45
1 การบาดเจ็บบริเวณช่องท้อ แกรม แมคเกรเกอร์ , รท., WA ANG พยาบาลดูแลฉุกเฉินในการขนส่งทา งอากาศ

Abdominal Trauma (Thai)

Embed Size (px)

Citation preview

1

การบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง

แกรม แมคเกรเกอร์, รท., WA ANG

พยาบาลดแูลฉุกเฉินในการขนส่งทางอากาศ

2

ช่องท้อง

อวัยวะที่อยู่ระหว่างกะบังลม และเชิงกราน

การประเมินการบาดเจ็บทำาได้อยากเพราะมี

อวัยวะหลายอย่างและโครงสร้างหลากหลาย

3

กายวิภาคศาสตร์ของช่องท้อง

ช่องท้องแบ่งออกเป็นสี่ส่วนเท่าๆกันโดยลากเส้นแนวตั้งตัดผ่านกลางลำาตัวและเส้นแนวขวางที่สะดือ

บอกตำาแหน่งของอวัยวะตามที่อยู่ในตำาแหน่งส่วนที่แบ่งออกเป็นสี่แต่ละส่วน

4

กายวิภาคศาสตร์ช่องท้องส่วนขวาบน

–ตับ–ถุงนำ้าดี –ไตด้านขวา–ลำาไสใ้หญ่แนวตั้ง–ลำาไสใ้หญ่แนวนอน

5

กายวิภาคศาสตร์ของช่องท้อง สว่นซ้ายบน

– ม้าม– กระเพาะอาหาร– ตบัอ่อน– ไตข้างซา้ย– ลำาไส้ใหญ่แนวนอน– ลำาไส้ใหญ่แนวตัง้

6

กายวิภาคศาสตร์ของช่องท้อง สว่นขวาล่าง

– ลำาไส้ใหญ่แนวตัง้– ไส้ติง่– รังไข่ข้างขวา (เพศหญิง)

– ท่อทางเดินไข่ข้างขวา (เพศหญิง)

7

กายวิภาคศาสตร์ช่องท้อง สว่นซ้ายล่าง

– ลำาไส้ใหญ่แนวตัง้– ขดลำาไส้ใหญ่ – รังไข่ข้างซา้ย (เพศหญิง)

– ท่อทางเดินรังไข่ข้างซ้าย (เพศหญิง)

8

กายวิภาคศาสตร์ช่องท้อง การแบ่งประเภทของอวัยวะ

– กลวง– ตนั– เส้นเลือดสำาคัญ

9

อวัยวะตัน ตับ ม้าม ไต ตับอ่อน

เมื่ออวัยวะตันได้รับบาดเจ็บจะทำาให้ตกเลือดปริมาณมากเป็น

สาเหตุให้เกิดภาวะช็อก

10

อวัยวะตัน ตับ

– เป็นอวยัวะในช่องท้องที่ขนาดใหญ่ที่สุด– มีการบาดเจ็บได้บ่อยที่สุด– อยู่ประมาณกระดกูซี่โครงซีท่ี ่8-12 ด้านขวา– การตกเลือดอาจเป็นไดท้ั้ง:

ช้า, คั่งอยู่ในถุงหุ้ม ไหลสู่โพรงเยื่อบุช่องทอ้ง

11

อวัยวะตัน ม้าม บาดเจ็บได้บ่อย

อยู่ประมาณกระดูกซี่โครงซี่ที่ 9-11ซ้าย– ตกเลอืดง่าย– ถงุหุม้รอบม้ามทำาให้ชะลออาการชอ็กช้าลง– จะชอ็กอย่างรวดเร็วเมื่อถุงหุม้แตก

12

อวัยวะตัน

ตับอ่อน– พาดอยู่บนกระดูกสันหลังช่วงเอว (lumbar

spine)

