เอกสารประกอบการอบรม...

Preview:

DESCRIPTION

ชื่อหนังสือ: เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ ปีที่พิมพ์: 2556 จำนวนหน้า(รวมปก): 43

Citation preview

เอกสารประกอบการอบรม

หลักสูตรระยะส้ันงานศิลป�ถ่ินกรุงเก�า (คร้ังที่ ๑)

ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญา

จากตู�พระธรรมลายรดน้ํา

ฝ�กอบรมโดย อาจารย�ศุภชัย นัยผ�องศรี

และอาจารย�วันลี ตรีวุฒิ

วันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรระยะส้ันงานศิลปถ่ินกรุงเกา (ครั้งท่ี ๑)

“ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญา จากตู�พระธรรมลายรดนํ้า”

วันท่ี ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

จัดพิมพโดย สถาบันอยุธยาศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ธันวาคม ๒๕๕๖ จํานวน ๘๐ เลม

๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗

ผูจัดทํา: ฝายวิชาการ

พัฑร แตงพันธ สาธิยา ลายพิกุน

คณะบรรณาธิการ: ฝายสงเสริม และเผยแพรวิชาการ

ปทพงษ ชื่นบุญ อายุวัฒน คาผล อรอุมา โพธ์ิจิ๋ว

ขอขอบคุณ หัวหนาพิพิธภัณฑสถานแหงชาติจันทรเกษม ผูอํานวยการพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา

คุณ ธนิสร เพ็ชรถนอม และคุณชัชนันท์ิ ภักดี ท่ีเอ้ือเฟอสถานท่ี และภาพถาย

สารบัญ

หนา

งานลายรดน้ํา วิภารัตน ประดิษฐอาชีพ

ศิลปะลายรดน้ํา

และข้ันตอนการสรางสรรคลายลดน้ํา วันลี ตรีวุฒิ และศุภชัย นัยผองศรี

ศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํา

วันลีย กระจางว ี

บรรณานุกรม

บันทึก

๑๑

๑๙

๓๕

๓๖

หนา ๑

งานลายรดน้ํา 0* วิภารัตน ประดิษฐอาชีพ

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

งานเขียนภาพลายรดน้ําเปนงานประณีตศิลปประเภทหนึ่ง ซึ่งใชวิธีเขียนจิตรกรรมเปนภาพหรือลวดลายลงบนพ้ืนท่ีลงรักหรือทาชาด แลวจึงปดทองและรดน้ําหรือเช็ดดวยน้ําใหเหลือเพียงภาพและลายท่ีตองการ จึงเรียกกันวา ลายปดทองรดน้ํา ตอมาเรียกสั้นลงเปนลายรดน้ํา1

๑ หรือบางครั้งเรียกกันวา ลายทอง ก็มี

* บทความน้ีคัดจากเน้ือหาสวนหน่ึงของบทความเรื่อง งานชางรัก ในการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “งานชางหลวง” ของสํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร. ๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖),

๙๒๒.

หนา ๒

ปจจัยสําคัญในการเขียนลายทองคือ “พื้น” ชนิดตาง ๆ ไดแกพื้นไม พื้นผนังปูน พื้นโลหะ พื้นหนังสัตว อยางไรก็ตาม วัสดุท่ีนิยมเขียนลายรดน้ํามากท่ีสุดดูเหมือนจะเปนไม ซึ่งคงจะมีสาเหตุมาจากท่ีรักมีคุณสมบัติรักษาเนื้อไมไดดี ทําใหไมคงทนแข็งแรง ไมผุงาย ชวยปองกันน้ํา ความช้ืน และแมลงท่ีจะกัดกินเนื้ อ ไม ไดอีกด วย 2

๒ ซึ่ ง ทํา เปน เครื่ อง ใช เครื่ องครุภัณฑ เครื่ องอุปโภค อาคารสถาน ท่ี และเครื่องประดับตกแตงท่ีมีขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ เชน เขียนลวดลายตกแตงพื้นตะลุม โตก พาน ใบประกับหนาคัมภีร หีบหนังสือ ฝาและบานประตู หนาตาง ฉากลับแล ตูพระธรรม ฯลฯ สวนวัสดุท่ีสําคัญในการทํางานเขียนลายรดน้ํา ไดแก ยางรัก หรือรักน้ําเกล้ียงสมุก น้ํายาหรดาน และทองคําเปลว และยังมีสวนประกอบอื่น ๆ อีก ไดแก ฝกสมปอย กาวยาวมะขวิด ดินสอพอง ฝุนถานไม ผงดินเผา กระดาษทราย

การเขียนลายรดน้ํามีข้ันตอนโดยสรุปคือ การเตรียมพื้นโดยลงสมุกหรือถมพื้นดวยสมุก ขัดใหเรียบแลวจึงทายางรัก หรือลงรักน้ําเกล้ียง กวดใหเรียบเกล้ียงถึงสามช้ัน และขัดฟอกหนารัก เช็ดรักขัดเงา ไดพื้นท่ีดีแลวจึงรางรูปภาพ โรยแบบเพื่อเขียนน้ํายา หรดาน ถมเสนหรือทับเสน และถมพื้น เขียนระบาย ในชองไฟระหวางลายหรือระหวางรูปภาพสวนท่ีตองการใหเปนพื้นสีดําตามแบบท่ีโรยไว ข้ันสุดทาย คือ การเช็ดรักปดทองคําเปลวใหเต็มพื้นท่ี เรียกวา ปดทองปูหนา และกวาดทองหรือกวดทองคําเปลว ใหแนบติดกับพื้นใหสนิทกอนจะรดน้ํา คือใชน้ําสะอาดรด ราดบนพื้นรัก จะปรากฏภาพท่ีเหลือเปนสีทองบนพื้นชองไฟสีดํา

หมอมเจายาใจ จิตรพงศ ไดสันนิษฐานไววา งานลายรดน้ําคงจะเปนการคิดคนสรางสรรค ข้ึนดวย ภูมิปญญาของชางไทยเอง เพราะแมในประเทศจีน และประเทศญี่ปุนจะมีการทําเครื่องรักสีดําแตงดวยทองมากอนแลว แตก็มีกรรมวิธีแตกตางไปจากวิธีการทําลายรดน้ําของไทย 3

