57
www.company.com เเเเเเเเเเเเเ 324-341 Electrogravimetry and Coulometry Company LOGO

Key ex eg cou

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Key ex eg cou

www.company.com

เฉลยแบบฝึกหัด -324341Electrogravimetry and Coulometry

Company LOGO

Page 2: Key ex eg cou

www.company.com

- 201 อธบิายความแตกต่างโดยสงัเขปสำาหรบัพจน์ต่อไปนี้ ก . โพลาไรเซชนัความเขม้ขน้ และโพลาไรเซชนัไคเนติกส์

2

โพลาไรเซชนัความเขม้ขน้ คือสภาวะซึ่งกระแสในเซลล์ไฟฟา้เคมถีกูจำากัดด้วยอัตราท่ีสารตัง้ต้นถกูนำาเขา้หรอืออกจากผิวขัว้โพลาไรเซชนัไคเนติกส ์คือสภาวะซึ่งกระแสในเซลล์ไฟฟา้เคมีถกูจำากัดด้วยอัตราท่ีอิเล็กตรอนถกูถ่ายโอนระหวา่งผิวขัว้และสารตัง้ต้นในสารละลาย สำาหรบัโพลาไรเซชนัแบบใดแบบหน่ึงท่ีกล่าวมา กระแสจะไม่ขึ้นกับเซลล์อีกต่อไป

Page 3: Key ex eg cou

www.company.com

- 201 อธบิายความแตกต่างโดยสงัเขปสำาหรบัพจน์ต่อไปนี้ ข. Amperostat และ Potentiostat

An amperostat คือแหล่งกระแสคงท่ีซึ่งจะรบัรูก้ารลดลงของกระแสในเซลล์และตอบสนองโดยการเพิม่ศักยท่ี์ใหก้ับเซลล์จนกระแสกลับไปสูร่ะดับเดิมA potentiostat คือเครื่องมอืท่ีรกัษาศักยข์องขัว้ในระดับคงท่ีตามท่ีกำาหนดไมว่า่ขนาดของกระแสของเซลล์จะเป็นเท่าใด

3

Page 4: Key ex eg cou

www.company.com

- 201 อธบิายความแตกต่างโดยสงัเขปสำาหรบัพจน์ต่อไปนี้ค . a coulomb และ a faraday

• ทัง้คลูอมบแ์ละฟาราเดยเ์ป็นหน่วยสำาหรบัปรมิาณประจุ หรอืไฟฟา้ โดยคลูอมบคื์อปรมิาณประจุท่ีถ่ายเทโดย

กระแสหนึ่งแอมแปรใ์นหน่ึงนาที สว่นฟาราเดยเ์ท่ากับ96 ,485 คลูอมบห์รอืหนึ่งโมลของอิเล็กตรอน

4

Page 5: Key ex eg cou

www.company.com

- 201 อธบิายความแตกต่างโดยสงัเขปสำาหรบัพจน์ต่อไปนี้ง. ขัว้ทำางานและขัว้ชว่ย

ขัว้ทำางานคือขัว้ท่ีเกิดปฏิกิรยิาท่ีใชใ้นการวเิคราะห์ ขัว้ชว่ยคือขัว้ท่ีไมม่ผีลต่อปฏิกิรยิาท่ีขัว้ทำางาน เพยีงแต่ทำา

หน้าท่ีง่าย ๆ ในการป้อนอิเล็กตรอนใหก้ับขัว้ทำางาน

5

Page 6: Key ex eg cou

www.company.com

- 201 อธบิายความแตกต่างโดยสงัเขปสำาหรบัพจน์ต่อไปนี้จ. วงจรอิเล็กโทรลิซสิและวงจรควบคมุสำาหรบัวธิีควบคมุศักย์

วงจรอิเล็กโทรลิซสิประกอบด้วยขัว้ทำางานและขัว้ชว่ยวงจรควบคมุจะกำาหนดศักยท่ี์ใหจ้นศักยร์ะหวา่งขัว้ทำางาน

