25
1 new politics 1 new politics 1 โดย อาจารย์สู่ดิน ชาวหินฟ้า สาขาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก

New politcs01[3]

  • Upload
    sawinee

  • View
    588

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: New politcs01[3]

1

new politics 1new politics 1โดย อาจารย์สู่ดิน ชาวหนิฟ้าสาขาสื่อสารมวลชน คณะนเิทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก

Page 2: New politcs01[3]

2

ธรรมชาติของสังคมไทย(1) ความเชื่อเรื่องกรรม และผลวบิากของกรรม

-ทำาดี ได้ดี ทำาช่ัวได้ช่ัว-การสาปแช่ง

(2) ความกตัญญูรู้คุณ-แม่ 4 (แม่ธรณ ีแม่คงคา แม่โพสพ แม่ของเรา)-สถาบันพระมหากษัตริย์

(3) การผกูขาด หรืออภิสิทธ์ิ-ระบบทุน (ทุนอภิสิทธิ์ ทุนองิอำานาจรัฐ ทุนผูกขาด และ ทุนเสร)ี-อำานาจ

(4) อุปนิสัยนำำาเน่า: "มักง่าย งมงาย ไร้วินัย ใฝอ่บายมุข สุขระเรงิ เหลิงอำานาจ

ทาสริษยา บ้าบารม"ีนำำาดี: "เรียบง่าย ใฝ่สาระ สัจจะตรง โปร่งใส ไร้อบายมุข

สุขพอเพียง เลี่ยงริษยา ทานบารมี"

Page 3: New politcs01[3]

3ภาคส่วนทางการเมือง

การเมืองทอ้งถ่ิน

การเมืองภาคประชาชน

การเมือง ภาคเอกชน

การเมืองภาครัฐ

ความสัมพันธ์ 3 ดา้น

1.อำานาจสิทธิ

2. ภารกจิ หน้าท่ี รับผดิชอบอิสรภาพ

3.ความจงรักภักดีเสรีภาพ

Politics Vision

Page 4: New politcs01[3]

4

ผลประโยชน์ profit

จรรยาบรรณEthics

วิกฤติปัญหา

Conflict Crisis

สื่อมวลชน(Mass Media

Communication)

การแพร่กระจายข่าวสารMedia Process

ประเด็นเป็นข่าว(Topic / issue)

สถานการณ์ถูกตอ้งเป็นจริง

ชอบธรรม

Page 5: New politcs01[3]

5

NORMINEE & REPRESENTATIVE:คนจน คนรับจ้าง :ขา้ราชการ ขนุนาง กฎุมพี:รัฐตำารวจ นปก./นปช.

ศาสนา

::คนบา้ คนเมา ::คนขีำเกยีจ::คนขีำโกง

::เด็ก ::คนแก ่::คนปว่ย ::คนพกิาร ::คนไร้ความสามารถ

กษัตริย์

สื่อมวลชน Mass MediaCommunication

ชาต/ิประชาชน

ตรวจ

สอบ

ปฏเิส

ธการ

ตรวจ

สอบ

ปฏิเสธ -ต่อต้าน - ทำาลาย

สร้างกำาแพงปฏเิสธ

PAD :นักวิชาการ / ปัญญาชน:คนชัำนกลาง / นักธุรกจิเล็ก :มนุษย์เงินเดือน:อุดมการณ์ ชาติ ศาสนา สถาบัน

THAKSINOMICSGOVT. (TYRANT):อำานาจ + เงิน + กฎหมาย:นักการเมืองช่ัว:ทุนสามานย์ (ทนุอภิสิทธ์ิ ทนุผูกขาด ทนุอิงอำานาจรัฐ)

Page 6: New politcs01[3]

6

การซืำอเสียง เป็นวงจรอุบาทว์ยิ่งซืำอ คนจน ยิ่งจนลง ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ คนรวย ยิ่งรวยขึำน ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ เพราะอะไร

Politics Vision

Page 7: New politcs01[3]

7

ซืำอ-แจก10%

คนจนรากหญา้

โง่กลัว

เลือก

ภาษี100%

โกง30%

เงนิเดือนข้าราชการ

60%

พัฒนาประเทศ10%

ตัวเอง20%

อำานาจอภิสิทธิ์

เงินนอกระบบ

NBTมอมเมาบิดเบือน

บ้า ปว่ยอ่อนแอ

เห็นแกต่ัว ขีำเกยีจ

ธุรกิจเล็กปัญญาชนคนเมือง

ฉลาดพธม.

