8
จดหมายข่าว โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ ปีท่ 2 ฉบับที่ 4 ประจ�าเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2554 “พลังงานเพ “พลังงานเพื่อชีวิต” Energy For Life http://on.fb.me/fuChT4

Newsletter 08

  • Upload
    nnnstda

  • View
    677

  • Download
    4

Embed Size (px)

Citation preview

จดหมายข่าว โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 ประจ�าเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2554

“พลังงานเพื่อชีวิต”“พลังงานเพื่อชีวิต”Energy For Life

http://on.fb.me/fuChT4

2 Editor Talk

สนใจความรูด้้านวทิยาศาสตร์และเทคโนโลย ีและนวตักรรมต่างๆ เชิญแวะเยี่ยมชมและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

“ศูนย์หนังสือ โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ” โทรศัพท์ 0 5322 6264 โทรสาร 0 5322 6265 w w w . n n . n s t d a . o r . t h / b o o k s t o r e /

สวทช.ภาคเหนือกับการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

อีกสักนิด...พิชิตความจ�ากับศูนย์หนังสือ โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ ศูนย ์หนังสือส� านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร ์และ

เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นแหล่งรวบรวมสื่อสิ่งพิมพ์ด้าน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเป็นการสนับสนุนให้มีการศึกษา

ค้นคว้า ความรู้ ความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีของไทย อันเป็นผลมาจากการด�าเนินงาน การ

สนับสนุน การวิจัย โดย สวทช. ทั้งทางด้านพันธุวิศวกรรมและ

เทคโนโลยีชีวภาพ (ไบโอเทค), ด้านเทคโนโลยีโลหะและวัสดุ (เอ็ม

เทค), ด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ (เนคเทค),

ด้านนาโนเทคโนโลยี (นาโนเทค), ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที)

ตลอดจนด้านนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนวัตกรรม โดย

มีศูนย์หนังสือ สวทช. เป็นสื่อกลางการน�าเสนอข้อมูล ในรูป

แบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับขีดความสามารถใน

การพัฒนาความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะ

ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการแข่งขันทางด้านวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีของประเทศไทยเทียบเท่านานาประเทศทั่วโลก

โดยให้บริการจ�าหน่าย ณ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.เครือข่ายภาคเหนือ) ชั้น 2 อาคาร

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

(ใกล้ตึกคณะบริหารธุรกิจ)

คุยกับ บก.Editor Talkสวสัดคีรบัท่านผูอ่้านทีเ่คารพรกั

จดหมายข่าวฉบบันีเ้ป็นฉบบัสดุท้ายของปีงบประมาณ 2554 ครบั

ซึง่จะเน้นเนือ้หาที่เกีย่วกบักจิกรรมของโครงการเครอืข่ายสวทช.ภาคเหนอื

บทความด้านพลงังาน ตลอดจนงานวจิยัในส่วนทีเ่กีย่วข้อง โลกปัจจบุนัเริม่

เผชญิกบัปัญหาพลงังานปิโตรเลยีมเริม่ลดน้อยและหายากขึน้ ท�าให้แนวโน้ม

ราคาน�า้มนัมแีต่จะสงูขึน้ไปเรือ่ยๆ ซึง่เป็นเรือ่งท้าทายนกัอตุสาหกรรมตลอด

จนประชาชนทัว่ไปว่าจะอยูร่อดกบัโลกใบนีอ้ย่างไร แต่ประวตัศิาสตร์สอนให้

เราสูเ้พือ่ความอยูร่อด ดงันัน้ท่ามกลางภยัคกุคามกม็โีอกาสอกีมากมายทีท่กุ

คนเหน็แต่ไม่ได้ท�า ในขณะทีม่คีนอกีกลุม่เหน็และเลอืกท�าในสิง่ทีเ่หมาะสมกบั

ตนเองอย่างชาญฉลาดและเตรยีมพร้อมท�าในขณะทีภ่ยัยงัไม่เกดิกลุม่นีค้รบัที่

จะอยูร่อดปลอดภยัจากคลืน่ซนึามทิางพลงังานทีเ่ริม่ส่งสญัญาณมาแล้ว

นับว่าเป็นสิ่งที่น่าดีใจแทนภาคอุตสาหกรรมและชุมชนในภาค

เหนอื ทีไ่ด้เริม่ตระหนกัถงึภยัทีก่�าลงัคกุคามและได้เตรยีมพร้อมในการรบัมอื

กบัวกิฤตทีก่�าลงัจะเกดิ โดยหลายๆ ภาคส่วนได้เริม่ศกึษาค้นคว้าและเตรยีม

พร้อม ทัง้ด้วยตนเองและร่วมกบันกัวชิาการ ท�าให้สามารถเปลีย่นวกิฤตเป็น

โอกาส สร้างรายได้เพิม่เตมิจากเศษวสัดเุหลอืใช้ทีเ่ดมิเป็นค่าใช้จ่ายกลบัเปลีย่น

มาเป็นรายรบัและผลติภณัฑ์จากโรงงานกลายเป็นผลติภณัฑ์ป้อนตลาดในยคุที่

3 คอื เป็นผลติภณัฑ์ทีเ่อาใจใส่ต่อสิง่แวดล้อม นีเ่ป็นตวัอย่างทีแ่สดงให้เหน็ว่า

เรือ่งวกิฤตพลงังาน มทีางออกเสมอ ถ้า “เรา” ไว้ใจหน่วยงานทีส่นบัสนนุด้าน

วชิาการ ตลอดจนเชือ่ในคณุภาพนกัวชิาการไทยว่าสามารถท�างานร่วมกบัท่าน

ได้ขอให้ท่านผูอ่้านทกุท่านมคีวามสขุและสนกุกบัธรุกจิหรอืกจิกรรมทีท่�าอยูน่ะ

ครบั

ด้วยความปราถนาดจีากทมีงาน โครงการเครอืข่าย สวทช. ภาคเหนอื

รางวัลเกียรติยศ ประจ�าปี 2554รางวลัPrimeMinister’sExportAwardประจ�าปี2554ประเภทผูส่้งออกดเีด่น(BestExporter)มลูค่า500–1,000ล้านบาท