และขัว้อ้างอิงในวงจรควบคมุคงท่ี และอยูใ่นระดับท่ีต้องการ

6

Page 7: Key ex eg cou

www.company.com

- 202 อธบิายพจน์ต่อไปนี้โดยสงัเขปก . ความหนาแน่นกระแส

ความหนาแน่นของกระแสคือกระแสท่ีขัว้หารด้วยพื้นท่ีผิว ของขัว้นัน้ โดยปกติจะมหีน่วยแอมแปรต่์อตารางเซนติเมตร

7

Page 8: Key ex eg cou

www.company.com

- 202 อธบิายพจน์ต่อไปนี้โดยสงัเขปข. ศักยโ์อหม์

• ศักยโ์อหม์ คือ ศักยท่ี์ต้องใชใ้นการใหเ้กิดกระแสในตัวนำามค่ีาเท่ากับกระแสในหน่วยแอมแปรค์ณูกับความต้านทานในหน่วยโอหม์ของตัวนำา

8

Page 9: Key ex eg cou

www.company.com

- 202 อธบิายพจน์ต่อไปนี้โดยสงัเขปค. การไทเทรตแบบคลูอมเมตรี การไทเทรตแบบคลูอมเมตรี คือวธิกีารวเิคราะหซ์ึ่งกระแส

คงท่ีท่ีทราบค่าใชใ้นการผลิตรเีอเจนต์ซึ่งทำาปฏิกิรยิากับสารท่ีวเิคราะหแ์ละวดัเวลาท่ีต้องใชใ้นการผลิตรเีอเจนต์ใหม้ากพอในการทำาปฏิกิรยิาใหส้มบูรณ์

9

Page 10: Key ex eg cou

www.company.com

- 202 อธบิายพจน์ต่อไปนี้โดยสงัเขปง. อิเล็กโทรลิซสิแบบควบคมุศักย์ อิเล็กโทรลิซสิแบบควบคมุศักย์ คือ อิเล็กโทรลิซสิซึ่งศักยค์า

โทดมกีารติดตามอยา่งต่อเนื่องเทียบกับขัว้อ้างอิงและปรบัศักยข์องเซลล์เพื่อรกัษาคาโทดไวท่ี้ระดับคงท่ีตามท่ีกำาหนด

10

Page 11: Key ex eg cou

www.company.com

- 202 อธบิายพจน์ต่อไปนี้โดยสงัเขปจ. ประสทิธภิาพของกระแส

ประสทิธภิาพของกระแส เป็นการวดัการสอดคล้องกันระหวา่งจำานวนฟาราเดยข์องกระแสและจำานวนโมลของสารตัง้ต้นท่ีถกูออกซไิดซห์รอืรดิีวซท่ี์ขัว้ทำางาน

11

Page 12: Key ex eg cou

www.company.com

- 202 อธบิายพจน์ต่อไปนี้โดยสงัเขปฉ. สมมูลในทางไฟฟา้เคมี

สมมูลในทางไฟฟา้เคมี คือการเปล่ียนแปลงทางเคมท่ีีสอดคล้องกับหน่ึงโมลของอิเล็กตรอน

12

Page 13: Key ex eg cou

www.company.com

-203 อธบิายกลไกสามประการท่ีใชใ้นการถ่ายเทสปีชสีท่ี์ ละลายไปยงั และออกจากผิวขัว้

• การถ่ายเทมวลในเซลล์ไฟฟา้เคมี อาศัยกลไกอันใดอันหนึ่งจากสามประการต่อไปน้ี

1) การแพร่ เกิดจากความแตกต่างของความเขม้ขน้ระหวา่งสารละลายท่ีอยูติ่ดกับผิวขัว้และสารละลายบลัค์

2) การไมเกรต เกิดจากแรงดึงดดูและแรงผลักทางไฟฟา้สถิตระหวา่งสปีชสีแ์ละขัว้

3) การคน เกิดจากการกวน สัน่ หรอืความแตกต่างของอุณหภมูแิละความหนาแน่น

13

Page 14: Key ex eg cou

www.company.com

- 204 การมกีระแสสง่ผลต่อศักยข์องเซลล์ไฟฟา้เคมอียา่งไร

เมื่อมกีระแสเกิดในเซลล์ไฟฟฟา้เคมี ศักยท่ี์วดัครอ่มขัว้ทัง้ สองจะไมใ่ชผ่ลต่างง่าย ๆ ระหวา่งศักยข์ัว้คาโทดและอาโนด