(PAD)ขับไล่

ASTV

เด็ก คนแก่ คนปว่ย

คนพิการ คนไรค้วามสามารถ คนบา้

คนขีำเกียจคนขีำโกง

ขา่วลือ

ตำารวจนปก.

ผู้แทนรฐับาลโจรสามานย์

Page 8: New politcs01[3]

8

สงครามปัจจุบัน เป็นสงครามระหวา่งกลุ่มชนชัำนกลาง–ทุนเล็ก

(พันธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย.: PAD) กับ กลุ่มทุนอภิสิทธ์ิชน–ทุนใหญ ่

(ระบอบทักษิณ: TAKSINOMICS)สู้รบกันด้วย

(1) สื่อ(2) กระบวนทัศน์ วิสยัทัศน์(3) ความจริง ความถูกต้อง ความชอบธรรม จริยธรรม(4) ยุทธศาสตร์การตอบโต้(5) การสนับสนุนจากแนวหลัง

ยุทธศาสตร์การต่อสู้เพ่ือการเมืองใหม่

Page 9: New politcs01[3]

9

บิดเบือน ทำาลายไขความจริง

ความจริง ความถูกต้อง ชอบธรรม จริยธรรม

มักง่าย งมงาย ไร้วนิัย ใฝ่อบายมุข สุขระเริง เหลงิอำานาจ ทาสริษยา บ้าบารมี

เรียบง่าย ใฝส่าระ สัจจะตรง โปร่งใส ไร้อบายมขุ สุขพอเพียง เลี่ยงริษยา ทานบารมี

กระบวนทัศน ์วิสยัทัศน์

NBT กรมประชาสัมพันธ์ ทหารASTVสื่อ

ระบอบทักษิณ ทุนนยิมสามานย์ (TAKSINOMICS)

พันธมิตรประชาชนเพือ่ประชาธิปไตย (PAD)

เคร่ืองมือ

ยุทธศาสตร์การต่อสู้เพ่ือการเมืองใหม่

Page 10: New politcs01[3]

10

อำานาจ กำาลงั ความรุนแรง ยุทธศาสตร์เลียนแบบ PAD

สงบ สันติ อหงิสา อาริยะขัดขนื

ยุทธศาสตร์ตอบโต้

ทุนอภิสิทธ์ิ ทุนอิงอำานาจรัฐทุนผกูขาด (ซืำอ จ้าง)

คนชัำนกลาง (มนุษย์เงินเดือน) ประชาชน (เสียสละ)

การสนับสนุนจากแนวหลัง

ระบอบทักษิณ ทุนนยิมสามานย์ (TAKSINOMICS)

พันธมิตรประชาชนเพือ่ประชาธิปไตย (PAD)

เคร่ืองมือ

ยุทธศาสตร์การต่อสู้เพ่ือการเมืองใหม่

Page 11: New politcs01[3]

11

สถานการณ์ปัจจุบัน: ที่นี ่ประเทศ ไทย ยุคแตกแยกความคิด

เป้าหมาย:+ ผดุงประโยชนต์นและพวกพ้อง+ ปฏิเสธ สถาบันกษัตริย์ ทหาร

ศาลสถิตยุตธิรรม+ สถาปนาระบอบการเมืองใหม่

โลกานวัุตรเผด็จการทางรัฐสภา

+ ประเทศไทยมิใช่ของฉัน

เอาตัวรอดไว้ก่อนพร้อมที่จะเข้าข้างฝา่ยที่ได้เปรียบ

เป้าหมาย:+ ผดุง 3 สถาบัน+ ล้มลา้งระบอบทุนสามานย์+ สร้างการเมืองใหม่

ประชาภิวัฒน์ตุลาการภวัิฒน์พอเพียงภิวัฒน์

ระบอบทักษณิ (TASKINOMICS) ฝา่ยเป็นกลาง

พันธมติรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย (PAD)