บรษิทั ซนัสวที จ�ากดั บรหิารงานโดย คณุองอาจ กติตคิณุชยั

รางวลัดเีด่นด้านพลงังานทดแทนประเภทโครงการพลงังานหมนุเวยีนทีไ่ม่เชือ่มโยงกบัระบบสายส่งไฟฟ้า(Off-Grid)จากการประกวด

ThailandEnergyAward2011และรางวลัชนะเลศิประเภทOff-GridจากการประกวดASEANEnergyAward2011

วสิาหกจิชมุชนแม่บวั-สกีรุป๊ บรหิารงานโดย คณุสวสัดิ ์สนุนัต๊ะ

รางวลัPrimeMinister’sExportAwardประจ�าปี2554ประเภทผลติภณัฑ์ชมุชนและท้องถิน่ทีม่กีารออกแบบและคณุภาพดี

(OTOPExportRecognition)

บรษิทั ศริวิานชิ (เอส แอนด์ ดบัเบลิย)ู จ�ากดั บรหิารงานโดย คณุศริ ิวรสวุานชิ

CD ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

: พลังงาน

เป็นCD-ROMมัลติมีเดียน�าเสนอในรูป

แบบการ์ตูนใช้ได้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น

เหมาะส�าหรับระดับประถมปลาย

ราคา:100.00บาท

หนังสือ รู้จักไบโอดีเซลใน 4 ชั่วโมง

ผู้เขียน อ้อยใจ ทองเฌอ, วิทูรัช กู๊ดวิน,

อุกฤษฎ์ สหพัฒน์สมบัติ

ISBN978-974-229-321-5

พิมพ์ครั้งที่1ตุลาคม2550

จ�านวน56หน้าราคา:80.00บาท

“น�้ามันไบโอดีเซล” น่าจะเป็นหนึ่งในทางออกของวิกฤตพลังงาน ที่

สามารถน�ามาใช้แทนน�้ามันดีเซลได้โดยตรง ซึ่งเราสามารถน�าพืชน�้ามัน

ชนิดต่างๆมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตน�้ามันไบโอดีเซลได้

หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ค�าตอบในเชิงวิทยาศาสตร์ที่เข้าใจง่ายและ

ไขข้อสงสัยหรือโจทย์ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับไบโอดีเซลได้เป็นอย่างดี

3สรุปการศึกษาดูงาน ITAP

โอกาสของอุตสาหกรรมอาหาร-เกษตรแปรรูปในประเทศจีนและเกาหลี (เกาหลีใต้)

เมื่อเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่iTAPสวทช.

ภาคเหนือได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมBOIStudyMissiontoBeijingและBOI

Study Mission to Korea 2011 โดยน�าผู้ประกอบการกลุ่มอาหารและเกษตร

แปรรูปจากภาคเหนือและภาคใต้ ร่วมศึกษาดูงานแสดงสินค้าและกิจกรรมจับคู่

ธุรกิจกับผู้ประกอบการจากประเทศจีนและสาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลีใต้)

จากประสบการณ์ที่ได้ร่วมสัมภาษณ์ผู้บริหารจากAnderyee(Beijing)

CommercialCo.,Ltd.จากประเทศจีนและLotteCo.,Ltd.ประเทศเกาหลีใต้

สองบริษัทยักษ์ใหญ่ที่น�าเข้าและกระจายสินค้าสู่ซุปเปอร์มาร์เก็ตระดับบนของ

ประเทศ ได้สรุป 4 ปัจจัยส�าคัญที่ใช้พิจารณาในการน�าเข้าสินค้าด้านอาหาร

และเกษตรแปรรูปส�าหรับตลาดบน ซึ่งได้แก่ ปัจจัยด้านบรรจุภัณฑ์ (Packag-

ing), ราคา (Price), คุณภาพมาตรฐาน (Standard), และความสม�่าเสมอของ

ปริมาณสินค้า (Continuous) ท�าให้ได้ทราบถึงเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่น่าสนใจ

อาทิผลไม้แช่แข็งจากเมืองไทยค่อนข้างหวานไปอยากให้พิจารณาวิธีลดความ

หวานลง แต่ยังคงความเป็นธรรมชาติ ส�าหรับอาหารแช่แข็ง ผู้ค้ามีความกังวล

เรื่องกระบวนการขนส่ง และประเด็นด้านอุณหภูมิที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ อย่างไร

ก็ตามอาหารและผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปจากไทยมีศักยภาพค่อนข้างสูงใน

ซุปเปอร์มาร์เก็ตตามเมืองใหญ่ๆ ทั้งของจีนและสาธารณรัฐเกาหลีเป็นอย่าง

มาก

นอกจากช่องทางการค้า BOI ยังได้จัด Business Matching ให้ได้

หารือร่วมกับผู้บริหารร้านอาหารไทยBananaLeafที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ

จีนและสาธารณรัฐเกาหลี ท�าให้เราทราบว่า อาหารไทยได้รับความนิยมใน

กลุ่มผู้บริโภคที่มีก�าลังซื้อ เช่น กลุ่มนักลงทุนต่างชาติ กลุ่มผู้หญิงท�างาน ฯลฯ

ซึ่งมีภาพลักษณ์ของการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Food) เพราะมีส่วน

ประกอบของผักและสมุนไพรเป็นหลัก รสจัดจ้าน ส�าหรับปัจจัยความส�าเร็จที่

ท�าให้ร้านอาหารไทยแข่งขันได้ คือ มีรสชาดอร่อย การตกแต่งสวยงาม และมี

การบริการที่ดี ท�าให้ลูกค้าที่มาใช้บริการมีความประทับใจและอยากกลับมาใช้

บริการอีก

*** อุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป มีศักยภาพสูงในตลาด

ประเทศจีนและเกาหลี สนใจกิจกรรม จับคู่ธุรกิจลงทุนในจีนและเกาหลี

ติดต่อ บีโอไอ ภาคเหนือ........ สนใจด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์อาหารและเกษตรแปรรูป ติดต่อ iTAP สวทช.ภาคเหนือ ***

เอกลักษณ์ล้านนาถือเป็นมรดกที่มีค่าของดินแดนล้านนาหรือภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยซึ่งควรค่าต่อการอนุรักษ์และน�ามาเผยแพร่ในรูปของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นทางทีมงาน สวทช.ภาคเหนือจึงเล็งเห็นว่าควรที่จะส่งเสริมให้ผู้ประกอบการหัตถอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ น�าจุดเด่นด้านเอกลักษณ์ล้านนามาประยุกต์กับผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ทั้งยังสามารถขยายตลาดทั้งในและต่างประเทศโดยคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ล้านนา iTAPสวทช.ภาคเหนือภายใต้โครงการกลุ่มล้านนาคอลเลคชั่นได้จัดกิจกรรมการศึกษาดูงานและเสาะหาเทคโนโลยีหัวข้อ“ตามล่าหาวัฒนธรรมณแดนมังกร”ณเมืองคุนมิงลูซี่ลุยลี่ต้าหลี่และฉู่ฉงสาธารณรัฐประชาชนจีนระหว่างวันที่13–18กรกฎาคม2554ทางผู้ประกอบการและนักวิชาการได้เข้าเยี่ยมชมและศึกษาสถาปัตยกรรมศิลปกรรมและวิถีชีวิตชาวไทยใหญ่ไตเงี้ยวดังนี้วัดเจดีย์ทองวัดโพธิ์วัดโหศิลธาตุหลวงเมืองลูซี่วัดจองค�าวัดสงซู่ไจ่วัดปิงหมิงวัดมานเหววัดต้าเต็งฮั้นวัดธาตุหลวงวัดเจอฝั้งเจดีย์สามองค์หมู่บ้านมานเหวหมู่บ้านเจอฝั้งเมืองโบราณต้าหลี่เมืองโบราณฉู่ฉงตลาดตามเมืองต่างๆท�าให้ทางสมาชิกได้รับความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมศิลปกรรมและวิถีชีวิตชาวไทยใหญ่ไตเงี้ยวเพื่อเป็นประโยชน์ในการน�ามาใช้ส�าหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ล้านนาในเฟสที่2ภายในปีงบประมาณ2555

โครงการกลุ่ม “ล้านนา คอลเลคชั่น” ศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน

4 งานวิจัยพลังงานเพื่อชุมชน RDE

การพัฒนารถไถเดินตามประหยัดพลังงาน

ด้วยระบบโปรดิวเซอร์แก๊สส�าหรับเครื่องยนต์ดีเซลโดยอาจารย์นิกรานหอมดวงและผศ.ดร.ณัฐวุฒิดุษฎี ศูนย์วิจัยพลังงานมหาวิทยาลัยแม่โจ้

งานวิจัยพลังงานเพื่อชุมชน RDE

ปัจจุบันแนวโน้มราคาน�้ามันดิบที่น�ามาใช้เป็นพลังงานได้ขยับตัวและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นรัฐบาลจึงได้มีนโยบายที่จะส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานทดแทนเช่นการผลิตไฟฟ้า

จากแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน�้า รวมทั้งการสนับสนุนให้มีการเพิ่มพื้นที่ปลูกพืชพลังงาน เช่น ไม้โตเร็วและปาล์มน�้ามันมาทดแทนการใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล ประกอบกับ

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีการส่งออกผลผลิตทางการเกษตรเป็นสินค้าหลักของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวเปลือกถือได้ว่ามีการส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลก การ

ไถนาเป็นขั้นตอนหนึ่งของการปลูกข้าวซึ่งในประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีการปลูกข้าวปีละ2-3ครั้งต่อปีการเตรียมดินแต่ละครั้งจะมีการไถนาอยู่3หนคือการไถดะการไถแปรและ

การท�าเทือกโดยมีการใช้น�้ามันถึง2.61ลิตร/ไร่ในกรณีนาปรังและ3.31ลิตร/ไร่ในกรณีนาปีซึ่งถ้ารวมการใช้น�้ามันดีเซลทั้งประเทศส�าหรับการไถนาจะประมาณ367.04ล้านลิตร/

