ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย Day1 Decharut

Preview:

Citation preview

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย:

ป่าชุมชนเพื่อโลกเย็น

อ.ดร.เดชรตั สขุกำาเนิดและทมีงานมูลนิธินโยบายสุข

ภาวะ

กระบวนการท้าพิสูจน์ สิทธิในทีด่ิน– ภาพถ่ายทางอากาศ VS กระบวนการทาง

วทิยาศาสตร์ การคำานวณวัฏจักรคาร์บอนและรอยเท้า

นิเวศน์ของชุมชน– ปา่ยางบรรทัด VS สวนยางเชิงเดีย่ว VS

ชุมชนเมอืง การโต้แย้งเรื่องข้อมูลทีใ่ช้ในการ

คำานวณค่าปรับ– ดนิแรธ่าตใุนดนิ + การสูญเสียนำำา +

อณุหภมูิในปา่ยาง การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดย

ชุมชน – หว้ยหนิลาด VS REDD ของรฐับาล– แตอ่ย่าลืมมิตอิืน่ๆ ของการพัฒนาที่ย่ังยืน

ขยายการดำาเนินการไปสู่ชุมชนอื่นๆ

คำาถามเรื่อง โลกร้อนกับสองมาตรฐาน

ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง “การทำาให้อากาศร้อนขึำน”

เปรียบเทียบระหว่างป่ายางเขาบรรทัด VS ขับรถยนต์ VS ชุมชนเมอืง VS มาบตาพุด

อย่ารีดเลือดกับปู (กรุณาไปรีดกับหมบู้าง)

ปัญหาเกี่ยวกับ REDD (ถ้าเราอยากมีป่า และไดเ้งนิ??

ด้วย) จะเกิดเมื่อไร? ต้องใช้เวลานานเท่าไรใน

การพิจารณา? ต้นทนุในการอนุมัติเท่าไร? และต้องเสีย

เงินให้ใครบ้าง? สิทธิของชุมชน/สิทธิในทรัพยากรจะ

เป็นอย่างไร? ในเมื่อการลงทนุในป่าเป็นการลงทนุที่

“คุ้มค่า” อยู่แล้ว แล้วเราจะต้องไป “รอ” และ “เสี่ยง” กับ REDD ทำาไม?

ทำาไมเราไมเ่อาป่าของเราเป็น “สวัสดิการชุมชน” แบบธนาคารต้นไม้ และ “โฉนดชุมชน” ??

แทนที่จะปล่อยให้ “ป่าของเรา” กลายเป็น “ข้ออ้าง” ให้กับประเทศพัฒนาแล้วในการไม่ยอมลดก๊าซเรือนกระจก

และสุดท้ายผลกระทบจากโลกร้อนก็จะตกแก่ “ตัวเรา” เอง

หากยืนบนขาของตัวเองได้

อยา่ยมืจมูกคนอื่นหายใจ

เขามาขอยืม “ป่า” ของเราเราอย่าเผลอไปยืม “เงิน” ของ

เขา

ของฝากสำาหรับห้วยหินลาด ลดรอยเทา้นิเวศน์ลงได้อีกหรือไม?่ เพิ่มการดูดซับคาร์บอนได้อย่างไร? ตัำงเป้าหมายทา้ทายโลกและสังคมไทย

ไปเลย นวัตกรรมใหม่สำาหรับห้วยหินลาดและ

สังคม– พลังงานหมุนเวียน– อาหารแนวใหม ่

(อย่าปล่อยใหค้วามเบือ่ถูกแทนที่ดว้ยการเสียเงินและสุขภาพ)– ประคำาดคีวาย แก้ปัญหานำำาเสีย– การมีส่วนรว่มของผู้เย่ียมเยือน

(ลดรอยเท้าของท่าน เพื่อความย่ังยืนของเรา)

กระบวนการขยายผล ชวนและสนับสนุนชุมชนต่างๆ มาร่วม

กันศึกษาวัฏจักรคาร์บอนและรอยเท้านิเวศน์

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เผยแพร่ผลการศึกษาในภาษาที่เข้าใจ

ง่าย แต่ยังคงความน่าเชื่อถือทางวิชาการ

เผยแพร่ผ่านวิดีทัศน์/สื่อมวลชน ส่งเสริมการยอมรับ “ความหลากหลาย”

ทางวัฒนธรรม เปิดเวทีหารือทางนโยบายร่วมกับหน่วย

งานของรัฐ ก่อขบวน “โลกร้อน ชุมชนเย็น ป่า

ยั่งยืน” อย่าลืม! “ลูกหลาน” ของเราเอง