ลายรดน้ําจะเริ่มทําข้ึนในสมัยใดไมมีหลักฐานแนชัด แตอาจเปนไปไดวา มีการทําแลวใน สมัยสุโขทัย เนื่องจากไดพบวาในสมัยนั้นมีการลงรักปดทองพระพุทธรูป และการปดทองลองชาด เครื่องจําหลักไมแลว ท้ังยังไดปรากฏขอความตอนหนึ่งจากจดหมายเหตุเรื่องพระราชไมตรีระหวาง กรุงสยามกับกรุงจีน กลาวถึงรัชสมัยของพอขุนรามคําแหง ในป พ.ศ. ๑๘๓๔ ความวา

“หลอฮกกกออง (หมายถึง ผูเปนใหญในหมูคนไทย) ใหนําราชทูตนําสาสนอักษรเขียนดวย ลายน้ําทอง กับเครื่องบรรณาการ .......... มาถวาย 4

อยางไรก็ตาม ไมพบหลักฐานช้ินงานตกแตงดวยลายรดน้ําในสมัยสุโขทัยหลงเหลือมาถึงปจจุบัน หลักฐานท่ีเกาแกท่ีสุดของงานลายรดน้ําจึงมีต้ังแตในสมัยอยุธยาเปนตนไป

๒ เรื่องเดียวกัน, ๓๙-๔๐.

๓ เรื่องเดียวกัน, ๕๐.

๔ จุลทรรศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลอ (กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๑๖), ๖-๗.

หนา ๓

ลายรดน้ําในสมัยอยุธยามีทํากันอยางแพรหลาย และเจริญสูงสุดในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ ถึงตอนกลางพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ 5

๕ โดยพบหลักฐานเกาท่ีสุดในสมัยอยุธยาตอนตน ไดแก ขอความจาก พระราชกําหนดในกฎมณเฑียรบาลท่ีตราข้ึนไปในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๐๓๑) ความวา

“กลด ตอดํ้าประกับมุข ใบทาชาดเขียนลายทอง” ซึ่งสันนิษฐานวาการเขียนลวดลายทองบน พื้นสีแดงชาดเพื่อตกแตงกลดใหสวยงามนี้ คงจะหมายถึงกระบวนการทําลายรดน้ํานั่นเอง 6

ลายรดน้ําในสมัยอยุธยามักเขียนระบายพื้นสีแดงชาด ตอมาภายหลังจึงนิยมทําพื้นสีดํา ท่ีเปนเชนนั้นสันนิษฐานวาชวงแรกเริ่มนั้น ชางหลวงเปนผูใชในการตกแตงเครื่องราชูปโภคถวายกษัตริย จึงใชสีแดงซึ่งเปนสีสัญลักษณของกษัตริย เมื่อการเขียนลายรดน้ําแพรขยายออกไปใชกับวัด และสามัญชนติดท่ีกฎขอหามเรื่องการใชสี จึงไดใชสีดําแทน ดังนั้นสีพื้นของลายรดน้ําจึงแตกตางกันไปตามผูเปนเจาของ7

๗ การตกแตงดวยลายรดน้ําในสมัยอยุธยานี้ มีหลักฐานวาทํากันอยางกวางขวางโดยท่ีโดดเดนอยางมาก ไดแก ลายรดน้ําบนตูพระไตรปฎกซึ่ งพบเปนจํานวนมาก และเปน ท่ีนิยมตอเนื่องไปจนถึงใน สมัยรัตนโกสินทร

เนื่องจากพระท่ีนั่งและพระมหาปราสาทตาง ๆ ในสมัยอยุธยาไดชํารุดเสียหายไปจนไมเหลือหลักฐานการตกแตงดวยลายรดน้ําไวใหไดศึกษา แตยังคงมีหลักฐานทางเอกสารท่ีกลาวถึงพระท่ีนั่งสรรเพชญปราสาทในรัชสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง (พ.ศ.๒๑๗๓ – ๒๑๙๙) โดยปรากฏในจดหมายเหตุ เรื่องพระราชไมตรีในระหวางกรุงสยามกับกรุงจีนความวา

“กกออง (พระเจาแผนดิน) อยูในเมืองขางฝายทิศตะวันตกท่ีอยูสรางเปนเมืองรอบกําแพงประมาณ สามล้ีเศษ เตย (พระท่ีนั่ง) เขียนภาพลายทอง”

ตอมาในสมัยของสมเด็จพระเจาบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑) ราชทูตจากลังกาท่ีเดินทางเขามาขอพระสงฆไทยใหไปชวยฟนฟูพุทธศาสนาไดพรรณนาถึงพระท่ีนั่งองคนี้ไวดวย ดังความวา

“เมื่อลวงประตูช้ันท่ี ๒ เขาไปก็ถึงพระท่ีนั่ง (สรรเพ็ชญปราสาท) สองขางฐานมุขเด็จพระท่ีนั่ง มีรูปภาพตาง ๆ ต้ังไว คือ รูปหมี รูปราชสีห รูปรากษส รูปโทวาริก รูปนาค รูปพิราวะยักษ รูปเหลานี้ลวน ปดทองต้ังอยางละคู ตรงหมูรูปข้ึนไป เปน (มุขเด็จ) ราชบัลลังกสูงประมาณ ๑๐ คืบ ต้ังเครื่องสูงรอบ (มุขเด็จ) ราชบัลลังกนั้นผูกมานปกทองงามนาพิศวง ฝาผนังพระท่ีนั่งก็ปดทอง”8

๕ ศิลป พีระศรี, เรื่องตูลายรดนํ้า (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๐๓), ๕.

๖ จุลทัศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลอ, ๗.

๗ เรื่องเดียวกัน, ๗ – ๘ .

๘ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, เรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศในลังกาทวีป (พระนคร: ม.

ป.ท., ๒๕๐๓), ๑๒๑-๑๒๒. (อนุสรณในงานพระเมรุพระศพ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๐๓).

