คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]

Preview:

Citation preview

คําสมาส

• คําสมาส (อานวา สะ-หมาด) คือคําที่เกิดจากคําบาลีและสันสกฤตต้ังแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกันใหกลายเปนคําเดยีว เพ่ือใหมีคําซํ้าในภาษาไทยมากขึน้

คําสมาส แบงออกเปน ๒ ชนิดคือ

๑. คําสมาสที่ไมมีสนธิ๒. คําสมาสที่มีสนธิ

คําสมาสที่ไมมีสนธิคําสมาส เกิดจากการนําคํามาเรียงตอกนัโดยไมมีการเปลี่ยนแปลงคําแตอยางใดและคําท่ีสมาสนั้น จะตองเปนคําบาลีกับ คําบาล ีสันสกฤตกับสันสกฤต หรือสันสกฤตกบับาลี บาลีกับสันสกฤตจะใชภาษาอื่นเขามาปะปนไมได เชน

สันสกฤต กับ สันสกฤตวีร + บุรุษ วีรบุรุษศิลป + ศึกษา ศิลปศึกษาเศวต + ฉัตร เศวตฉัตร

สันสกฤต กับ บาลีเศรษฐ + กิจ เศรษฐกิจไมตรี + จิต ไมตรีจิตเทศ + บาล เทศบาล

บาลีกับบาลี วาต + ภัย วาตภัยราช + การ ราชการอริย + สัจ อริยสัจ

บาลีกับสันสกฤตเวช + กรรม เวชกรรมจริย + ศึกษา จริยศึกษารัฐ + มนตรี รัฐมนตรี

หลักสังเกตคําสมาสที่ไมมีสนธิในภาษาไทย

คําสมาสเมื่อเวลาอานออกเสียงจะตองออกเสียงสระตอเนื่องกัน คือถาพยางคทายของคําหนามีสระ อิ หรือ อุ กํากับใหอานออกเสียง อิ หรือ อ ุดวยเชนรัฐ + บาล = รัฐบาล อานวา รัด - ถะ - บานโบราณ + คดี = โบราณคดี อานวา โบ - ราน - นะ- คะ- ดีประวัติ + ศาสตร = ประวัติศาสตร อานวา ประ - หวัด - ติ - สาดอุบัติ + เหต ุ = อุบัติเหตุ อานวา อุ - บัด - ติ - เหดธาตุ + เจดีย = ธาตุเจดีย อานวา ทา - ตุ - เจ - ดี

แตมีคําสมาสบางคําไมอานออกเสียงสระตอเนื่อง เพราะอานตามความนิยมโดยมากเปนชื่อเฉพาะชล + บุรี = ชลบุรี อานวา ชน - บุ - รีสุพรรณ + บุรี = สุพรรณบุรี อานวา สุ- พัน- บุ - รีชาติ + นิยม = ชาตินิยม อานวา ชาด - นิ - ยม

คําสมาสจะไมประวิสรรชนียที่พยางคสุดทายของคําหนา แมวาคํานั้นจะประวิสรรชนียเมื่อยังไมสมาสก็ตาม เชนชีวะ + วิทยา = ชีววิทยาธุระ + กิจ = ธุรกิจ ฯลฯ

คําสมาสจะไมมีเคร่ืองหมายทัณฑฆาตกํากับอยูที่พยางคสุดทายของคําหนา แมวาคํานั้นจะมีเคร่ืองหมายทัณฑฆาตกํากับอยูเมื่อยังไมกต็าม เชนทันต + กรรม = ทันตกรรมสัตว + แพทย = สัตวแพทย ฯลฯ

คําสมาสสวนมากเรียงคําหลักไวขางหลัง คําขยายไวขางหนา เวลาแปลความหมาย จะแปลจากขางหลังมาขางหนา เชนยุทธ(รบ) + ภูม ิ(สนาม แผนดิน) = ยุทธภูมิ (สนามรบ) เปนตน

คําบาลีสันสกฤตท่ีมี “พระ” นําหนา (พระ แผลงมาจาก วร แปลวา ยอด ประเสริฐ ดี )จัดเปนคําสมาสดวย พึงสังเกตคําประเภทนี้โดยมากเปน คําราชาศัพท เชน พระบาท พระมัสสุ พระขรรค พระธิดา พระมารดา พระบิดา พระเศียร พระกรรณ พระหัตถ พระอนุชา พระเชษฐา