หรอืศักยข์องเซลล์เทอรโ์มไดนามกิสอี์กต่อไป จะมสีอง ปรากฏการณ์เกิดเพิม่ขึ้นมา นัน่คือ การตกของ IR และโพลา

ไรเซชนั ทำาใหต้้องใชศั้กยม์ากกวา่ค่าศักยเ์ทอรโ์มไดนามกิส์ในการใชง้านอิเล็กโตรลิติกเซลล์และทำาใหเ้กิดศักยน้์อยกวา่ทฤษฎีในกรณีเซลล์กัลวานิก

14

Page 15: Key ex eg cou

www.company.com

- 205 โพลาไรเซชนัความเขม้ขน้ และโพลาไรเซชนัไคเนติกสม์คีวามคล้ายคลึงกันและแตกต่างกันอยา่งไร

ทัง้โพลาไรเซชนัความเขม้ขน้และโพลาไรเซชนัไคเนติกสต่์างก็ทำาใหศั้กยข์องเซลล์เป็นลบมากกวา่ศักยเ์ทอรโ์มไดมกิส์โพลาไรเซชนัความเขม้ขน้เกิดจากอัตราท่ีสารตัง้ต้นหรอืผลิตภัณฑ์ถกูถ่ายเทเขา้หรอืออกจากผิวขัว้นัน้ชา้สว่นโพลาไรเซชนัไคเนติกสเ์กิดจากการท่ีอัตราของปฏิกิรยิาไฟฟา้เคมท่ีีผิวขัว้เกิดชา้

15

Page 16: Key ex eg cou

www.company.com

- 206 ตัวแปรทางการทดลองอะไรท่ีสง่ผลต่อ โพลาไรเซชนัความเขม้ขน้ในเซลล์ไฟฟา้เคมี

16

Page 17: Key ex eg cou

www.company.com

- 207 อธบิายสภาวะท่ีเสรมิใหเ้กิดโพลาไรเซชนัไคเนติกส ์ในเซลล์ไฟฟา้เคมี

17

Page 18: Key ex eg cou

www.company.com

- 208 วธิอิีเล็กโตรกราวเิมตรแีละคลูอมเมตรต่ีางจากวธิโีพเทนชโิอเมตรอียา่งไร

18

Page 19: Key ex eg cou

www.company.com

- 209 ระบุสามปัจจยัท่ีสง่ผลต่อลักษณะเฉพาะทางฟสิกิสข์องสารท่ีเกาะด้วยไฟฟา้

19

Page 20: Key ex eg cou

www.company.com

- 2010 คาโทดดีโพลาไรเซอรใ์ชท้ำาอะไร

20

Page 21: Key ex eg cou

www.company.com

- 2011 amperostat และ potentiostat มหีน้าท่ีอะไร

21

Page 22: Key ex eg cou

www.company.com

- 2012 อธบิายความแตกต่างระหวา่งคูลอมเมตรแีบบควบคมุกระแส (amperostatic coulometry) และคูลอมเมตรแีบบควบคมุศักย ์(potentiostatic coulometry)

22

Page 23: Key ex eg cou

www.company.com

20-13 เหตใุดปกติจงึต้องแยกขัว้ทำางานออกจากขัว้ชว่ยในการวเิคราะหค์ูลอมเมตรแีบบควบคมุศักย์

Page 24: Key ex eg cou

www.company.com

- 2014 ทำาไมโดยทัว่ไปจงึต้องใชส้ารชว่ย (auxiliary reagent) ในการไทเทรตแบบคลูอมเมตรี

24

Page 25: Key ex eg cou

www.company.com

- 2015 คำานวณจำานวนไอออนท่ีเกี่ยวขอ้งท่ีผิวของขัว้ในแต่ละวนิาทีท่ีเซลล์ไฟฟา้เคมทีำางานท่ี 0020. A และไอออนท่ีเกี่ยวขอ้งเป็นไอออนท่ีมปีระจุ ก . หนึ่ง ข . สอง ค . สาม