หนา ๔

สวนพระตําหนักตาง ๆ นั้นพบวามีความนิยมตกแตงเสาและฝาผนังดวยลายรดน้ําเชนกัน ดังขอความในคําใหการขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม ความวา “ริมชาลามหาปราสาทสุริยามรินทรนั้น มีพระตําหนักใหญ ๕ หอง ฝากระดานหลังเจียด พื้นฝาทาแดงเขียนลายทอง ทรงขาวบิณฑเทพนมพรหมภักตร เปนพระตําหนักฝายในหลัง ๑”

“มีพระตกหนักหาหอง ฝาเขียนทองพื้นลงรักอยูในกลางสวนกระตาย ๑”

“ดานเหนือ (พระท่ีนั่งบัญญงครัตนาศน) นั้นมีพระตําหนักปลูกปกเสาลงในสระดานเหนือหลังหนึ่ง ๕ หอง ฝากระดานเขียนลายรดน้ํา ทองคําเปลวพื้นทารัก”9

พระตําหนักซึ่งเช่ือกันวาสรางข้ึนในสมัยอยุธยา และยังเหลืออยูจนถึงปจจุบันมีเพียง ๓ หลัง ซึ่งลวนมีการตกแตงดวยลายรดน้ําท้ังส้ิน พระตําหนักเหลานี้ตอมาไดกลายเปนเสนาสนะของวัด บางครั้งจึงถูกจัดวาเปนอาคารประเภทศาสนสถานก็มี10

๑๐ ไดแก

ตําหนักทองวัดไทร กรุงเทพฯ เดิมเปนพระตําหนักของสมเด็จพระเจาเสือ ซึงตอมาทรงพระราชอุทิศใหเปนกุฏิสงฆ ช่ือตําหนักทองมีท่ีมาจากฝาผนังลงรักเขียนลายน้ําอยางสวยงามท้ังหลัง 11

๑๑

www.gerryganttphotography.com

พระตําหนักทอง วัดไทร กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๑

๙ จุลทรรศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลอ, ๑๐

๑๐ เรื่องเดียวกัน, ๑๐ – ๑๑.

๑๑ วรรณิภา ณ สงขลา, จิตรกรรมสมัยอยุธยา (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๕), ๑๙๔.

หนา ๕

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ สันนิษฐานวาสรางข้ึนในสมัยสมเด็จพระนารายณ (พ.ศ.๒๑๙๙-๒๒๓๑) เดิมเปนตําหนักของเจานาย ต้ังอยูท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แลวยายมาอยูท่ีวัดบานกล้ิงในจังหวัดเดียวกัน โดยมีคูกัน ๒ หลัง เปนหอไตรหลังหนึ่ง และหอเขียนอีกหลังหนึ่ง ตอมาไดบูรณะรวมกันเขาเปนหลังเดียว และในปพุทธศักราช ๒๕๐๑ ม.ร.ว. พันธุทิพย บริพัตร ไดซื้อแลวยายมาปลูกข้ึนใหมท่ีวังสวนผักกาด จนถึงปจจุบัน ผนังภายในของหอเขียนนี้ตกแตงดวยภาพลายรดน้ําเต็มทุกดาน เปนเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติและรามเกียรต์ิ12

๑๒

www.bareo-isyss.com/decor6.htm

www.thaiticketmajor.com www.thailandsworld.com

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ

๑๒

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๙๕ ; และดู หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล, “ประวัติหอเขียนวังสวนผักกาด” ใน หอเขียนวังสวนผักกาดฺ (กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,๒๕๐๒), ๓๗.

หนา ๖

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม (ตําหนักสมเด็จแตงโม) จังหวัดเพชรบุรี มีลวดลายรดน้ําประดับอยูท่ีตนเสาแตละตนงดงามมาก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๕ มีพระราชหัตถเลขาช่ืนชมไวเมื่อคราวเสด็จประพาสมณฑลราชบุรีในพุทธศักราช ๒๔๕๒ ความตอนหนึ่งวา

“หลังพระอุโบสถตรงกันแนวเดียว มีการเปรียญยาว เสาแปดเหล่ียม เขียนลายรดน้ํา ลายไมซ้ํากันทุกคู ฝากระดานปะกนขางนอกเขียนลายทอง ขางในเขียนน้ํากาว บานประตูสลักซับซอน ซุมเปนคูหางามเสียจริง ขอซึ่งคิดจะเอาอยางสรางการเปรียญวัดราชาธิวาสก็เพราะรักการเปรียญวัดใหญนี้”13

๑๓

http://2g.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E9895581/E9895581.html www.bloggang.com

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม

สําหรับงานรักประเภทลายรดน้ําในสมัยอยุธยายังนิยมประดับบนตูพระธรรม หีบพระธรรม ไมประกับคัมภีรใบลาน เครื่องอุปโภคตาง ๆ เชน ตะลุมโตก พานแวนฟา เตียบ เช่ียนหมาก เปนตน ดังคําใหการของขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม ความตอนหนึ่งวา

“ถนนยานปาเตียบ (ในเมือง) มีรานขายตะลุมมุก ตะลุมกระจก แลมุกแกมเบ้ือ ตะลุมเขียนทอง ภานกํามะลอ ภานเลว ภานหมาก ช่ือยานปาเตียบ ๑14

๑๔

หลักฐานทางดานศิลปกรรมท่ีมีการตกตางดวยลายรดน้ําสมัยอยุธยา แสดงใหเห็นวากระบวนการตกแตงส่ิงของเครื่องใชตาง ๆ ดวยวิธีปดทองเขียนลายรดน้ํานั้น เปนท่ีนิยมเจริญรุงเรืองมาแลว โดยเริ่มตนจากท่ีชางหลวงไดสรางเครื่องอุปโภคตาง ๆ เพื่อถวายสนองรับใชพระมหากษัตริย

๑๓

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อคราวเสด็จประพาสมณฑลราชบรุี พ.ศ.๒๕๕๒ (กรงุเทพฯ: ม.ป.ท., ๒๕๑๖), ๓ – ๔. ๑๔

จุลทรรศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลด, ๑๓.