ปีซึ่งถ้าประเมินราคาน�้ามันดีเซล40บาท/ลิตรคิดเป็นเงินค่าใช้จ่าย14,681.6ล้านบาท/ปีดังนั้นถ้ามีเทคโนโลยีที่สามารถลดการใช้น�้ามันดีเซลในการไถนาลงได้ก็จะเป็นการช่วยลด

ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรแนวทางในการลดการใช้น�้ามันดีเซลโดยใช้น�้ามันดีเซลร่วมกับโปรดิวเซอร์แก๊สเป็นแนวทางหนึ่งที่จะสามารถลดการใช้น�้ามันดีเซลลงได้

โครงการวิจัยนี้ได้แบ่งวิธีการด�าเนินการวิจัยออกเป็น 3 ส่วน

ส่วนที่ 1

การออกแบบสร้างระบบโปรดิวเซอร์แก๊ส

ส�าหรับรถไถนาเดินตาม

ส่วนที่ 2

การประเมินสมรรถนะรถไถนาเดินตาม

ระบบโปรดิวเซอร์แก๊ส

ส่วนที่ 3

การประเมินเศรษฐศาสตร์การไถนา

การออกแบบสร้างเครื่องผลิตโปรดิวเซอร์แก๊สส�าหรับรถไถนา

เดินตามได้ใช้เครื่องยนต์ดีเซลคูโบต้าขนาด 7 hp ปริมาตร

กระบอกสูบ 401 cc. เครื่องผลิตโปรดิวเซอร์แก๊สที่ออกแบบ

และสร้างขึ้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางคอคอดและความสูงของ

หัวฉีดเมื่อเทียบกับระนาบเส้นผ่าศูนย์กลางคอคอด 11.61

cm. มีหัวฉีดจ�านวน 5 หัว และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางหัวฉีด

12.7 mm. ถังเก็บเชื้อเพลิงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 33 cm.

ความสูงรวม 80.6 cm. และสามารถบรรจุเชื้อเพลิงถ่านไม้ได้

สูงสุด 12 kg. ชุดลดอุณหภูมิโปรดิวเซอร์แก๊สใช้ท่อเหล็กสตีม

ขนาด 5.2 cm. เชื่อมต่อระหว่างเครื่องผลิตโปรดิวเซอร์แก๊ส

กับอุปกรณ์ท�าความสะอาดแก๊สมีความยาวท่อรวม170 cm.

ชุดท�าความสะอาดโปรดิวเซอร์แก๊ส ประกอบด้วยไซโคลนที่

มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อโปรดิวเซอร์แก๊สเข้าและออก 5.2

cm.กรองโปรดิวเซอร์แก๊สและกรองกระดาษแบบแห้งชุดปรับ

อัตราส่วนผสมโปรดิวเซอร์แก๊สและอากาศใช้ท่อเหล็กสตีม

ขนาด5.2cm.เชื่อมเป็นตัววายมีวาล์วควบคุม2ตัวคือวาล์ว

ควบคุมอัตราการไหลของอากาศและโปรดิวเซอร์แก๊ส

การใช้เชื้อเพลิงดีเซลโปรดิวเซอร์แก๊สให้ค่ามลพิษไอเสีย

และระดับความเข้มเสียงเครื่องยนต์ใกล้เคียงกับการใช้

น�้ามันดีเซลโดยแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน

ไนโตรเจนออกไซด์ ควันด�าและระดับความเข้มเสียงมีค่า

ต�่ากว่ามาตรฐาน การประเมินความทนทานเครื่องยนต์

ดีเซล โปรดิวเซอร์แก๊สพบว่าชิ้นส่วนหลักของเครื่องยนต์

มีการสึกหรอต�่ากว่ามาตรฐานที่เครื่องยนต์ได้ก�าหนดไว้ ซึ่ง

สรุปได้ว่าการเดินเครื่องยนต์ดีเซลโปรดิวเซอร์แก๊สไม่มีผลให้

ชิ้นส่วนที่มีการเสียดสีและเคลื่อนไหวเกิดการสึกหรอจนเป็น

สาเหตุให้เครื่องยนต์ต้องได้รับการซ่อมหรือเปลี่ยนอะไหล่

ซึ่งการสึกหรออาจจะมีบ้างตามระยะเวลาการใช้งาน การใช้

เครื่องยนต์ดีเซลโปรดิวเซอร์แก๊สในการไถนาให้อัตราความ

สิ้นเปลืองดีเซลจ�าเพาะเฉลี่ยต่อพื้นที่ต�่ากว่าการใช้น�้ามัน

ดีเซลชนิดเดียว43.25%โดยมีอัตราความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง

ดีเซลเฉลี่ย 0.57 L/rai และมีอัตราความสิ้นเปลืองถ่านเฉลี่ย

3.34kg/hrหรือ6.17kg/rai

ผลการประเมินเศรษฐศาสตร ์การไถนาพบว ่าการใช ้

เครื่องยนต์ที่เดินด้วยน�้ามันดีเซลเพียงอย่างเดียวในการ

ไถนามีค่าใช้จ่าย 30.15 ฿/rai และการใช้น�้ามันดีเซลร่วม

กับโปรดิวเซอร์แก๊สมีค่าใช้จ่ายน�้ามันดีเซล 17.06 ฿/rai ซึ่ง

เกษตรกรหรือชุมชนจะต้องผลิตถ่านไม้ได้ การลงทุนสร้าง

และติดตั้งระบบคิดเป็นค่าใช้จ่ายและบ�ารุงรักษาทั้งหมด

24,000 บาท และมีระยะเวลาจุดคุ้มทุนประมาณ 2337

ชั่วโมงหรือ1.62ปี

5งานวิจัยพลังงานเพื่อชุมชน RDE

การปรับสภาพฟางข้าวด้วยไอน�้าและสารละลายด่างเจือจางเพื่อผลิตเอทานอลโดยผศ.ดร.ศุภรินทร์ไชยกลางเมือง ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ในแต่ละปีจึงมี

ของเหลือจากการเกษตรเป็นจ�านวนมาก ฟางข้าวก็เป็นชนิดหนึ่ง

ที่เหลือเป็นปริมาณมาก ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีการน�าฟางข้าวไปใช้ให้

เกิดประโยชน์เท่าที่ควรจึงมีการคิดค้นการเพิ่มมูลค่าให้กับฟางข้าว

โดยการน�าฟางข้าวมาผลิตเป็นเอทานอล ซึ่งในการผลิตเอทานอล

จากฟางข้าว จ�าเป็นต้องมีกระบวนการปรับสภาพฟางข้าวก่อนน�า

ฟางข้าวเข้าสู่กระบวนการย่อยเซลลูโลสโดยใช้เอนไซม์ ในการปรับ

สภาพฟางข้าวผู้วิจัยสนใจการปรับสภาพด้วยไอน�้าแล้วปรับสภาพ

ฟางข้าวต่อด้วยการใช้สารเคมีซึ่งการปรับสภาพฟางข้าวมีความ

ส�าคัญมากต่อการผลิตเอทานอลจากฟางข้าว เนื่องจากฟาง

ข้าวมีองค์ประกอบของลิกนิน ซึ่งเป็นตัวขัดขวางการท�างานของ

เอนไซม์ จึงต้องก�าจัดลิกนินออกก่อนโดยใช้กระบวนการปรับ

สภาพ ซึ่งประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คือ เพิ่มมูลค่าให้กับฟาง

ข้าว เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของพลังงานและยังเพิ่มรายได้ให้กับ

เกษตรกรอีกด้วย

การออกแบบและพัฒนาเครื่องแปลงผันแบบบัคในโครงสร้างแบบ Multiple-stringส�าหรับระบบประจุพลังงานให้กับแบตเตอรี่ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ส�าหรับระบบภายในโรงเรียน

โดยอาจารย์ดร.อุเทนค�าน่านสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

การศึกษาวิจัยนี้ได้มุ่งเน้นในการแก้ไขปัญหาพลังงานในพื้นที่กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ห่างไกลจากความ

เจริญของภาคเหนือ โดยหมู่บ้านปิตุคี อ�าเภออมก๋อยจังหวัดเชียงใหม่ ถูกเลือกให้เป็นพื้นที่กลุ่มเป้าหมายใน

การเข้าไปพัฒนาศักยภาพด้านการผลิต และการใช้พลังงาน เพื่อกิจกรรมด้านการสาธารณสุข และเพื่อการ

ศึกษา โครงการวิจัยนี้ได้กล่าวถึง การวิเคราะห์ ควบคุม และสร้างชุดประจุแบตเตอรี่จากเซลล์แสงอาทิตย์ ที่

ใช้เครื่องแปลงผันแบบบัคในโครงสร้างแบบ Multiple-string ระบบท�างานภายใต้โหมดการติดตามก�าลังไฟฟ้า

สูงสุดส�าหรับระบบไฟฟ้าภายในโรงเรียนศศช.บ้านปิตุคีระบบที่น�าเสนอถูกสร้างด้วยวงจรแอนนาล็อกแม้ว่า

ระบบควบคุมดูง่าย และไม่ซับซ้อน แต่ระบบให้ผลการควบคุมเป็นอย่างดี วงจรที่ง่ายช่วยให้นักศึกษาที่เข้าไป

ท�างานในพื้นที่เข้าใจพฤติกรรมของการติดตามก�าลังไฟฟ้าสูงสุดได้เป็นอย่างดี โดยที่ไม่ต้องอาศัยเครื่องมือ

อย่างอื่นคอยช่วยเหลือผลการทดสอบเป็นเครื่องยืนยันว่าระบบที่น�าเสนอท�างานได้ดี ระบบถูกทดสอบและ

ติดตั้งใช้งานในสถานที่จริง ซึ่งระบบดังกล่าวเหมาะสมกับการน�าไปบูรณาการร่วมกันระหว่าง การเรียนการ

สอนและการฝึกอบรม

การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน�้ามันชนิดใหม่ (มะเยาหิน)

ส�าหรับภาคเหนือของประเทศไทย โดยผศ.ดร.ณัฐวุฒิดุษฎีและคณะศูนย์วิจัยพลังงานมหาวิทยาลัยแม่โจ้

มะเยาหินเป็นพืชน�้ามันชนิดใหม่ในไทย โดยน�าเข้ามาจากประเทศ

ลาวซึ่งเบื้องต้นพบว่าพืชชนิดนี้ที่อายุ5ปีกรณีติดผลปานกลางจะให้ผลผลิต

คิดเมล็ดหนักประมาณ22กิโลกรัมถ้าประเมินที่ระยะปลูก4x4เมตรจะให้

ผลผลิตประมาณ 1,200 - 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าผลผลิตสบู่ด�าที่ปลูก