1623

1623

1723

101641002269648730200

3

102461002269648720200

2

10251100226964870200

9648702000200

...

e#iontrivalent#c

...

e#iondivalent#b

...e#ionunivalent#a

.f#

C.Q#

25

Page 26: Key ex eg cou

www.company.com

- 2016 คำานวณศักยต์ามทฤษฎีท่ีต้องใชใ้นการเริม่เกาะของ ก . ทองแดงจากสารละลายท่ีม ี 0150. M Cu2+ ซึ่งบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 3.00 เกิดออกซเิจนท่ีอาโนดท่ี 100.atm

V.E

.log..

Culog..E

HPlog.E

Culog.EE

cell

cell

O

cell

73880100011

40592022911

2059203370

14059201

205920

432

40

20

2

26

Page 27: Key ex eg cou

www.company.com

ข . ดีบุกจากสารละลายท่ี 0120. M Sn2+ ซึ่งบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 4.00 เกิดออกซเิจนท่ีคาโทดท่ี 770 ทอรร์

V.E

log...

log..E

HPlog.E

Snlog.EE

cell

cell

O

cell

15561

10760770

14059202291

12001

2059201360

14059201

205920

43

40

20

2

27

Page 28: Key ex eg cou

www.company.com

ค . ซลิเวอรโ์บรไมด์บนซลิเวอรอ์าโนดจากสารละลายท่ีม ี 00864. M Br- ซึ่งบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 3.00 เกิด

ไฮโดรเจนท่ีคาโทดท่ี 765 ทอรร์

V.E

.log../log..E

Brlog.E

H

Plog.EE

cell

.cell

Hcell

3370

086401059202291

10760765

2059201360

105920205920

2403

02

0 2

28

Page 29: Key ex eg cou

www.company.com

ง . Tl2O3 จากสารละลายท่ีม ี400. x10-3 M Tl+ ซึ่งบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 8.00 สารละลายได้จดัใหม้ ี 0010.M Cu2+ ซึ่งทำาหน้าท่ีเป็นคาโทดดีโพลาไรเซอรก์ระบวนการคือ Tl2O3(s) + 3H2O + 4e- 2Tl + 6-OH Eo = 0.020V

V.E

.log..

.log..E

OHTllog.E

Culog.EE

cell

cell

cell

34601010004

14059200200

01001

2059201360

14059201

205920

6623

620

20

29

Page 30: Key ex eg cou

www.company.com

20-17 คำานวณศักยเ์ริม่ต้นในการใหไ้ด้กระแส 0078. A ในเซลล์ Co/Co2+ (6.40x10-2 M)// Zn2+ (3.75x10-3 M)/Zn หากเซลล์นี้มคีวามต้านทาน 500.

V.E

...

log...

log..E

IRCo

log.EZn

log.EE

IREEE

cell

cell

cell

ancatcell

9130

0050780104061

2059202770

107531

2059207630

12059201

205920

23

20

20

30

Page 31: Key ex eg cou

www.company.com

20-18 เซลล์ Sn/Sn2+ (8.22x10-4)l//Cd2+ (7.50x10-2 M)/Cd มคีวามต้านทาน 395. คำานวณศักยเ์ริม่ต้นท่ีต้องใชใ้หไ้ด้กระแส 0.072 A ในเซลล์นี้

31

Page 32: Key ex eg cou

www.company.com

- 2019 ต้องการใหม้กีารเกาะของทองแดงจากสารละลายท่ีม ี0200. M Cu(ll) และบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 4.00 เกิดออกซเิจนจากอาโนดท่ีความดันยอ่ย