หนา ๗

จากนั้นจึงขยายไปถึงการสราง ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ และแพรหลายสูชาวบานท่ีศรัทธาในพระพุทธศาสนา การสรางสืบทอดกรรมวิธีตอเนื่องกันมาถึงสมัยรัตนโกสินทร

ในสมัยรัตนโกสินทร ความนิยมในการตกแตงอาคารและเครื่องอุปโภคดวยกรรมวิธีปดทองรดน้ํา

เหมือนเชนสมัยอยุธยายังคงมีอยู ซึ่งคงไดรับการถายทอดความรูในเชิงชางสืบตอกันมา ซึ่งปรากฏในงานศิลปกรรมสําคัญ ๆ ไดแก พระมหาปราสาทราชมณเฑียร และพระอารามท่ีสรางสมัยรัตนโกสินทร ไดแก

พระอุโบสถของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลท่ี ๑ โปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนใหมครั้งนั้นไดเขียนตกแตงลายปดทองรดน้ําบนพื้นสีแดงชาดลงบน ฝาผนัง ดานนอกรอบพระอุโบสถ ตอมาทรุดโทรมลงจึงไดมีการปฏิ สังขรณ เปล่ียนแปลงไปใน สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๓

www.bansansuk.com/travel/watprasiratana

http://bombik.com/node/404/ http://bombik.com/node/404/

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

พระพิมานดุสิดา เดิมเปนหอพระ ต้ังอยูกลางสระทางทิศตะวันตกของพระท่ีนั่งศิวโมกขพิมาน

ภายในพระราชฐานช้ันในพระราชวังบวรสถานมงคลสมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท (พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๔๖) โปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนแทนท่ีพระมหาปราสาท ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนเมื่อจุลศักราช ๑๑๔๔ (พ.ศ.๒๓๒๖) ปเถาะ เบญจศก เนื่องจากมีกบฏบัณฑิต ๒ คนลอบเขาพระราชวังหนา แอบจะทํารายสมเด็จฯ กรมพระราชวังบวรฯ และเกิดการจับกุมฆาฟนกันตายลงในท่ีสรางพระมหาปราสาทนั้นคน

หนา ๘

หนึ่ ง จึงทรงพระราชดําริวาพระราชวังบวรสถานมงคลครั้ งกรุงศรีอยุธยาไมมีธรรมเนียมสราง พระมหาปราสาท พระองคมาสรางปราสาทข้ึนในพระราชวังบวรกรุงเทพฯ นี้ เห็นจะเกินวาสนาไปจึงมีเหตุ

จึงไดรื้อพระมหาปราสาทมาทําพระมณฑปท่ีวัดมหาธาตุ สวนบริเวณท่ีสรางพระมหาปราสาทนั้นโปรดฯ ใหสรางพระวิมานถวายเปนพุทธบูชาเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป ขนานนามวา “พระพิมานดุสิดา” ฝาผนังดานนอกปดทองประดับกระจก สวนดานในเขียนลายรดน้ําอยางประณีตงดงาม ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี ๒ พระพิมานดุสิดาคงชํารุด สมเด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษจึงโปรดเกลาฯ ใหรื้อสะพาน

พระวิมานกลาง และพระระเบียงออก นําเอาฝาตัวไมท่ียังใชไดถวายเปนฝาโรงธรรมวัดชนะสงคราม เมื่อคราวสงครามเอเชียมหาบูรพาไดถูกระเบิดทําลายพังเสียหายมาก ยังเหลือแตบางสวน เชน เสา ครั้นเมื่อวันท่ี ๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๑ พระครูวิสุทธิศิลาจารย (ฉันโท วง) เจาอาวาสวัดมะกอก เขตตล่ิงชัน ฝงธนบุรี มารับซื้อสวนท่ียังใชไดนําไปปรับปรุงสรางเปนหอสวดมนตและศาลาการเปรียญข้ึนไวท่ีวัดนั้น ปจจุบันคงเหลือเฉพาะบานประตูพระวิมานเก็บรักษาไว ณ วัดชนะสงคราม

พระพุทธมณเฑียรในสวนขวา ในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยรัชกาลท่ี ๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนโดยใชไมมีเสาเขียนลายทองบนพื้นแดง และฝาผนังเขียนลายรดน้ําเรื่องปฐมสมโพธิ

ฉายลายรดน้ําในพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาทเปนฉากขนาดใหญ ใชงานเปนฝาประจันกั้นมุขดานทิศใต มีความยาว ๘.๔ เมตร สูง ๒.๒ เมตร ตัวฉากและกรอบลวนเปนไมจริง ฉากแบงออกเปน ๕ สวน แผนกวางท่ีสุดคือสวนท่ีอยูตรงกลาง กวาง ๓.๔๖ เมตร สวนอีก ๔ แผนท่ีอยูทางซายและขวากวางเทา ๆ

กัน ท้ังสองดานของฉากเขียนลายรดน้ําซึ่งผูกข้ึนจากเรื่องพระราชพิธีอินทราภิเษกเปนเรื่องหลักผสมผสานกับเรื่องเมืองสวรรค ภาพเทพชุมนุม เปนตน

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ลายรดน้ําของไทยถือไดวาเฟองฟูเต็มท่ี เพราะโปรดการทํานุบํารุงพระศาสนาเปนอยางยิ่ง จึงมีการปฏิสังขรณและสรางพระมหาปราสาทและวัดวาอารามใหมข้ึนเปนจํานวนมาก ซึ่งวัดท่ีสรางหรือบูรณะในรัชสมัยนี้นิยมตกแตงบานประตู บานหนาตาง

และองคประกอบท่ีเปนไมดวยลายรดน้ํา เชน

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีการตกแตงดวยลายรดน้ํา ดังนี้ “ในบานพระทวารขางในลวดลายรดน้ํา เปนเครือแยงทรงขาวบิณฑ ดอกในพื้นแดง สองขางผนังบานกบภายในพระทวารเขียนระบายเปนตนไมเทศพื้นขาว เพดานทับหลัง พระทวารขางในปดทองลายรดน้ํา เปนดอกจอกใหญ ดอกจอกนอย วงรอบพื้นชาด และในหองพระอุโบสถข่ือใหญลายรดน้ําเปนเครือแยงดอกในพื้นชาด มีกรวยเชิงสลับสี พื้นเขียว แดง มวง เปน ๓ ช้ัน”

พระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร หลังบานประตูเขียนลายรดน้ําเปนรูปพัดพระราชาคณะ ฐานานุกรมเปรียญท้ังฝายคามวาสีและอรัญวาสีของวัดในเมืองหลวงและในหัวเมือง ท่ีบานหนาตางดานในเขียนลายรดน้ําเปนรูปตราเจาคณะสงฆ กรอบเช็ดหนาเขียนลายทองเปนเครือเทศและบานประตูพระระเบียงช้ันนอกดานนอกเขียนลายรดน้ําเปนรูปกุมภัณฑ อสูรตาง ๆ เปนตน