Page 12: New politcs01[3]

12

+ ความรัก ภกัดี มาจากการซืำอ ดว้ยเงิน ตำาแหน่ง ผลประโยชน์

+ จงรักภักด ีตอ่ผู้ที่ให้ผลประโยชน์

+ ความรัก ภกัดี มาจาก จิตสำานกึ “มาทำาหนา้ที ่ ใช้หนีำแผ่นดิน และมาทำาบุญ”

+ วัตถุ-จักรกล แยกกับ จิตใจ+ ติด 4ส. “สุข สวย สะดวก สบาย”

+ ชีวิตเป็นองค์รวมของ กาย จิต อารมณ์ สังคม ชุมชน สิ่งแวดลอ้ม

+ ยึดส่วนตัวเป็นศูนย์กลาง (dogmatist)

+ ยึดความสะดวกเป็นศูนย์กลาง

+ ยึดส่วนรวมเป็นศนูย์กลาง

ชุดความคิด (paradigm):ชุดความคิด (paradigm):

ระบอบทักษณิ (TASKINOMICS) ฝา่ยเป็นกลาง

พันธมิตรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย (PAD)

สถานการณ์ปัจจุบัน: ที่นี ่ประเทศ ไทย ยุคแตกแยกความคิด

Page 13: New politcs01[3]

13

เงิน = “ตัวตน” ของความสุขเงิน = “เครื่องมือ” สรา้งความสุข

+ ได้เปรียบ คอื กำาไร+ เสียเปรียบ = ขาดทุน+ เสียสละ คือ กำาไร

+ แก้ปัญหาด้วย กำาลัง อำานาจ+ ใช้ เงิน แก้ปัญหา+ แก้ปัญหาด้วย สันติ อหิงสา

+ 3 กลวั (การตรวจสอบ ความถูกต้อง ยุตธิรรม)

สติ เจรจาพบกันคร่ึงทางหันหน้าเขา้หากัน

+ ชัดเจน โปร่งใส ยุตธิรรม

ชุดความคิด (paradigm):+ แก้ปัญหาดว้ย ชุดความคิด (paradigm):

+ “เงิน” คือ อำานาจการขับเคลื่อน+ “เงิน” คือ พระเจ้า+ “เงิน” คือ สัญลักษณ์ในการสนบัสนุน

+ เช่ืออำานาจคณุไสย+ เช่ือวิบากกรรม

ระบอบทักษณิ (TASKINOMICS) ฝา่ยเป็นกลาง

พันธมติรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย (PAD)

สถานการณ์ปัจจุบัน: ที่นี ่ประเทศ ไทย ยุคแตกแยกความคิด

Page 14: New politcs01[3]

14

+ ใช้หลกันิตศิาสตร์ ปกครอง+ สนบัสนุนหลกั สงัคมศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ปกครอง

สัญลักษณ์การต่อสู้:+ ตืนตบ - เสืำอแดง+ ซืำออำานาจบังคบัดว้ย

เงิน ตำาแหนง่ ผลประโยชน์+ ยุทธศาสตร์เลียนแบบ ซืำอ จ้าง

+ กลัว+ อคติ

สัญลักษณ์การต่อสู้:+ มือตบ - เสืำอเหลือง+ อารยะขัดขืน

(civil disobedience)

+ ยุทธศาสตร์มวลชน เสียสละ

พลังสนบัสนนุ:+ ทักษิณ ชินวัตร+ รัฐบาลหุ่นเชิด (nominee)+ รัฐตำารวจ (Police State)+ ผูน้ำาทหาร (บางส่วน)

+ สื่อมวลชน+ ไม่รู้ + ไม่ไดร้ับข่าวสาร

พลังสนบัสนนุ:+ เครือข่ายประชาชน

ทุกชนชัำน+ นักธรุกจิขนาดเลก็

ระบอบทักษณิ (TASKINOMICS) ฝา่ยเป็นกลาง

พันธมติรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย (PAD)

สถานการณ์ปัจจุบัน: ที่นี ่ประเทศ ไทย ยุคแตกแยกความคิด

Page 15: New politcs01[3]

15

พฤตกิรรมการชุมนมุ: ล้อเลยีน ตอบโต ้พธม.1. เวทีสาธารณะ กทม.