740 ทอรร ์เซลล์มคีวามต้านทาน 362 อุณหภมูิคือ 25oC คำานวณ

ก . ศักยต์ามทฤษฎีท่ีต้องใชใ้นการเริม่เกิดการเกาะของทองแดงจากสารละลายน้ีข . ค่าการตกของ IR ท่ีเกี่ยวขอ้งกับกระแส 010. A ในเซลล์น้ีค . ศักยเ์ริม่ต้น กำาหนดวา่ โอเวอรโ์วลเตจของออกซเิจนคือ 050. V ภายใต้สภาวะเหล่านี้ง . ศักยข์องเซลล์เมื่อ [Cu2+] คือ 800. x10-6 อนุมานวา่การตกของ IR และโอเวอรโ์วลเตจของออกซเิจนไม่เปล่ียนแปลง

32

Page 33: Key ex eg cou

www.company.com

- 2020 ต้องการใหม้กีารเกาะของนิเกิลบนคาโทดพลาตินัม (พื้นท่ี = 120ซม2 ) จากสารละลายท่ีม ี 0200. M Ni2+ และบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 2.00 เกิดออกซเิจนท่ีความดันยอ่ย

100. atm ท่ีอาโนดพลาตินัมซึ่งมพีื้นท่ี 80 ซม 2 เซลล์มคีวามต้านทาน 315. อุณหภมูคืิอ 25oC คำานวณ

ก . ศักยเ์ทอรโ์มไดนามกิสท่ี์จำาเป็นในการเริม่เกาะของนิเกิลข . ค่าการตกของ IR สำาหรบักระแส 110. Aค . ความหน่าของกระแสท่ีอาโนดและคาโทดง . ศักยท่ี์ใหใ้นตอนเริม่ต้น กำาหนดวา่โอเวอรโ์วลเตจออกซิเจนบนพลาตินัมมค่ีา ประมาณ 052. V ภายใต้สภาวะเหล่านี้จ . ศักยท่ี์ใหเ้มื่อความเขม้ขน้ของนิเกิลลดลงเป็น 200. x10-4 M

33

Page 34: Key ex eg cou

www.company.com

20-21 ต้องการใหม้กีารเกาะของซลิเวอรจ์ากสารละลายท่ีมี 0150. M Ag(CN)2

- 0.320 M KCN และบฟัเฟอร์ใหม้ ีpH 10.00 เกิดออกซเิจนท่ีอาโนดท่ีความดันยอ่ย 1.

00 atm เซลล์ม ีความต้านทาน 290. อุณหภมูิคือ 25 oC คำานวณ

ก . ศักยต์ามทฤษฎีท่ีต้องใชใ้นการเริม่เกิดการเกาะของซลิเวอรจ์ากสารละลายน้ีข . ค่าการตกของ IR ท่ีเกี่ยวขอ้งกับกระแส 012. A ในเซลล์นี้ค . ศักยท่ี์ใหใ้นตอนเริม่ต้น กำาหนดวา่ โอเวอรโ์วลเตจของ O2 คือ 080. V ภายใต้สภาวะเหล่าน้ีง . ศักยข์องเซลล์เมื่อ [Ag(CN)2

-] คือ 100. x10-5 M อนุมานวา่ไมเ่ปล่ียนแปลงในการตกของ IR และโอเวอรโ์วลเตจของ O2

34

Page 35: Key ex eg cou

www.company.com

V.E.

log....log..E

HPlog.E

)CN(AgCNlog.EE

V.OHeH)g(O

V.CN)s(Age)CN(Ag

EreactionHalfa

cell

cell

O

cell

940100011

4059202291

1500320005920310

140592005920

2291244

3102

44

2

40

2

0

22

2

0

2

35

Page 36: Key ex eg cou

www.company.com

V....EV.E

...