ในประเทศไทย3 -4 เท่าและจากการวิเคราะห์น�้ามันจากต้นมะเยาหิน พบ

ว่ามีค่าความร้อนใกล้เคียงกับสบู่ด�า จึงมีความน่าสนใจที่จะน�ามาพัฒนาเป็น

ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงจากน�้ามันมะเยาหิน

การสกัดน�้ามันมะเยาหินสามารถสกัดได้ทั้งจากเครื่องอัดไฮดรอลิค

(ปริมาณน�้ามันสูงสุด25.39%)และจากวิธีการสกัดทางเคมี(ปริมาณน�้ามันสูงสุด

33.27%) น�้ามันมะเยาหินที่สกัดได้เมื่อน�ามาแปรรูปเป็นไบโอดีเซลพบว่ามีค่า

ความร้อนสูงใกล้เคียงกับไบโอดีเซลชุมชนและไบโอดีเซลจากสบู่ด�า (ประมาณ

40.73 MJ/kg) แต่ยังคงมีค่าต�่ากว่าน�้ามันดีเซลเล็กน้อย และเมื่อน�ามาทดสอบ

กับเครื่องยนต์ดีเซลก�าเนิดไฟฟ้าพบว่ามีประสิทธิภาพเชิงความร้อน21.9%ต�่า

กว่าน�้ามันดีเซลอยู่ประมาณ 12% (ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของน�้ามันดีเซล

24.5%)

ในส่วนการพัฒนาผลิตภัณฑ์น�้ามันมะเยาหินส�าหรับการเคลือบไม้พบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพดีและใกล้เคียงกับแลคเกอร์ในท้องตลาดโดยมีต้นทุนการ

ผลิตต�่ากว่าผลิตภัณฑ์ที่มีจ�าหน่ายในท้องตลาด43.8%ท�าให้มะเยาหินเป็นพืชน�้ามันที่มีศักยภาพสูงในการน�ามาเพาะปลูกในเชิงพาณิชย์ทั้งการแปรรูปเป็นน�้ามันไบ

โอดีเซลและน�้ายาเคลือบไม้

6 iTAP Hi-light

พลังงานก๊าซชีวภาพ โครงการพัฒนาระบบปรับปรุงคุณภาพแก๊สชีวภาพส�าหรับฟาร์มสุกรบริษัท ที ฟาร์ม จ�ากัด

บริษัท ที ฟาร์ม จ�ากัด เป็นผู้เลี้ยงสุกรขุนมี3 โรงเรือนรวมพื้นที่2,290ตารางเมตรก�าลังการผลิต

รวม 1,200 ตัว/ปี ส่งจ�าหน่ายในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ฟาร์มมีระบบผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลสุกรขนาด

200 ลูกบาศก์เมตร เป็นแบบ Cover Lagoon แก๊สชีวภาพที่ผลิตได้น�าไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์

ToyotaJ2800CCเป็นต้นก�าลังส�าหรับขับพัดลมระบายอากาศในโรงเรือนเลี้ยงสุกรรวม4ชุดสามารถ

ลดค่าไฟฟ้าให้กับบริษัทได้ 20%ฟาร์มมีมูลของสุกรที่เกิดขึ้นประมาณ1,700 กิโลกรัม สามารถน�ามา

ผลิตเป็นแก็สชีวภาพได้ประมาณ70ลูกบาศก์เมตร/วันบริษัทได้ขอรับการสนับสนุนจากโครงการITAP

เพื่อน�ามาผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์วิจัยพลังงาน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เข้ามาวิเคราะห์ปัญหาและพบว่าความ

เสียหายหลักๆ มาจากคุณภาพของแก๊สชีวภาพ เนื่องจากแก๊สที่ได้ไม่มีระบบปรับปรุงคุณภาพก่อนเข้า

เครื่องยนต์ซึ่งแก๊สชีวภาพที่ผลิตจากมูลสัตว์ประกอบด้วยมีเทน(CH4)50–70%คาร์บอนไดอ๊อกไซด์

(CO2)27–44%ไฮโดรเจน(H2)1%และไฮไดรเจนซัลไฟด์(H2S)1–3%ซึ่งไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือที่

เรียกกันว่าแก๊สไข่เน่ามีคุณสมบัติเป็นแก๊สพิษเมื่อสัมผัสกับน�้าหรือไอน�้าจะเปลี่ยนสภาพเป็นกรดซัลฟูริค

มีคุณสมบัติเป็นกรดซึ่งเป็นสาเหตุของฝนกรดหรือไอกรดที่สามารถกัดกร่อนโลหะดังนั้นจึงเกิดความเสีย

หายต่อชิ้นส่วนต่างๆในเครื่องยนต์ดังนั้นจึงได้พัฒนาระบบปรุงคุณภาพแก๊สดังกล่าวแล้วและได้ผลการ

ติดตั้งระบบลดปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในแก๊สมีความเข้มข้นจากเดิม2,000ppmลดเหลือ80ppm

การปรับปรุงเครื่องอบแห้งล�าไย ห้างหุ้นส่วนจ�ากัด พรมกังวาน

หจก.พรมกังวาน ธุรกิจแปรรูปผักและผลไม้อบแห้ง

จ�าหน่ายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ ปัจจุบันต้นทุน

พลังงานเริ่มสูงขึ้นจากค่าก๊าซ LPGและประสิทธิภาพเครื่อง

เดิมเริ่มลดลง จ�าเป็นต้องปรับปรุงเครื่องอบแห้งเดิมให้มี

ประสิทธิภาพดีขึ้น โดยให้ iTAP โครงการเครือข่าย สวทช.