หนา ๙

พระพุทธรูป ไดแก พระพุทธไสยาสนขนาดใหญท่ีวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพฯ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางข้ึน โดยท่ีฝาพระบาทของพระพุทธรูปเขียนลวดลายรดน้ําเปนรูปกงจักรและมงคล ๑๐๘ ประการ

ตูพระธรรมในพระท่ีนั่งพุทไธสวรรย สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ (พ.ศ. ๒๓๖๗ –

๒๓๗๕) โปรดใหสรางสําหรับใสพระไตรปฎกจํานวน ๓ ใบ เปนตูสามตอน ๑ ใบ และตูสองตอน ๒ ใบ ใชกั้นเปนอยางฝาประจันหอง ประจําในพระท่ีนั่งพุทไธสวรรย สําหรับเก็บรักษาพระธรรมคัมภีรของพระราชวังหนา ท้ังนี้สันนิษฐานวาในสมัยพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ พระท่ีนั่งพุทไธสวรรยนอกจากใชเปน หอพระ ประกอบการพระราชพิธีแลวยังใชเปนท่ีบอกหนังสือ (เรียนหนังสือ) ของพระสงฆและสามเณรดวย

โดยทรงเลือกชางเขียนฝมือดีในขณะนั้นเปนผูเขียน ปรากฏช่ือมีเจากรมออน (หลวงพรหมปกาสิต) คนหนึ่ง

ทานผูนี้เปนผูทําบานประดับมุกประตูพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม นอกจากนี้ยังมีคนอื่นเขียนถวายอีก

ตูพระธรรมและหีบพระธรรม รวมท้ังไมประกับคัมภีร ยังมีการทําสืบทอดกันมาในสมัยรัตนโกสินทรจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๔ จึงเริ่มเส่ือมความนิยมลงไป แตยังคงมีการตกแตงดวยลายรดน้ําบนเครื่องอุปโภคอื่นๆ เชน เขียนแผงขางอานมา หนาฆอง ใบพาย เปนตน

งานลายรดน้ําฝมือของชางหลวงจึงไดแกงานศิลปกรรมตางๆ ท่ีคิดประดิษฐข้ึนในราชสํานัก เชน เครื่องราชูปโภคหรือเครื่องใชตางๆ ของพระมหากษัตริยและเจานายช้ันสูง ซึ่งพระมหากษัตริยทรงเปนองคอุปถัมภพระศาสนา ไดถวายส่ิงของเครื่องใชตางๆ ใหวัดท่ีสําคัญ ตอมาพอคาคหบดีผูมีจิตศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาก็สรางถวายเอาไวเปนพุทธบูชาตามอยางบาง ส่ิงของเครื่องใชท้ังหลายท่ีไดรับพระราชทานและไดรับบริจาคโดยพระมหากษัตริยและเจานายช้ันสูงเหลานี้ ยังคงเก็บรักษาอยูตาม วัดตางๆ ท่ัวประเทศไทย โดยสวนใหญแลวงานลายรดน้ําและกํามะลอท่ีทําโดยกลุมชางหลวงมักจะสรางข้ึนจากสวนกลางคือ เมืองหลวง หรือปริมณฑล ซึ่งมักจะเปนแหลงรวมชางฝมือดี เมื่อบานเมืองขยายตัวออกไป หัวเมืองตางๆ ก็พัฒนาเจริญกาวหนามากข้ึน งานชางบางสวนก็ขยับขยายเคล่ือนยายออกไปตามแหลงตางๆ ดังท่ีสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงบันทึกไววา

“.....ไดพบหีบหนังสือใหญ อยางกนสอบปากผาย มีฐานรองท่ีพัทลุงใบหนึ่ง เขียนลายรดน้ํา เปนฝมือรุนครูวัดเชิงหวาย ดานหนาเปนรูปภาพแกมกระหนก มีรูปพระแผลง รูปหนุมาน รูปกินนรคูหนึ่ง

นกอินทรีคูหนึ่ง สิงโตคูหนึ่ง ราชสีหคูหนึ่ง คชสีหคูหนึ่ง กวางคูหนึ่ง ดานขางเขียนกระหนกพะเนียง เบ้ืองลางมีรูปฤษีกับสัตวปา ดานหลังเขียนลายนกไม... เห็นจะเปนการทําปลอยหัวเมือง”

จากลายพระหัตถของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ขางตน เปนหลักฐานท่ีแสดงใหเห็นวามีการเคล่ือนยายตูหรือส่ิงของเครื่องใชท่ีเปนฝมือชางหลวงออกไปตามหัวเมืองตาง ๆ มีหลักฐานวาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๔ มีการสรางตูพระไตรปฏกถวายวัดต างๆ ไดแก จังหวัดเพชรบุรี ๓ วัด คือ วัด จันทราวาส วัดลาด วัดพระทรง และภาคตะวันออกอีก ๓ วัด คือ วัดมะกอกลาง จังหวัดระยอง วัดพลับ จังหวัดจันทบุรี และวัดบุปผาราม

จังหวัดตราด นอกจากนี้ยังมีการใหชางหลวงไปปฏิบัติงานตามหัวเมืองท่ีเปนพระราชดําริอีกดวย

หนา ๑๐

ตอมาภายหลัง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดทรงรวบรวมส่ิงของเครื่องใชท่ีงดงามดวยฝมือของชางหลวงในอดีตเหลานั้น กลับเขามาเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

ดังพระราชปรารภของพระองควา “ถามีผูหวงแหนรักษาไวกับท่ีไดก็ดี แตถาจะรักษาไวไมไดก็ควรเก็บเขาเสียท่ีพิพิธภัณฑ กรุงเทพฯ” ๏

หนา ๑๑

ศิลปะลายรดน้ํา และขั้นตอนการสร�างสรรค�ลายรดนํ้า

วันลี ตรีวุฒิ ศุภชัย นัยผองศรี

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

งานศิลปะลายรดน้ําเปนหนึ่งในงานชางสิบหมูประเภทชางรัก และเปนงานศิลปะไทยท่ีมีเอกลักษณ คือเปนภาพท่ีใชสีแคสองสี ไดแก สีทองของทองคําและสีดําของยางรัก

สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานไดอธิบายวา “ลายรดน้ํา คืองานจิตรกรรมไทยแขนงหนึ่ง ไดรับชางถายทอดความรูกันมาต้ังแตสมัยโบราณ เปนวิธีการท่ีชางเขียนไดคิดทําไวชานานแลว ลายรดน้ําประกอบดวยการลงรัก เขียนลายดวยน้ํายาหรดาลและปดทองรดน้ํา” ...