.log..Ed

V....Ec

V..A.IRb

appl

cell

cell

appl

332800350181181

5920229110001

320005920310

092800350940

350902120

5

2

36

Page 37: Key ex eg cou

www.company.com

- 2022 สารละลายม ี 0150. M Co2+ และ 00750. M Cd2+ ใหค้ำานวณ ก . ความเขม้ขน้ของ Co2+ ในสารละลายเมื่อแคดเมยืมตัวแรกเริม่เกาะ ข . ศักยค์าโทดท่ีต้องใชใ้นการลดความเขม้เขน้ของ Co2+ เป็น 100. x10-5 M

37

Page 38: Key ex eg cou

www.company.com

- 2023 สารละลายม ี 00500. M BiO+ และ 00400. M Co2+ ม ีpH 2.50 ใหค้ำานวณ

ก . ความเขม้ขน้ของแคทไอออนท่ีถกูรดีิวซไ์ด้ง่ายวา่มค่ีาเท่าใดในตอนท่ีตัวท่ีถกูรดีิวซย์ากเริม่เกาะ ข.ศักยค์าโทดมค่ีาเท่าใดเมื่อความเขม้ขน้ของสปีชสีท่ี์รดีิวสไ์ด้ง่ายกวา่คือ 100. x10-6 M

38

Page 39: Key ex eg cou

www.company.com

- 2024 ได้มกีารเสนอการวเิคราะหแ์บบอิเล็กโตรกราวเิมตรเีก่ียวขอ้งกับการควบคมุศักยค์าโทดในการแยก BiO+ และ Sn2+ ในสารละลายท่ีมี 0200. M ของแต่ละไอออนและบฟัเฟอรใ์หม้ ีpH 1.50 คำานวณ

ก . ศักยค์าโทดทางทฤษฎีท่ีต้องใชใ้นการเริม่เกิดการเกาะของไอออนท่ีถกูรดิีวซไ์ด้ง่ายกวา่ข . ความเขม้ขน้ท่ีเหลือของตัวท่ีถกูรดีิวซไ์ด้ง่ายกวา่ท่ีตอนเริม่ต้นของการเกาะของสปีชสีท่ี์ถกูรดิีวซไ์ด้ยากกวา่ค . เสนอชว่งศักยค์าโทด (เทียบกับ SCE) ท่ีต้องควบคมุหากเป็นไปได้ใหใ้ช ้10-6 M เป็นเกณฑ์ในการแยกท่ีสมบูรณ์ในเชงิปรมิาณ

39

Page 40: Key ex eg cou

www.company.com

- 2025 เฮไลด์ไอออนสามารถเกาะบนอาโนดซลิเวอรไ์ด้ดังปฏิกิรยิาAg(s) + X- AgX(s) + e-

ก . ถ้าใช ้100. x10-5 M เป็นเกณฑ์สำาหรบัการแยกท่ีสมบูรณ์ในเชงิปรมิาณ ในทางทฤษฏีจะเป็นไปได้หรอืไมใ่นการแยก Br- จาก I- โดยการควบคมุศักยอ์าโนดในสารละลายท่ีตอนแรกมแีต่ละไอออน 0250. Mข . ในการแยก Cl- และ I- จะเป็นไปได้หรอืไมใ่นทางทฤษฏีการแยก หากสารละลายในตอนแรกมแีต่ละไอออน

0250. Mค . หากการแยกเป็นไปได้ในขอ้ ก หรอื ข ใหห้าชว่งศักยอ์าโนดท่ีต้องใชใ้นการแยก (เทียบกับ SCE)

40

Page 41: Key ex eg cou

www.company.com

- 2026 สารละลายม ี 0100. M ของแคทไอออนท่ีถกูรดิีวซไ์ด้สองตัวคือ A และ B การขจดัสปีชสีท่ี์ถกูรดีิวสไ์ด้ง่ายกวา่คือ A จะพจิารณาวา่สมบูรณ์เมื่อ [A] ลดลงเหลือ 100. x10-5 M ค่าความแตกต่างของศักยข์ัว้มาตรฐานเท่าไรจงึจะทำาใหส้ามารถแยก A ออกไปโดยปราศจากการรบกวนจาก B หากกำาหนดใหป้ระจุของ A และ B เป็นดังนี้

  A Bก. 1 1ข. 2 1ค. 3 1ง. 1 2จ. 2 2ฉ. 3 2ช. 1 3ซ. 2 3ฌ. 3 3

41

Page 42: Key ex eg cou

www.company.com

20-27 คำานวณเวลาท่ีต้องใชใ้นการเกาะของ 0500. g Co(II) ภายใต้กระแส 0.961 A ในรูป ก . ธาตโุคบอลต์บนผิวคาโทด ข . Co3O4 บนอาโนด

min..t

Qt

itQ.coulomb#

..faraday#

..