– การหยุดกระทันหนัในระหว่างยืนกางขาทำาให้เกิดแรงกระแทกตอ่ตับอ่อนได้

– มีเลือดไหลซึมน้อย– เมื่อเอนไซม์ที่ชว่ยย่อยรัว่ซึมเขา้สู่ช่องหลังเยื่อบุ

ชอ่งท้องจะทำาให้เกิดการช็อกเนื่องจากสูญเสียปริมาณเอนไซม์

13

อวัยวะกลวง กระเพาะอาหาร ถุงนำ้าดี ลำาไส้ใหญ ่เล็ก ท่อไต, กระเพาะปัสสาวะ

การแตก ทำาให้สิง่ที่บรรจุอยู่ขา้งในรั่วทะ

ลักออกมา, เกิดการอักเสบ ในเยื่อบุช่องท้อง

14

อวัยวะกลวง กระเพาะอาหาร

– กรด, เอนไซม์– เยื่อบุชอ่งท้องอกัเสบทันที– เจ็บปวด, กดเจ็บ, ท้องเกรง็หรือต้านมือ,

ท้องแข็ง

15

อวัยวะกลวง ลำาไส้ใหญ ่

– การไหลทะลักของแบคทีเรยี– อาจใช้เวลาถงึ 6

ชัว่โมงในการทำาให้เกิดเยื่อบุชอ่งท้องอักเสบ ลำาไส้เล็ก

– มีแบคทีเรียน้อยกว่า– อาจใช้เวลา 24-48

ชัว่โมงในการทำาให้เกิดเยื่อบุชอ่งท้องอักเสบ

16

เส้นเลือดที่สำาคัญ เสน้เลือดแดงใหญ ่(Aorta) เสน้เลือดดำาใหญ ่(Inferior vena Cava) เสน้เลือดสำาคัญอื่นๆ

การบาดเจ็บทำาให้เกิดการตกเลือดปริมาณมาก ;

การเสียโลหิตจนหมด (เลือดไหลจนหมด)

17

การบาดเจ็บที่ท้อง

ไปถึงโรงพยาบาลรอดชวีิตไดม้าก สาเหตุการตายที่พบมาก

– ทำาการประเมินอาการไม่ดีพอ– การช่วยฟื้นคืนชีพลา่ช้า– มีปริมาณของเหลวไม่พอเพียง– ทำาการวินิจฉัยไม่ดพีอ– ผา่ตดัชา้เกินไป

18

ส่งบ่งชี้ กลไกการบาดเจ็บ เริ่มจากชพีจรเต้นเร็วผิดปกติ,

ความดันโลหิตตำ่า,ซีด, และเหงือ่อกตามผิวหนงัในเวลาต่อมา

ชอ็กเนือ่งจากสญูเสียของเหลวโดยไม่สามารถระบสุาเหตุได้

กดเจ็บเป็นบริเวณกว้าง เจ็บปวดบนไหล่ที่ไม่บาดเจ็บ

19

กลไก หาลักษณะของการบาดเจ็บ

– ชำ้า– มีร่องรอยการถูกทับ– มีบาดแผลเปิดที่เห็นชัดเจน

ให้ปฏิบัติเสมือนมีอาการบาดเจ็บที่ช่องท้องอย่างรุนแรงเสมอยกเวน้แตว่่าจะพิสูจน์ได้แล้วว่าไม่ใช!่

เมือ่อาการบาดเจ็บเหนือสะดือให้ปฏิบัติเสมือนมีการบาดเจ็บที่

ชอ่งอกดว้ยเสมอยกเว้นแต่ว่าจะพิสูจน์ได้แล้ววา่ไม่มี

20

กุญแจสำาคัญในการประเมินอย่างถูกต้อง

D-eformity การผดิรูปร่าง C-ontusions การฟกชำ้า A-brasions รอยถลอก P-enetrating Injuries

การบาดเจ็บจากบาดแผลทิม่ แทง ทะลุ

*ตามแนว BTLS Guidelines

B-urns แผลไหม้ T-enderness กดเจ็บ L-acerations

การฉกีขาด S-welling

การบวมพอง

21

การบาดเจบ็จากระเบิด พบได้มากในหู,

ปอดและอวัยวะกลวงในช่องท้อง

การบาดเจ็บที่ท้องรวมไปถึงการตกเลือดและการฉีกขาดของอวัยวะกลวง

22

การช็อกที่หาสาเหตุไมไ่ด้ ประเมินสัญญาณชีพ; สีผิวหนัง, อุณหภูมิ;