หนา ๑๒

สวนใหญเราจะพบงานลายรดน้ําเขียนบนพื้นไมท่ีพบมากคือ ลายรดน้ําประดับภายนอกของ ตูพระไตรปฎก ซึ่งบางครั้งเรียกวาตูลายทอง หีบไมลับแล บานประตู บานหนาตาง และท่ีนาสนใจคือ ภาพลายรดน้ําขนาดใหญ ตกแตงผนังดานนอกของอาคารไม ซึ่งมักเปนพระตําหนักของกษัตริยมากอน ไดแก หอเขียน วังสวนผักกาด และตําหนักไมท่ีวัดไทร เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ

ไมปรากฏหลักฐาน ท่ีบ งบอกให รู ไ ด ว า ใน สังคมไทย เริ่ ม ทํ าลายรดน้ํ า เมื่ อ ใด ท้ั งนี้ งานศิลปะลายรดน้ําสวนใหญ ท่ีพบเปนงานในสมัยอยุธยาตอนตน ปลาย และตนรัตนโกสินทร (รัชกาลท่ี ๑ – ๔ )

ลายรดน้ําเปนงานปราณีตศิลปท่ีงดงาม ดังท่ีศาสตราจารยศิลป พีระศรี ไดกลาวถึงลายรดน้ําในหนังสือ ตูลายรดน้ําไววา

“บรรดาศิลปประยุกต ท่ีคนไทยในสมัยโบราณสรางข้ึนไว มีอยูประเภทหนึ่ง (สวนมาก) ทําลวดลาย เปนภาพปดดวยบนแผนทองคําเปลวบนพื้นรักสีดํา งานศิลปะประเภทนี้มีความสําคัญมากสําหรับตกแตงส่ิงของเครื่องใชของชาวบาน และเครื่องใชในพระศาสนา .. งานชางรักประเภทนี้ เราเรียกวา “ลายรดน้ํา” (หมายถึงการทํางานสําเร็จในช้ันสุดทายดวยการเอาน้ํารด..) ไดเจริญสูงสุดในสมัยอยุธยา ต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ จนถึงตอนกลางพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ ..”

น. ณ ปากน้ํา ศิลปนแหงชาติผูเช่ียวชาญดานศิลปะไทยไดกลาวถึงลายรดน้ําวา

ลายรดน้ําปดทองหรือลายไทยของเราเปนวิสุทธิศิลปประเภทหนึ่ง ซึ่งสําแดงออกดวยน้ําหนักชองไฟ และเสนอันงามแสดงอารมณ ความรูตาง ๆ แมจะมีเพียงแคสีทองของตัวลายกับสีดํา”

กลาวไดวาความงามของลายรดน้ําเปนงานศิลปะท่ีผสานกันอยางลงตัวระหวางงานฝมือ และเทคนิคการสรางสรรคงานท่ีซับซอน กวาจะไดเปนงานช้ินหนึ่งตองผานกระบวนการทําท่ีมีข้ันตอนละเอียดตองอาศัยความชํานาญ และประสบการณของชางเปนสําคัญ ข้ันตอนการสร�างสรรค�ลายรดน้ํา

กระบวนการของการสรางงานลายรดน้ํามีกรรมวิธีท่ีสัมพันธกันต้ังแตการเตรียมพื้นผิวจนเสร็จส้ินเมื่อรดน้ําท่ีลายปดทองดังตอไปนี้

การสรางงานลายรดน้ําแบบโบราณ

๑. เตรียมพื้นผิวท่ีจะเขียนลายรดน้ํา ซึ่งถือเปนหัวใจสําคัญท่ีตองเตรียมการอยางดี เพราะจะมีผลตอความคงทนของลายรดน้ํา โดยจะตองขัดผิวใหเรียบ นํารักน้ําเกล้ียงมาทาพื้นใหท่ัวเพื่อ อุดรอยเส้ียนและผ่ึงใหแหง

หนา ๑๓

๒. นํารักน้ําเกล้ียงผสมสมุก 1 5

* โดยบดใหเขากันจนละเอียด นําไปทาท่ีพื้นผิว จากนั้นปลอยท้ิงไวจนแหงสนิท

๓. นําหินหรือกระดาษทรายมาขัดผิวใหเรียบเสมอกัน หากยังไมเรียบใหเอาสมุกท่ี ผสมรักน้ําเกล้ียงมาทาซ้ํา รอแหง และขัดซ้ํา

๔. เมื่อทารักและขัดผิวจนไดพื้นผิวท่ีมีความหนาเหมาะสมแลว ใหทาดวยรักน้ําเกล้ียง และนําไปเก็บในท่ีมิดชิดไมมีฝุนจับได จนเมื่อแหงสนิทนําพื้นผิวนั้นมาเช็ด ปด ทําความสะอาด และทารักน้ําเกล้ียงทับ ปลอยใหแหงทําเชนนี้ซ้ํา ๓ ครั้ง จนพื้นรักข้ึนเงาเปนมัน ท่ีสําคัญคือรักน้ําเกล้ียงนั้น ตองกรองจนไมมีกากหรือฝุนละอองปะปน

๕. เตรียมน้ํายาหรดาลไดแกหินสีเหลืองท่ีนํามาบดใหละเอียด แชน้ํา ลางใหสะอาด และนํามาบดรวมกับน้ําสมปอย แลวนําไปตากแดดใหแหงจากนั้นนํามาใสน้ําตมฝกสมผอย บดจนละเอียดแลวตากแดดอีก ทําเชนนี้ซ้ํา ๒-๓ ครั้ง จากนั้นนํายางมะขวิดมาแชน้ําใหละลาย แลวนํามาผสมกับหรดาลท่ีเตรียมไวจนไดความเหนียวพอดี คือเมื่อแหงแลวเช็ดรักไมหลุด