แตมีคําราชาศัพทบางคํามีลักษณะคลายคําสมาสแตไมใชคําสมาส เพราะไมใชคําในภาษาบาลีและสันสกฤต เชน พระอู พระแทน พระเจา เปนตน

นอกจากนี้ยังมีคําที่สังเกตไดชัดวาเปนคําสมาสไดแกคําลงทายดวย ศึกษา , วิทยา , กรรม , ภาพ , ศิลป , ภัย , ศาสตร , การ , คดี , ธรรม , ภัณฑ , ลักษณ

ตัวอยางคําที่ไมใชคําสมาส

โรงเรียน เพราะ โรง เปนคําไทย เรียน เปนคําไทยบายศรี เพราะ บาย เปนคํา เขมร ศรี เปนคําสันสกฤตผลไม เพราะ ผล เปนบาลี/สันฯ ไม เปนคํา ไทยเทพเจา เพราะ เทพ เปนบาลี เจา เปนคําไทยราชวัง เพราะ ราช เปนคําบาลี/สันฯ วัง เปนคําไทย

คําสมาสท่ีมีสนธิคําสมาสที่มีสนธิ หมายถึง คําสมาสท่ีพยางคแรกของคําหลังเปนสระ และมีการกลมกลืนเสียงระหวางพยางคหลังของคําแรกกับพยางคแรกของคําหลัง การกลมกลืนเสียงหรือการเชื่อมเสียงเชนนี้เราเรียกวา การสนธิ เพื่อใหคํานั้น มีเสียงสั้นเขาจะไดสะดวกในการออกเสียงและถอยคําสละสลวย

ลักษณะคาํสนธมิีสนธิคําที่นํามาสนธิจะตองเปนคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตสุข (บาลี) + อภิบาล (บาลี) = สุขาภิบาลศิลป (สันสกฤต) + อาชีพ (บาลี) = ศิลปาชีพคําที่นํามาสนธิกันอยางนอยจะตองมี ๒ คําอยางมากไมจํากัด เชน ประชา + อากร = ประชากรเหตุ + อน + เอก + อรรถ = เหตวาเนกรรถ

เรียงลําดับกลับกับคําไทยท่ัวไป คือเรียงตนศัพทไวหลัง ศัพทประกอบไวหนาเวลาแปลความหมายก็ตองจากศัพทหลังยอนไปขางหนาอยางคาํสมาส เชนจุล (เลก็,นอย) + อนิทรีย (รางกายและจิตใจ) = จุลินทรีย ( สิง่มีชวีิตขนาดเล็กมาก ) เปนตน

คําที่นํามาสนธิกันตองมี สระ หลัง สระหลัง

สระหนา คือ สระที่อยูสุดทายคําหนาหรือเรียกวา พยางคทาย

ของคําหนา เชนมหา ไดแก สระ อา ที่ตัว หพุทธ ไดแก สระ อะ ที่ตัว ธมติ ไดแก สระ อิ ที่ตัว ต

สระหลัง คือ สระที่เปนพยางคหนาของคําหลัง สระหลังนี้จะตองเปนสระลวนๆไมมีพยัญชนะประสมอยู เชน

อาภรณ ไดแก สระ อาอุบาย ไดแก สระ อุ เปนตน

ถาเปนสระสนธิพยางคหนาของคําหลังหรือเรียกวาสระหลัง จะตองเปนสระ คือขึ้นตนดวยตัว อ เชน อภิรมณ อินทร อาคม เปนตน

ชนิดของคาํสนธ ิมี ๓ ชนิด คือ

๑. สระสนธิ ๒. พยัญชนะสนธิ๓. นฤคหิตสนธิ

ตัวอยางคําสนธิเทพเจา เทพบุตร เทพไท พระแทน พระขนง พระมารดา พลากร พลศึกษา พลานามัย ธรรมมาสน ธรรมศาสตร ธรรมนุภาพ อิสรภาพ อนาทร สารคดี ราชสํานัก มหรรณพ มหาบุรุษ สังกร

Recommended