("ม็อบสนามหลวง" หรือ"ม็อบตนีตบ")

2. กลุม่จัดตัำงจากการจ้างจากความภักดี เพื่อตอบโต้ ทำาลาย(รัฐตำารวจ, นปก.)

1. กลุม่รับรู้ข่าวสาร จาก 2 ฝา่ย

2. กลุม่รับรู้ข่าวสารจากฝ่ายเดียว

แตป่ฏเิสธการชุมนมุเพราะ+ กลวัเสียทรัพย์ เสียสวัสดภิาพ เสียหน้า+ ไม่ไดป้ระโยชน์

ตอบแทน+ ต้องการรักษา

สถานภาพเดิม

พฤตกิรรมการชุมนมุ: 3 แบบ ตรวจสอบรัฐบาล1. เวทีสาธารณะ กทม.

("ม็อบทำาเนียบ" หรือ"ม็อบราชดำาเนนิ" หรือ"มหาวิทยาลยัราชดำาเนนิ")

2. เวทีสาธารณะคู่ขนาน ตา่งจังหวัด ต่างประเทศ("ม็อบคู่ขนาน")

3. เวทีหนา้จอทีวี/วิทยุ ทีบ่้าน ทีท่ำางาน("สภาหน้าจอ" หรือ"กู้ชาตหิน้าจอ")

ระบอบทักษณิ (TASKINOMICS) ฝา่ยเป็นกลาง

พันธมติรประชาชนเพ่ือประชาธิปไตย (PAD)

สถานการณ์ปัจจุบัน: ที่นี ่ประเทศ ไทย ยุคแตกแยกความคิด

Page 16: New politcs01[3]

16

“ทุกคนก็เป็นมนุษย ์มีกิเลส ท่ีอยากได้ อยากมี อยากเป็น” “แต่ถา้รู้จักพอ รู้จักพ่ึงตนเอง และพ่ึงพาคนรอบขา้ง ในบางเรื่อง”“รู้จักประมาณตัวเอง ในบางครัำง และปฏิเสธบ้าง ในบางคราว”“ไมส่ร้างความเดือดร้อนใหก้ับคนรอบข้าง ในทุกๆ เรื่อง”“แล้วเราจะฝันเหน็สังคมท่ีดีกวา่นีำ ไม่ได้หรือ”

Page 17: New politcs01[3]

17

New Politics:

การเลือกตัำง

ประโยชน์ของประชาชน

จริยธรรม+อาริยะขดัขืน

free & fare

เสียเปรียบ /เสียสละ

จิตสาธารณะจิตสำานึกส่วนร่วม

Old Politics:

การเลือกตัำง

ประโยชน์ของตัวแทน

หน้าท่ี + กำาลงั

ผกูขาด/อภิสิทธ์ิ (ทุนสามานย์)

ได้เปรียบ

จติทาสจิตสำานึกภักดี บุญคุณ

สญัลักษณ์

แก่นสาระ

อำานาจ

การแขง่ขัน

กำาไร

พัฒนา

Politics Vision

Page 18: New politcs01[3]

18

Old Politics: New Politics:

ผู้ปกครอง

ประชาชน

ผู้ปกครอง

ประชาชน

อำานาจ

อำานาจสั่งการขึำนอยู่กับนกัการ

เมือง

อำานาจ

คำาสั่งขึำนอยู่กบัปวงชน

Politics Vision

Page 19: New politcs01[3]

19

การเมืองใหม่ การเมืองเก่า

การเมือง ประชาธิปไตยเชงิคุณภาพ ประชาธิปไตยเชงิปริมาณ(quality democracy) (quantity democracy)

การเมืองภาคประชาชน การเมืองระบบตัวแทน(participative democracy) (agency democracy)

การปกครอง หลักธรรมาภิบาล หลักการตลาด (ธุรกิจ+อำานาจ)(Good governance) IMC, Marketing Strategy

พฤติกรรม ความหลากหลายของมวลชน มวลชนจัดตัำงมวลชน (mass) (mob)