๖. ข้ันการเขียนลวดลายในสมัยโบราณ นายชางจะนํากระดาษขอยมารางตัวลายท่ีจะเขียน จากนั้นใชเหล็กแหลมปรุตามเสนลายท่ีเขียนไว แตกอนท่ีจะนํากระดาษลายไปทาบพื้นผิวท่ีจะเขียนนั้น จะตองนําดินสอพองละลายน้ํามาลางพื้นผิวเสียกอนแลวเช็ดดินสอพองออกใหหมด จึงนํากระดาษปรุลายมาทาบเอาฝุนดินสอพองเผาใสลูกประคบ นํามาตบบนกระดาษตามรอยปรุ เพื่อใหฝุนนั้นผานรูปรุ ไปติดบนพื้นผิวเปนลวดลาย แลวจึงมวนตลบกระดาษลายไวดานบน (เผ่ือในกรณีท่ีลายท่ีตบดวยฝุนไมชัดเจนสามารถทาบกระดาษไดตรงลายเดิม)

* รักนํ้าเกลี้ยง คือ รักดิบท่ีผานการกรองและไดรับการซบันํ้าเรียบรอยแลว เปนนํ้ายางรักบริสุทธ์ิ รักสมุก คือ รักนํ้าเกลี้ยงผสมกับสมุก มีลักษณะเปนของเหลวคอนขางขน ใชสําหรับอุดแนวทางลงพ้ืน และถมพ้ืน (น ณ. ปากนํ้า กลาววาสมุกท่ีนํามาผสมน้ีคือการเอาใบตองหรือหญาคาแหงมาเผาไฟใหไหมเปนถานหรือเขมาดํานํามาบดกรองอยางละเอียด)

หนา ๑๔

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการนําฝุนดินสอพองเผาท่ีใสในลูกประคบ มาตบลงบนกระดาษปรุลายท่ีทาบลงบนพื้นผิวท่ีจะเขียน

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ฝุนดินสอพองผานรูปรุไปติดบนพื้นผิวเปนลวดลาย

หนา ๑๕

๗. นําน้ํายาหรดาลท่ีเตรียมไวมาเขียนตามรอยท่ีใชลูกประคบโรยแบบปรุไว และถมชองไปท่ีตองการใหเห็นพื้นรักสีดํา โดยในการเขียนนั้นตองมีไมรองมือ มีลักษณะเปนไมยาว เล็ก หุมผาท่ีปลายมิใหเกิดรองรอยท่ีพื้นผิว

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการเขียนหรดาลตามรอยท่ีใชลูกประคบโรยแบบปรุไว

๘. เมื่อเขียนเสร็จใชผานุมเช็ดฝุนออกแลวนําผาชุบยางรักท่ีเค่ียวไฟไวจนเหนียว นํามาทําการเช็ดรัก คือ เช็ดยางรักลงบนพื้นท่ีไมไดลงหรดาล (พื้นท่ีจะปดทอง) และเช็ดออกใหเหลือบางท่ีสุด เรียกวา การถอนรัก การถอนรักนี้ ตองอาศัยความชํานาญ หากทําไมดีจะทําใหหรดาลไมหลุดออกในข้ันตอนสุดทาย

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการถอนรัก ใชผาชุบยางรักท่ีเค่ียวไฟจนเหนียว นํามาเช็ดรักลง บนพื้นท่ีท่ีตองการจะปดทอง และเช็ดออกใหเหลือเพียงบาง ๆ

หนา ๑๖

๙. ปดทองลงบนพื้นท่ีเช็ดรักไว โดยเมื่อปดเสร็จก็นํากระดาษท่ีหุมแผนทองมาชุบน้ํา และปดทับทองท่ีลงไว พรมน้ําใหชุมพื้นผิวท้ังหมด ท้ิงไว ๒-๓ นาที ใหหรดาลละลาย และเช็ดออกดวย สําลีชุบน้ําเบา ๆ นําน้ํามารดและลางจนน้ํายาหรดาลออกจนหมด ทําใหสวนท่ีปดทองกลายเปนตัวลายตามท่ีเขียนไวติดแนนกับพื้นรักแท ๆ ข้ันตอนสุดทายนี้เอง คือท่ีมาของช่ือ ลายรดน้ํา

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการปดทองลงบนพื้นท่ีเช็ดรักไว

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

หนา ๑๗

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการนําน้ํามารด เพื่อลางน้ํายาหรดาลออก จนเผยใหเห็นสวนปดทองท่ีติดแนนกับพื้นรัก

หนา ๑๘

การสรางงานลายรดน้ําดวยวัสดุทดแทน (แบบสมัยใหม)

๑. เตรียมพื้นท่ีจะใชเขียนโดยการใชสีโปวรถยนตทาใหท่ัวพื้นรอใหแหงและขัดใหเรียบดวยกระดาษทราย

๒. เมื่อขัดจนเรียบแลวปดฝุนใหสะอาด และพนสเปรยเคลือบพื้นสีเทาใหท่ัว และท้ิงใหแหง

๓. ลงพื้นดวยสีเฟรกดําทาบาง ๆ รอใหแหง ทําซ้ํา ๓ ครั้ง จนพื้นเรียบเปนเงา และพักไวจนแหงสนิท

๔. เตรียมน้ํายาหรดาล โดยการใชหินหรดาล และน้ําตมฝกสมปอย เชนเดียวกับแบบโบราณ แตใชการกระถิน (น้ํายางของตนกระถินยักษ) แทนน้ํายางมะขวิดได

๕. ลอกลายท่ีตองการเขียนลงบนกระดาษไข และใชเข็มปรุงตามลายท่ีลอกไว

๖. ข้ันการเขียนลวดลายเริ่มจากการทําความสะอาดพื้นดวยดินสอพอง ผสมน้ําเล็กนอย นํามาถูวนใหท่ัวพื้นท่ีเตรียมไว และใชสําลีถูออกใหหมด และนําแบบปรุบนกระดาษไขทาบลงบนพื้น ใชลูกประคบดินสอพองตบใหท่ัว เปนการโรยแบบเพื่อเตรียมเขียน