ภาคเหนือ และผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรม

เชียงใหม่ เข้ามาออกแบบและพัฒนาให้เครื่องอบแห้ง

สามารถสลับทิศทางลมร้อนได้โดยไม่ต้องพลิกกลับล�าไย

ขณะอบแห้ง(เดิมต้องพลิก2รอบต่อการอบ1ครั้ง)ผลท�าให้

การกระจายลมร้อนดีและล�าไยแห้งสม�่าเสมอทั้งกระบะช่วย

ลดต้นทุน ความเสียหายจากผลบุบ ผลแตก และผลมีน�้า

หมาก ล�าไยอบแห้งที่ได้มีคุณภาพดี ให้เปอร์เซ็นต์ล�าไยผลดี

มากกว่าวิธีเดิม 35% ผลบุบและผลมีน�้าหมากต�่ากว่า 25%

และ 8% ตามล�าดับ ค่าใช้จ่ายลงทุนพัฒนา 25,000 บาท

ท�าให้ต้นทุนอบลดลง13%คืนทุนเมื่อใช้งาน29รอบและ

หากน�าการพัฒนาดังกล่าวไปอบล�าไยทั้งเปลือกทั่วประเทศ

จะลดต้นทุนเชื้อเพลิงได้ถึง103ล้านบาทเลยทีเดียว

7iTAP Hi-light

พลังงานแสงอาทิตย์โรงเรือนกรีนเฮ้าส์ไฮบริดส์เพื่อการผลิตกล้วยตากโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์บริษัท ศิริวานิช จ�ากัด

บริษัท ศิริวานิช (เอส แอนด์ ดับเบิ้ลยู) จ�ากัดผู้ผลิตและจ�าหน่ายกล้วยตากกล้วยม้วนนิ่ม

กล้วยอบกรอบภายใต้แบรนด์ไท-ไท (TAITAI)และไซรัปกล้วยตรานาส์ (NA’S) ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก

มหาวิทยาลัยนเรศวรภายใต้การสนับสนุนของiTAPโครงการเครือข่ายสวทช.ภาคเหนือ

โดยบริษัทมีแนวคิดในการน�าเทคโนโลยีไฮบริดส์มาใช้นั้น เนื่องจากการผลิตกล้วยตากขึ้นอยู่

กับปริมาณแสงแดดเป็นหลักซึ่งในแต่ละวันไม่แน่นอนปัญหาฝนและสิ่งปนเปื้อนในอากาศแม้ปัจจุบัน

จะมีการพัฒนาโรงเรือนอบกล้วยตากด้วยพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้เพื่อแก้ปัญหาเหล่านั้นก็ตาม แต่ก็ยัง

ไม่สามารถตอบโจทย์ให้กับบริษัทได้ ซึ่งจะตอบสนองความต้องการตามค�าสั่งซื้อที่เข้ามาเป็นจ�านวนมาก

ดังนั้นบริษัทได้ผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาโครงการ “การออกแบบและสร้างโรงเรือนกรีนเฮ้าส์ไฮบริดเพื่อ

การผลิตกล้วยตากโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์”ซึ่งโรงเรือนดังกล่าวมีขนาด9x22x3.75เมตรรวม

พื้นที่ประมาณ 190 ตารางเมตร โดยบริษัทกล่าวว่า “หัวใจส�าคัญที่สุดของการพัฒนากรีนเฮ้าส์ไฮบริดนี้

คือ “ระบบควบคุมแบบอัตโนมัติ” ที่ได้พัฒนาโปรแกรมควบคุมขึ้นใหม่มีหน้าที่ควบคุมการท�างานในโรง

เรือนให้เป็นไปตามเงื่อนไขการอบแห้งที่ต้องการมากที่สุดภายใต้ 3 ปัจจัยหลัก คือ อุณหภูมิ ความชื้น

สัมพันธ์และความเร็วลมซึ่งมีผลโดยตรงต่อการผลิตกล้วยตากท�าให้สามารถอบกล้วยตากได้ตลอด24

ชม.ทั้งกลางวันและกลางคืนหรือวันที่มีแสงแดดและวันที่ไม่มีแสงแดดระบบจะท�าหน้าที่สั่งการท�างาน

เองทั้งหมด โดยไม่ต้องมีพนักงานคอยควบคุมเป็นแห่งเดียวของไทย ท�าให้บริษัทมีก�าลังการเพิ่มขึ้นจาก

30,000กก.กล้วยสดเป็น50,000-60,000กก.กล้วยสด/เดือนและมีรอบการผลิตเร็วขึ้นจากเดิมการ

ตากกล้วย 4 แดดเหลือเพียง 3 แดดเท่านั้น อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ก๊าซ LPG ในการอบกล้วยตาก

ที่เดิมบริษัทมีความจ�าเป็นต้องน�ามาใช้ในกรณีที่ไม่มีแสงแดดหรือวันฝนตก ต้องสิ้นเปลื้องไปกับค่าก๊าซ