การไหลกลับคืนที่เดิมของเลือด(กดเล็บ) หัวใจเตน้เร็วผิดปกต;ิ

อาการกระสบักระส่าย; ผิวหนงัเย็น, ชืน้ ในการบาดเจ็บ,

ลักษณะของการช็อกเมื่อไม่พบสาเหตมุักบ่งบอกไดว้่ามีการบาดเจ็บที่ช่องท้อง

23

อาการของท้องที่บาดเจ็บ

กดเจ็บทั่วท้อง เจ็บปวด

– เจ็บปวดร้าวไปที่บ่า = อวัยวะที่อยู่ใต้กระบังลมบาดเจ็บ (?ม้าม)

– เจ็บปวดร้าวไปที่หลัง = อวัยวะหลังเยื่อบุชอ่งท้องได้รับบาดเจ็บ (?ไต)

24

ความแข็งของช่องท้อง

เชือ่ถือไม่ได้ การตกเลือดไม่ได้ทำาให้ท้องแข็งถ้าไม่มีฮีโม

โกลบนิไหล การตกเลือดในช่องหลังเยื่อบชุ่องท้องอาจไ

ม่ทำาให้ท้องแข็ง

25

การจัดการการบาดเจบ็ที่ช่องท้อง

สิง่สำาคัญในการดแูลผู้ปว่ยบาดเจ็บที่ช่องท้องทุกประเภทคือ…

ให้เริ่มใชว้ิธกีารชว่ยชีวิตซึ่งประกอบด้วยการเปดิทางเดินหายใจ การช่วยหายใจและการไหลเวยีนโลหิต

26

การจัดการการบาดเจบ็ที่ช่องท้อง

การวินิจฉัยชีช้ัดว่าบาดเจ็บอะไรเป็นเรื่องสำาคญัรองลงไป

รักษาสิง่ที่ตรวจพบจากการสงัเกตุคนไข้ให้มากที่สุดเท่าที่ทำาได้

การจัดการไม่คำานึงเกี่ยวกับอวัยวะส่วนใดสว่นหนึ่งโดยเฉพาะ ?

27

การจัดการการบาดเจ็บช่องท้อง ทางเดินหายใจ การดามC – Spine

หากมีข้อบง่ชี้ว่าได้รับบาดเจ็บ ให้ออกซิเจนระดบัสูง ชว่ยหายใจ ถ้าพบว่าจำาเป็น ห้ามให้สิง่ใดทางปาก

28

วัตถุที่เสียบคา ปล่อยให้อยู่กับที่อย่างนัน้

– ทำาให้สั้นลงถ้าเพือ่ความสะดวกในการส่งตัวผู้บาดเจ็บ

– ปล่อยใหม้ีส่วนของวัตถโุผล่พ้นขึน้มา– ทำาให้อยู่นิ่งกับที่

29

อวัยวะในช่องท้องโผล่ออกมา ถ้าชอ่งท้องฉีกขาดขนาดใหญ่

อวัยวะภายในอาจทะลักออกมา

ห้ามเอากลับเข้าไปที่เดิม

30

อวัยวะในช่องท้องโผล่ออกมา ให้ปิดคลุมอวัยวะนัน้ด้วยผ้าแต่งแผลชุบนำ้าเก

ลือ

ปดิคลุมทับอีกชั้นด้วยผ้าแต่งแผลแห้ง หรือวัตถุที่ป้องกันการซึมผ่านได้

31

การบาดเจ็บที่อวัยวะสืบพันธุ์

และอวัยวะขับปัสสาวะ

ร้อยโทแกรม แมคเกรกอร์, WA ANG

Critical Care Air Transport Nurse

32

ระบบปัสสาวะ

ไต

ทอ่ไตกระเพาะปัสาวะ

ทอ่ปัสสาวะ

33

การบาดเจ็บที่ไต 50%

ของการบาดเจ็บของระบบอวัยวะสบืพันธ์และอวัยวะขับปัสสาวะ

34

การบาดเจ็บที่ไต การมีบาดแผลทะลุ

– GSW

– บาดแผลที่ถกูแทง– บาดเจ็บจากระเบิดคล้ายกับอวยัวะตนัอื่นๆ

พบยาก, ปกติเกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บของอวัยวะอื่นๆในช่องท้อง

