ ดังนี้ “อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลางกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมาก และมีประจุบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียส”

แบบจ าลองอะตอม รัทเทอร์ฟอร์ด

Page 15: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ นีลส์โบร์

รูปภาพ นีลส์โบร์

Page 16: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ นีลส์โบร์ (ต่อ)

แบบจ าลองอะตอมของ นีลส์โบร์

Page 17: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ นีลส์โบร์ (ต่อ)

จากความรู้เรื่องสเปกตรัม นีลส์โบร์ ได้เสนอแบบจ าลองขึ้นมาใหม่โดยปรับปรุงแบบจ าลองของรัทเทอร์ฟอร์ด เพ่ือให้เห็นลักษณะของอิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียสสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. อิเล็กตรอนจะอยู่กันเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นเรียกว่า "ระดับพลังงาน" 2. แต่ละระดับพลังงานจะมีอิเล็กตรอนบรรจุได้ดังนี้ จ านวนอิเล็กตรอน = 2n2

Page 18: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ นีลส์โบร์ (ต่อ)

3. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงนอกสุดเรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (Valent electron) จะเป็นอิเล็กตรอนที่เกิดปฏิกิริยาต่างๆ ได้ 4. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานวงในอยู่ใกล้นิวเคลียส จะเสถียรมาก เพราะประจุบวกจากนิวเคลียสดึงดูดไว้อย่างดี ส่วนอิเล็กตรอนระดับพลังงานวงนอก จะไม่เสถียร เพราะนิวเคลียสส่งแรงไปดึงดูดได้น้อยมาก อิเล็กตรอนพวกนี้จึงมีพลังงานสูงหลุดออกจากอะตอมได้ง่าย

Page 19: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

5. ระดับการพลังงานวงในจะอยู่ห่างกันมาก ส่วนระดับพลังงานวงนอกจะอยู่ชิดกันมาก 6. การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ไม่จ าเป็นต้องเปลี่ยนในระดับถัดกัน อาจเปลี่ยนข้ามระดับพลังงานกันก็ได้

โครงสรา้งอะตอมของ นีลส์โบร์ (ต่อ)

Page 20: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ กลุ่มหมอก

แบบจ าลองอะตอมของ กลุ่มหมอก

Page 21: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ กลุ่มหมอก

แบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก เนื่องจากแบบจ าลองอะตอมของนีลส์โบร์ (Niels Bohr) มีข้อจ ากัดที่ไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอน ได้มีการศึกษาเพิ่มเติมจนได้ข้อมูลที่เชื่อว่าอิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทั้งอนุภาคและคลื่น โดยเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในลักษณะของคลื่นนิ่ง บริเวณที่พบอิเล็กตรอนได้พบได้หลายลักษณะเป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน

Page 22: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ กลุ่มหมอก (ต่อ)

จากการใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการขึ้นเพื่อค านวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ พบว่าแบบจ าลองนี้อธิบายเส้นสเปกตรัมได้ดีกว่าแบบจ าลองอะตอมของฯนีลส์โบร์ โดยแบบจ าลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกกล่าวไว้ ดังนี้

1. อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม จึงไม่สามารถบอกต าแหน่งที่แน่นอนของอะตอมได้

Page 23: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ กลุ่มหมอก

2. มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านั้น ท าให้สร้างมโนภาพได้ว่าอะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส 3. บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง”

Page 24: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

โครงสรา้งอะตอมของ กลุ่มหมอก

สรุปโครงสรา้งอะตอมแบบกลุ่มหมอก อะตอมประกอบด้วยนิวตรอนอยู่ตรงกลางมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบโดยมีทิศทางไม่แน่นอนท าให้โอกาสจะพบมากที่สุดใกล้นิวเคลียส

Page 25: (6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม

ค.บ. เคมี 5/4 หมู่ 2 คณะวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย ี มหาวทิยาลยัราชภฏัสรุนิทร ์

จบการน าเสนอ