วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf ·...

Preview:

Citation preview

1ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เรือ่ง การเปลี่ยนแปลงของภาษาเรือ่ง การเปลี่ยนแปลงของภาษา

ผูสอน ครณูรงคฤทธิ์ ศักดารณรงคครเูชี่ยวชาญ คศ.4

วิชาภาษาไทย ท43101ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6หนวยการเรยีนรูที่ 4

2ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ธรรมชาติของภาษายอมมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งเสียง คํา ความหมายแตภาษาที่เปลี่ยนแปลงชาที่สุด คือ ภาษาถิ่น

ธรรมชาติของภาษายอมมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งเสียง คํา ความหมายแตภาษาที่เปลี่ยนแปลงชาที่สุด คือ ภาษาถิ่น

3ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เสียงเสียงคําคํา

ความหมายความหมาย

4ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาถิ่น มกีารเปลีย่นแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมนอยกวาภาษากลาง นักภาษาจึงใชภาษาถิ่นเปนเครือ่งทดสอบความหมายของภาษาดั้งเดิม

ภาษาถิ่น มกีารเปลีย่นแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมนอยกวาภาษากลาง นักภาษาจึงใชภาษาถิ่นเปนเครือ่งทดสอบความหมายของภาษาดั้งเดิม

5ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เรือด หมายถึงตัวที่ดูดกินเลือดคนและสัตว คนสมัยใหมไมรูจักตัวเรือด มักออกเสียงเลือด เมื่อนําไปทดสอบกบัภาษาอีสานออกเสียงวาเฮือด หรือตัวเฮือด ซึง่หมายถึงตัวเรือด

เรือด หมายถึงตัวที่ดูดกินเลือดคนและสัตว คนสมัยใหมไมรูจักตัวเรือด มักออกเสียงเลือด เมื่อนําไปทดสอบกบัภาษาอีสานออกเสียงวาเฮือด หรือตัวเฮือด ซึง่หมายถึงตัวเรือด

6ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ขอสังเกต ตัวเรือด ทีภ่าษาอีสานออกเสียงเปน ตัวเฮือด เพราะ ร กลายเปน ฮ ในภาษาถิ่นอีสาน สวนคําวา เลือด ยังคงออกเสียงวา เลือด อยูาตามเดิม

ขอสังเกต ตัวเรือด ทีภ่าษาอีสานออกเสียงเปน ตัวเฮือด เพราะ ร กลายเปน ฮ ในภาษาถิ่นอีสาน สวนคําวา เลือด ยังคงออกเสียงวา เลือด อยูาตามเดิม

7ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาถิ่น บางครั้งเรียกวา ภาษาพื้นเมือง อาจเปนเพราะภาษาถิ่นไมเปนที่ยอมรับกันวา เปนภาษามาตรฐานหรือภาษากลางของประเทศ

ภาษาถิ่น บางครั้งเรียกวา ภาษาพื้นเมือง อาจเปนเพราะภาษาถิ่นไมเปนที่ยอมรับกันวา เปนภาษามาตรฐานหรือภาษากลางของประเทศ

8ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

สรุป ภาษาถิ่นคือภาษาที่พูดแตกตางกันในแตละทองถิ่น แตสามารถติดตอสื่อสารทาํความเขาใจกันได แมจะตางสําเนียงแตถือเปนภาษาเดียวกัน

สรุป ภาษาถิ่นคือภาษาที่พูดแตกตางกันในแตละทองถิ่น แตสามารถติดตอสื่อสารทาํความเขาใจกันได แมจะตางสําเนียงแตถือเปนภาษาเดียวกัน

9ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

หมายถึงภาษาที่ใชเปนภาษาราชการ เปนภาษาเมืองหลวงใชถายทอดเสียงพูดเปนตัวอักษรไดใกลเคียงที่สุด และเปนภาษาของคนสวนใหญในประเทศ

10ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

สภาพภูมิศาสตรกาลเวลาอิทธิพลภาษาใกลเคียงการผสมทางวัฒนธรรม

1.2.3.4.

11ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เอกลักษณวัฒนธรรมทองถิ่นสัญลกัษณแสดงความเปนพวกเดียวกันเปนฐานของภาษาและวรรณคดีไทยเปนขอมลูทางวัฒนธรรมและทัศนคติ

1.2.3.4.

12ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

กรงุเทพ ฯกรงุเทพ ฯอีสานอีสานเหนือเหนือใตใต

13ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

หนวยเสียงพยัญชนะในภาษาถิ่น เทยีบกบัภาษากลาง 21 หนวยเสียง มเีสียงแตกตางกนั ดังตอไปนี้

หนวยเสียงพยัญชนะในภาษาถิ่น เทยีบกบัภาษากลาง 21 หนวยเสียง มเีสียงแตกตางกนั ดังตอไปนี้

14ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาอีสานไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาเหนือไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาใตไมมีหนวยเสียง /ง/ร/ภาษากลางไมมีหนวยเสียง /ญ/ย/หรือ ญ นาสิก

ภาษาอีสานไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาเหนือไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาใตไมมีหนวยเสียง /ง/ร/ภาษากลางไมมีหนวยเสียง /ญ/ย/หรือ ญ นาสิก

15ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

หนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่น แตกตางกนัในแตละทองถิ่น ภาษาในภาคเดยีวกนัอาจแตกตางกนัก็ได

หนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่น แตกตางกนัในแตละทองถิ่น ภาษาในภาคเดยีวกนัอาจแตกตางกนัก็ได

16ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาอีสานมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียงภาษาอีสานมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียง

ภาษาเหนือมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียงภาษาเหนือมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียง

ภาษาใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียงภาษาใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียง

17ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่นใตมีเสียงเพิ่มขึ้นคือ เสียงสามัญหางเสียงตรีเทียบเสียง /mE/ในเสียงดนตรีและเสียงสามัญหางเสียงจัตวาเทียบเสียง /RE/ในเสียงดนตรี

เสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่นใตมีเสียงเพิ่มขึ้นคือ เสียงสามัญหางเสียงตรีเทียบเสียง /mE/ในเสียงดนตรีและเสียงสามัญหางเสียงจัตวาเทียบเสียง /RE/ในเสียงดนตรี

18ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

อิทธิพลของภาษาถิ่นที่มีตอภาษาไทย เชน มีอิทธิพลในการออกเสียงภาษากลาง การศึกษาภาษาถิ่นชวยใหเขาใจความหมายภาษาและภาษาวรรณคดีไดดียิ่งขึ้น ตลอดทั้งทําใหเกิดความภูมิใจในทองถิ่นของตน

อิทธิพลของภาษาถิ่นที่มีตอภาษาไทย เชน มีอิทธิพลในการออกเสียงภาษากลาง การศึกษาภาษาถิ่นชวยใหเขาใจความหมายภาษาและภาษาวรรณคดีไดดียิ่งขึ้น ตลอดทั้งทําใหเกิดความภูมิใจในทองถิ่นของตน

19ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

การเปลี่ยนแปลงของภาษา ทําใหเกิดภาษาถิ่น การสรางคํา การผสมผสานของคําระหวางภาษาในแตละถิ่น ลักษณะเชนนี้ ถือวาเปนเอกลักษณเฉพาะของภาษาถิ่นที่มีอิทธิพลตอกัน

การเปลี่ยนแปลงของภาษา ทําใหเกิดภาษาถิ่น การสรางคํา การผสมผสานของคําระหวางภาษาในแตละถิ่น ลักษณะเชนนี้ ถือวาเปนเอกลักษณเฉพาะของภาษาถิ่นที่มีอิทธิพลตอกัน

Recommended