.Comol#a

428609610

1637

16379648501700170104882

1048893585000

3

3

42

Page 43: Key ex eg cou

www.company.com

min..i

Qt

itQ

.Comol.

faradayemolComol

.Comol#

eHOCoOHCob

469609610

545

54596485104883210488

223

10488

2843

323

2

3

4322

Page 44: Key ex eg cou

www.company.com

- 2028 คำานวณเวลาท่ีต้องใชใ้น ภายใต้กระแส 1.20 A ในการเกาะของสารต่อไปนี้ ก . Tl(II) ในรูปธาตบุนคาโทด ข . Tl(II) ในรูป Tl2O3บนคาโทด ค . Tl(l) ในรูปธาตบุนคาโทด

44

Page 45: Key ex eg cou

www.company.com

20-29 สารตัวอยา่งกรดอินทรยีบ์รสิทุธิ ์ 0156. g นำามาสะเทินด้วยไฮดรอกไซด์ไอออนท่ีผลิตจากกระแสคงท่ี 00401. A เป็นเวลา 5นาที 24 วนิาที คำานวณนำ้าหนักสมมูลของกรด (มวลของกรดท่ีมีโปรตอน 1 โมล)

45

Page 46: Key ex eg cou

www.company.com

20-30 ความเขม้ขน้ของ CN- ในสารละลายสำาหรบัเคลือบ 100.ml หากได้โดยการไทเทรตกับไฮโดรเจนไอออนจนถึงจุดยุติเมทิลออเรนจ ์การเปล่ียนสเีกิดขึ้นหลังผ่านกระแส 434. mA เป็นเวลา 3 นาที

22 วนิาที คำานวณกรมัของ NaCN ต่อลิตรของสารละลาย

46

Page 47: Key ex eg cou

www.company.com

- 2031 HgNH3Y2- เกินพอถกูเติมลงไปใน 2500. ml ของนำ้าบอ่ หาความกระด่างของนำ้าในรูป ppm CaCO3 หาก EDTA ท่ีต้องใช้ในการไตเทรตถกูสรา้งขึ้นท่ีคาโทดปรอทโดยใชก้ระแส 316. mA เป็นเวลา 202. นาที

47

Page 48: Key ex eg cou

www.company.com

- 2032 I2 ท่ีผลิตโดยใชไ้ฟฟา้ นำามาหาปรมิาณH2S ในนำ้าตัวอยา่ง 1000. ml เมื่อเติม KI มากเกินพอ การไตเทรตต้องใชก้ระแส 3632. mA เป็นเวลา 1012. นาที ปฏิกิรยิาคือ H2S

+ I2 S(s) + 2H+ + 2I- แสดงผลการวเิคราะหใ์นรูป ppm H2S

48

Page 49: Key ex eg cou

www.company.com

20-33 ไนโตรเบนซนีในของผสมอินทรยี ์ 210mg ถกูรดิีวซไ์ปเป็นฟีนิลไฮดรอกซลิเอมนีท่ีศักยค์งท่ี - 096. V (เทียบกับขัว้อ้างอิง SCE) ของคาโทดปรอท C6H5NO2 + 4H+ +4e- C6H5NHOH + H2O ละลายสารตัวอยา่งในเมทานอล 100ml หลังจากแยกสลายด้วยไฟฟา้เป็นเวลา 30 นาทีก็ระบุได้วา่ปฏิกิรยิาสมบูรณ์ คลุอมมเิตอรไ์ฟฟา้ท่ีต่อกับเซลล์ระบุวา่การรดัีกชนัต้องใช ้ 2674. C คำานวณเป็นเปอรเ์ซน็ต์ C6H5NO2 ในตัวอยา่ง