๗. เขียนลวดลายดวยน้ํายาหรดาล และถมพื้นสวนท่ีไมตองการใหติดทองโดยขณะเขียนใชสะพานรองมือเพื่อไมใหมือสัมผัสกับพื้นท่ีเขียน

๘.เมื่อเขียนเสร็จใชลูกประคบดินสอพองลงบนงานเพื่อทําความสะอาดอีกครั้ง โดยตองอยูในสถานท่ี ๆ ไมมีความช้ืนโดยเด็ดขาด เพราะลายท่ีเขียนอาจหลุดออกได

๙. ใชสีเฟรก แทนยางรัก โดยนําสําลีชุบกับสีและนํามาเช็ดใหท่ัว ใหสม่ําเสมอกัน เมื่อท่ัวแลวใชสําลีเปลาเช็ดซ้ําอีกเรียกวาการถอน จนกวาพื้นจะมีความแหงท่ีเหมาะสมท่ีจะปดทอง

๑๐. ปดทองลงบนพื้นใหท่ัว ใชนิ้วกวดทองเบา ๆ จากนั้น ข้ันการรดน้ําใชสําลีชุบน้ําสะอาดมาเช็ดใหท่ัวและรูดน้ํายาหรดาลออก ลวดลายท่ีเขียนไวก็จะปรากฏ เปนอันเสร็จข้ันตอนการทําลายรดน้ํา ๏

หนา ๑๙

ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญา

จากตู�พระธรรมลายรดน้ํา วันลีย กระจางวี / บรรยาย16*

ธนิสร เพ็ชรถนอม และ ชัชนันท์ิ ภักดี / ถายภาพ

* ภัณฑารักษ ประจําพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

หนา ๒๐

ลายกนกเปลวเถา ประกอบนกคาบ และตัวภาพสัตว ลิง นก

ลายกนกเปลวนกคาบ และ ตัวภาพสัตว กระรอก นก

หนา ๒๑

ลายกนกเปลวเถา นกคาบ เคลาตัวภาพลิง กระรอก

ลายกนกเปลวเถา นกคาบ มีหนาขบคาบกลางลาย เคลากระรอก

หนา ๒๒

ลายกรวยเชิงประดับกรอบตูพระธรรม

.

ลายหนาขบแบบรักรอยประดับกรอบตูพระธรรม

หนา ๒๓

ลายดอกไมรวง และลายประแจจีน สลักไมประดับกระจก

ลายราชวัตใบเทศ สลักไมรองชาดประดับกระจก พื้นแดงประดับกระจก

หนา ๒๔

ลายกนกเปลวเถา นกคาบ

ลายกนกเปลวเถา ออกยอดลายเปนเศียรนาค

หนา ๒๕

ลายกนกเปลวเถา เคลากระรอก

ลายกนกเปลวเถา เคลากระรอก

หนา ๒๖

ลายพุมขางบิณฑ และสถาปตยกรรม

ลายพุมขาวบิณฑ ประกอบผามาน ในภาพสถาปตยกรรม

หนา ๒๗

กรอบนอกลายกระจัง กรอบในลายโบต๋ัน

ตัวภาพทหาร เลมเรื่องชาดก

หนา ๒๘

ตัวภาพบุคคลช้ันสูง (เทวดา) และสถาปตยกรรม

ตัวภาพจับเรื่องรามเกียรต์ิ (ลาง) ลายกนกเปลวเถา นกคาบ

หนา ๒๙

ลายกนกเปลวเถา และตัวภาพ

ลายกนกเปลว และตัวภาพกระรอก

หนา ๓๐

กินรี ประกอบ ลายกนกเปลวและนกคาบ

ลายกนกเปลวเถา

หนา ๓๑

ลายกํามะลอเรื่อง พระเวสสันดรชาดก

ลายกํามะลอเรื่อง พระเวสสันดรชาดก

หนา ๓๒

ลายกํามะลอ ลายมังกรด้ันเมฆ

ขาสิงหแบบจีนประดับตูพระธรรม

หนา ๓๓

ลายเครือเถา ออกลายมังกรอยางจีน

ลายประจํายามประดับกระจก

หนา ๓๔

ขาสิงหแบบมีหนาสิงห

อกเลาโลหะ ประกบหนาตูพระธรรม

หนา ๓๕

บรรณานุกรม เอกสาร

วันลี ตรีวุฒิ และศุภชัย นัยผองศรี . (๒๕๕๖). ศิลปะลายรดน้ํา. พระนครศรีอยุธยา: เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรระยะส้ันงานศิลปถ่ินกรุงเกา (ครั้งท่ี ๑) “ศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํา” จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา.

วิภารัตน ประดิษฐอาชีพ. (๒๕๕๔). งานชางรัก. ใน งานชางหลวง. กรุงเทพฯ: สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร.

ภาพประกอบ

ตูพระธรรมลายรดน้ํา พระราชวังจันทรเกษม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ธนิสร เพ็ชรถนอม และ ชัชนันท์ิ ภักดี.

พระตําหนักทอง วัดไทร กรุงเทพฯ. (๒๕๕๑). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.gerryganttphotography.com

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: bombik.com/node/404/

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.bansansuk.com/ travel/watprasiratana

ภาพชุดศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํา. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). ธนิสร เพ็ชรถนอม และ ชัชนันท์ิ ภักดี.

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.bareo-isyss.com/ decor6.htm

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.thaiticketmajor.com

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.thailandsworld.com/

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). เพชรบุรี: http://2g.pantip.com/ cafe/lueplanet/ topic/E9895581/E9895581.html

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). เพชรบุรี: www.bloggang.com/ viewdiary.php?id=morkmek&month=08-2013&date=15&group=3&gblog=201

หนา ๓๖

บันทึก ............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................ .......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................................. ..........

........................................................................................................................ ...............................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................................... ..

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

หนา ๓๗

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................ .......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................................. ..........

........................................................................................................................ ...............................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................................... ..

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

หนา ๓๘

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................... .................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................. .........................

......................................................................................................... ..............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................... .................

................................................................................................................. ......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................................. .........

......................................................................................................................... ..............................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................................... .

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

หนา ๓๙

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................. ......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................................. .........

......................................................................................................................... ..............................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................................... .

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................ .......................................................

หนา ๔๐

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................................. .........

......................................................................................................................... ..............................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................................... .

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

Recommended