35

การบาดเจ็บที่ไต การถูกทุบตีหรือกระแทกด้วยของแข็ง

– เมื่อถูกกระแทกด้านหลัง สีข้าง ชอ่งท้องดา้นบน ใหส้งสัยเมื่อพบว่ามีการหกัของกระดูกซี่โครงซี่ที ่

10 – 12 หรือ T12, L1, L2

– การหยุดกระทันหนั เส้นเลือดแดง/ ดำาที่ไตขาด

36

การบาดเจ็บที่ไต อาการและอาการแสดง

– ปัสสาวะมีเลือดปนจำานวนมาก 80% ของผูบ้าดเจ็บ ไม่มีเลอืดไม่ได้หมายความว่าไม่มีการการบาดเจ็บที่ไ

ต เจ็บปวดเฉพาะทีต่รงบริเวณสีข้าง ช่องท้อง มีก้อนคลำาได้

37

การบาดเจ็บที่ไต

อาการและอาการแสดง– กดเจ็บ: กระดูกซีโ่ครงส่วนล่าง, กระดกูสันหลัง

L-spine ส่วนบน, สีข้าง– ความเจ็บปวด: ขาหนีบ, บ่า, หลัง, สีข้าง

38

การบาดเจ็บของท่อไต

พบน้อยกวา่ 2% ของการบาดเจ็บที่ระบบอวัยวะสบืพันธุ์และอวัยวะขับปัสสาวะ

ปกติพบได้เป็นอันดับสองในการบาดเจ็บจากบาดแผลทะลุ

ข้อบ่งชี้– บาดแผลที่หลังดา้นล่าง มีปัสสาวะไหลออก

39

การบาดเจ็บของกระเพาะปัสสาวะ

กลไก– บาดเจ็บจากการถกูของแข็งกระแทกที่ท้องส่วนล่

าง– เข็มขัดนิรภัย– กระดูกเชงิกรานแตกหัก– บาดแผลทะลุที่ช่องท้องดา้นลา่งหรือที่บริเวณฝีเ

ย็บ– ปริมาณปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะบอกได้วา่กา

รบาดเจ็บจากระเบิดเป็นอวัยวะอวยัวะกลวงหรือตัน

40

การฉีกขาดของเยือ่บุด้านนอกกระเพาะปัสสาวะ

ปัสสาวะขังในสะดือ ต้นขา ถงุอัณฑะ ร่องขาหนีบ ฝเีย็บ

เจ็บเมื่อปัสสาวะ ปัสสาวะมีโลหิต กดเจบ็บริเวณหวัเหน่า บวม, แดงเนื่องจากเนื้อเยื่อถกูปัสสาวะทำาลาย

41

เยื่อบุด้านในกระเพาะปัสสาวะฉีกขาด

ตอ้งรีบขับขับปัสสาวะอย่างเร่งดว่น ไม่สามารถขับปัสสาวะได้ ชอ็ก ท้องขยาย

42

การบาดเจ็บทางเดินปัสสาวะ กลไก

– หยุดกะทันหนั

(ทางเดนิปัสสาวะถกูตัดขาดจากกระเพาะปัสสาวะ)

– การบาดเจ็บในขณะที่ยืนกางขา

43

การบาดเจ็บทางเดินปัสสาวะ อาการและอาการแสดง

– มีเลือดไหลจากช่องปัสสาวะ– เยื่อบุชำ้า(ชำ้าแบบผเีสื้อ)

– เลือดคั่งในถงุอัณฑะ

44

คำาถาม?

45

References Elsayed, N. (1997) Toxicology of

overpressure. Mayorga, M. (1997) The pathology of

primary blast overpressure injury. Phillips, Y.Y. and Zajtuk, J.T. (1991) The

management of primary blast injury. Browner, B.D. (2002) Emergency care and

treatment of the sick and injured.