Page 50: Key ex eg cou

www.company.com

- 2034 ฟนีอลในนำ้าจากเตา วเิคราะหไ์ด้โดยใชว้ธิคีลูอมเมตร ีสารตัวอยา่ง 100ml ถกูนำามาทำาใหเ้ป็นกรดเล็กน้อย แล้วเติม KBr มากเกินพอ แล้วผลิต Br2 จากปฏิกิรยิา C6H5OH + 3Br2 Br3C5H2OH(s) + 2HBr โดยใชก้ระแสคงท่ี 00313. A เป็นเวลา 7 นาทีและ 33 วนิาที แสดงผลของการวเิคราะหใ์นรูปสว่นของ C6H5OH ต่อนำ้าล้านสว่น (อนุมานวา่ความหนาแน่นของนำ้าคือ 100.g/ml)

50

Page 51: Key ex eg cou

www.company.com

20-35 ท่ีศักย ์- 10. V (Vs, SCE) CCl4 ในเมทานอลถกูรดีิวซเ์ป็น CHCl3 ท่ีคาดทดปรอท: 2CCl4 + 2H+ + 2e- +2Hg(e) 2CHCl3 + Hg2Cl3(s) ท่ี - 180 V CHCl3 ทำาปฏิกิรยิาต่อไปได้เป็น CH4: 2CHCl4 + 6H+ + 6e- +6Hg(e) 2CH4 + 3Hg2Cl2(s) สารตัวอยา่ง 0750 g ม ีCCL4 และสปีชสีอิ์นทรยีเ์ฉื่อยนำามาละลายในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟา้ - 10. V จนกระทัง่กระแสมค่ีาใกล้ 0 คลูอมมเิตอรร์ะบุวา่ต้องใช ้ 1163 C ในการทำาปฏิกิรยิาสมบูรณ์ จากนัน้ศักยข์องคาโทดถกูปรบัใหเ้ป็น - 18. V โดยที่ในการทำาการไทเทรตสมบูรณ์ท่ีศักยน์ี้ต้องใชอี้ก 686. C คำานวณเปอรเ์ซน็ต์ CCl4 และ CHCl3 ในของผสม

51

Page 52: Key ex eg cou

www.company.com

- 2036 สารตัวอยา่ง 01309. g มเีฉพาะ CHCl3 และ CH2Cl2 นำามาละลายในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟา้ในเซลล์ท่ีมคีาโทดปรอท ศักยข์องคาโทดถกูรกัษาไวใ้หค้งท่ีท่ี - 180. V (Vs, SCE) สารทัง้สองถกูรดิีวสไ์ปเป็น CH4 (ดปูฏิกรยิาในขอ้ -2025) คำานวณเปอรเ์ซน็ต์ CHCl3 และ CH2Cl2 หากต้องใช ้ 3067. C ในการทำาให้รดัีกชนัสมบูรณ์

52

Page 53: Key ex eg cou

www.company.com

Example Bullet Point slide• Bullet point

– Sub Bullet

Company LOGO

53

Page 54: Key ex eg cou

www.company.com

Example of a chart

0102030405060708090

1st Qtr 2nd Qtr 3rd Qtr 4th Qtr

EastWestNorthSouth

Company LOGO

Page 55: Key ex eg cou

www.company.com

Picture slide• Bullet 1• Bullet 2

Company LOGO

Page 56: Key ex eg cou

www.company.com

Examples of default styles• Text and lines are like this• Hyperlinks like this• Visited hyperlinks like this

Table

Text box Text boxWith shadow

Company LOGO

Page 57: Key ex eg cou

www.company.com

Use of templatesYou are free to use these templates for your personal and business presentations.

Do Use these templates for your

presentations Display your presentation on a web

site provided that it is not for the purpose of downloading the template.

If you like these templates, we would always appreciate a link back to our website. Many thanks.

Don’t Resell or distribute these templates Put these templates on a website for

download. This includes uploading them onto file sharing networks like Slideshare, Myspace, Facebook, bit torrent etc

Pass off any of our created content as your own work

You can find many more free templates on the Presentation Magazine website

www.presentationmagazine.com

We have put a lot of work into developing all these templates and retain the copyright in them. They are not Open Source templates. You can use them freely providing that you do not redistribute or sell them.

Company LOGO