ประชาธิปไตยมวลชน ประชาธิปไตยนับหวั(mass democracy) (mob democracy)

ยุทธศาสตร์การต่อสู้เพ่ือการเมืองใหม่

Page 20: New politcs01[3]

20

70-30 คืออะไรเลือกตัำงท่ัวไป 30% ท่ีเหลือ 70% เลือกจากกลุ่มอาชพีท่ีหลากหลาย

เพ่ือเฉลี่ยความเป็นตัวแทนใหท่ั้วทุกกลุ่ม เป็นการเมืองภาคประชาชน (ให้มีตัวแทนหลายๆ กลุ่ม มใิชค่นกลุ่มเดียว หรือคนพวกเดียวกัน)

การเลือกตัำง 30% เปรียบเหมือน ร้านขายขา้วราดแกง เป็นจาน แต่มีแกงใหเ้ลอืกตามท่ีเขาจัดให้ (เลือกอย่างอืน่ไม่ได้) เหมือนพรรคการเมือง ท่ีเสนอผูแ้ทนของพรรค ใหป้ระชาชนเลือก (จะเลอืกคนอื่นไม่ได้) ส่วนการเลือกตัำงแบบ 70% เปรียบเหมือน ร้านขายข้าวตามสั่ง ท่ีคนกนิ (ประชาชน) อยากกนิอาหารอร่อยๆ ตามท่ีต้องการ

จากการเลือกตัำง ส.ส. หลายครัำงที่ผา่นมา ในบัตรเลอืกตัำง จะมีช่อง "ไม่เลอืก" NO VOTE ให้ประชาชนกา เมื่อไม่อยากได้ผูแ้ทนตามที่พรรคส่งมา

ยุทธศาสตร์การต่อสู้เพ่ือการเมืองใหม่

Page 21: New politcs01[3]

21

จากฐานคดิ 2 แนว สู่ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง

Sufficient Economy

พอเพียง = Sufficiency

ความต้องการDemand

การตอบสนองความต้องการSupply

ความต้องการ พืำนฐานStandard/Original Needs

ความต้องการ ส่วนเกิน Redundancy / Desire

เศรษฐศาสตร์การเมืองใหม่

Page 22: New politcs01[3]

22

พอเพียง = Sufficiency

ความต้องการDemand

การตอบสนองความต้องการSupply

ความต้องการ พืำนฐานStandard / Original Needs

ความต้องการ ส่วนเกิน Redundancy / Desire

ความต้องการแท้จริง

ความต้องการด้านความเช่ือถือ ความต้องการในถิ่นอาศัย ความต้องการด้าน สวัสดิภาพชีวิต และทรัพย์สิน ความต้องการด้านสุขภาพกาย

Being Needs

Self–actualization

Esteem Needs

Belonging Needs

Safety Needs

Physiological Needs

Deficit Needs

Page 23: New politcs01[3]

23

พอเพียง = Sufficiency

ความต้องการDemand

การตอบสนองความต้องการSupply

ความต้องการ พืำนฐานStandard/Original Needs

ความต้องการ ส่วนเกิน Redundancy / Desire

1- = 10

1- = 11

0- = 01

0- = 00

Page 24: New politcs01[3]

24

การบริโภค (Consumption)

-การบริโภค “แบบสวาปาม” (Mass Consumption)

-การบริโภค “แบบพอประมาณ” (Fairly Consumption)

-การบริโภค “แบบพึ่งพา” (Inhibition Consumption)

เศรษฐศาสตร์การเมืองใหม่

Page 25: New politcs01[3]

ของดีก่อนจาก ของฝากกอ่นลา(๑)

ทรัพย์ของ คนบุญ มี “ค่า” สูงกวา่ ทรัพย์ของ คนบาปทรัพย์ของ คนบาป ม ี“ราคา” แพงกว่า ทรัพย์ของ คนบุญ

ดังนัำน ...

ขา่ว–สาระ ของ “คนทำาดี”มี “ค่า” สูงกว่า ข่าว–สาระ ของ “คนทำาเลว”

ขา่ว–สาระ ของ “คนทำาเลว”มี “ราคา” สูงกวา่ ขา่ว–สาระ ของ “คำาทำาดี”