LPGเดือนละ40,000-50,000บาทแต่ปัจจุบันบริษัทประหยัดค่าก๊าซดังกล่าวลงได้

แม้จะยังมีการน�ามาใช้อบกรณีที่กล้วยตากยังมีความชื้นสูงเกินกว่าค่าที่ก�าหนดไว้บ้างเป็นบาง

ครั้ง ภายในตู้อบเพื่อลดความชื้นลงเท่านั้น นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของบริษัทแล้ว

ยังตอบโจทย์ให้กับผู้ประกอบการSMEsได้จริงนี่..คือสิ่งที่ได้iTAPช่วย”

การน�าความร้อนทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์

โรงงานเส้นก๋วยเตี๋ยวนิตย์

โรงงานเส้นก๋วยเตี๋ยว นิตย์ -สวรรคโลกเริ่มด�าเนินกิจการตั้งแต่ปีพ.ศ.2500โดยมีการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวทั้งเส้นใหญ่เส้นเล็กเส้นก๋วยจั๊บ

และเส้นแห้งแบบกึ่งส�าเร็จรูปใช้ระบบการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบไร้น�้ามันเพื่อท�าการส่งออกตลาดในและต่างประเทศ

โรงงานมีหม้อไอน�้าขนาด 3 ตัน เป็นแหล่งผลิตความร้อนหลักในการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว ด้วยต้นทุนพลังงานเริ่มมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น ท�าให้

ต้องหาทางลดต้นทุนดังกล่าว โดยได้ร่วมปรึกษากับ iTAP โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ ในการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานโดยการน�าความร้อน

ทิ้งจากปล่องเตาเผาเชื้อเพลิงที่ปล่อยทิ้งของหม้อไอน�้าซึ่งสูงถึง 130 องศาเซลเซียส กลับมาอุ่นอากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้ โดยจัดหาผู้เชี่ยวชาญมา

ออกแบบและสร้างชุดแลกเปลี่ยนความร้อนแบบท่อความร้อนอุ่นอากาศก่อนเข้าห้องเผาไหม้ในเตาเผาดังกล่าว จากผลของโครงการท�าให้มีการพัฒนา

เทคโนโลยีและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน�้าส่งผลให้ลดการใช้เชื้อเพลิงขี้เลื่อยปีละ56ตันคิดเป็นเงิน83,700บาทต่อปียังสามารลดการปล่อย

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้82,143กิโลกรัมต่อปี

โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ ชั้น 2 อาคารสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200

(Tel) 0-5322-6264 (Fax) 0-5322-6265

Email : [email protected] http://www.nn.nstda.or.th

กรุณาส่ง...

โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือชั้น 2 อาคารสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200

ช�าระค่าฝากส่งเป็นรายเดือนใบอนุญาตเลขที่ 97/2548ปณ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บริการธุรกิจตอบรับใบอนุญาตเลขที่ ปข.5/246 ปณจ.เชียงใหม่

ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

* สามารถถ่ายเอกสารได้

ข้อมูลส�าหรับส่งของรางวัลชื่อ - นามสกุล......................................................................โทร....................................... ที่อยู่...................................................................................................................................Email ...............................................................................................................................

Trendy Technology

ร่วมตอบค�าถามชงิรางวลัค�าถาม : ข้อดแีละข้อเสยีของขยะ RDF มอีะไรบ้าง?

ตอบ : ..............................................................................................

.........................................................................................................

.........................................................................................................

.........................................................................................................

.........................................................................................................

กรุณาส่ง ...

จดหมายข่าว โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ

ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 ประจ�าเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2554

โดย พันธวัฒน์ ไชยวรรณ์เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ(Refuse Derived Fuel : RDF)

ขยะเป็นของเหลือที่มนุษย์เราไม่ต้องการทุกๆวันคนทุกคนต่าง

ก็สร้างขยะ ประเด็นปัญหาเรื่องขยะจึงเป็นประเด็นที่พบได้ในแทบทุกชุมชน

แนวทางหนึ่งที่เราสามารถน�าขยะไปใช้ประโยชน์ได้ก็คือ การน�าไปท�าเป็น

เชื้อเพลิงขยะ (RDF) ซึ่งก็คือการน�าขยะมูลฝอยมาผ่านกระบวนการคัดแยก

วัสดุที่เผาไหม้ได้ออกแล้วผ่านกระบวนการจัดการที่เหมาะสมเพื่อปรับปรุง

คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีกลายเป็นเชื้อเพลิงขยะและสามารถน�า

ไปใช้ในการผลิตพลังงานได้ ขยะ RDF สามารถแบ่งได้ 7 ประเภท ตาม

ลักษณะวิธีการจัดการนั่นเอง

ขยะที่ผ่านกระบวนการท�าเป็นRDFแล้วจะได้ค่าความร้อนสูงมี

คุณสมบัติเป็นเชื้อเพลิงที่ดีกว่าการน�าขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมาใช้

โดยตรงเนื่องจากมีองค์ประกอบทางเคมีและกายภาพสม�่าเสมอกว่า

ข้อดี ข้อเสียของขยะ RDF

ข้อดี : สามารถก�าจัดขยะได้

หลายประเภทและปลอดเชื้อโรค

ข้อเสีย : เงินลงทุนสูงและต้องหา

ผู้รับซื้อเชื้อเพลิงขยะไปเผาในอุปกรณ์

เผาไหม้ที่เหมาะสม

ฟรี !!!!เสื้อยืดสุดเท่ห์..... ส�าหรับ 15 ท่านแรกที่ตอบค�าถามถูกต้อง