แนวทางการลดต้นทุน - Fisheries · 2014-08-18 ·...

Preview:

Citation preview

แนวทางการลดตน้ทนุและปจัจยัทีเ่ก ีย่วขอ้งดา้นอาหารสตัวนํ์า้

พศิมยั สมสบืหวัหนา้กลุม่งานวจัิยและพัฒนาอาหารสตัวน้ํ์าจดืโทร.02-5798033 somsueb2000@yahoo.com

แนวทางการลดตน้ทนุ

และปจัจยัทีเ่ก ีย่วขอ้งดา้นอาหารสตัวนํ์า้

1. การจดัการในการใหอ้าหารแกส่ตัวนํ์า้ ใหแ้ลว้สตัวนํ์า้ไดก้นิจรงิ มสีารอาหารเพยีงพอ ลดการสญูเสยีอาหาร

มกีารควบคมุปรมิาณอาหารทีใ่หห้รอืควบคมุคา่อตัราแลกเนือ้ (FCR) 2. สรา้งเสรมิอาหารธรรมชาตใินบอ่ เพือ่ใหป้ลามอีาหารเสรมิ (แบคทเีรยี พารามเีซยีม โรตเิฟอร ์ไรแดง หนอนแดง ไสเ้ดอืนนํา้ ฯ) กนิตลอดเวลา

3. การเลีย้งปลาแบบผสมผสาน (หลายชนดิในบอ่เดยีวกนั) ปลอ่ยปลาทีม่กีารกนิอาหารตา่งกนัในหว่งโซอ่าหาร รว่มกบัการเสรมิสรา้งอาหารธรรมชาตใินบอ่ จะชว่ยลดปรมิาณการใชอ้าหารเสรมิหรอืสมทบได้ 4.ลดอตัราปลอ่ย เพิม่อตัรารอด เพือ่ใหม้อีาหารธรรมชาตเิพยีงพอกบัจาํนวนปลาในบอ่ และชว่ยลดตน้ทนุคา่พนัธุป์ลาโดยออ้ม

1. การจดัการในการใหอ้าหารแกส่ตัวนํ์า้ ใหอ้าหารแลว้สตัวนํ์า้ไดก้นิจรงิ มสีารอาหารเหมาะสม เพยีงพอสาํหรบัปลาแตล่ะขนาด ไดแ้ก ่ระดบัโปรตนีในอาหาร อตัราการใหแ้ละจาํนวนมือ้ของอาหาร จะขึน้กบัอาย/ุขนาด โดยวธิคีาํนวณตาม% นํา้หนกัตวั หรอืหลงัใหอ้าหาร 15-20 นาทแีลว้ปลาไมก่นิแสดงวา่เพยีงพอ

1.1 ลดการสญูเสยีทีเ่ป็นผลจากขนาดของอาหารไมเ่หมาะสม

ขนาดอาหารใหญเ่กนิ อาหารซมึนํา้นุม่ลง อาหารและสารอาหาร สญูเสยีไปกบัการละลายนํา้ ตอดแทะกนิอาหาร (ไดก้นินอ้ยกวา่ทีใ่ห)้) ขนาดอาหารเล็กเกนิไป สญูเสยีพลงังาน ในการวา่ยน้ําเป็นเวลานานเพือ่ไดก้นิ อาหารใหอ้ิม่/เพยีงพอ พลงังานเหลอืนอ้ย ปลาเจรญิเตบิโตชา้ เกดิการสญูเสยีสารอาหารทีใ่ชป้ระโยชนไ์ด ้ สิน้เปลอืงอาหาร

ขนาดอาหารทีใ่หจ้ะตอ้งเล็กกวา่ขนาดปากปลา

อาหารเหลอืทีพ่ืน้

ความกวา้งของปากปลา

โรตเิฟอร์

อาหารขนาดตา่งๆ

ขนาดอาหารตอ้งเล็กกวา่ ความกวา้งปากปลา

อาหารสําหรับอนุบาลควรทําใหม้ขีนาดเล็กเหมาะสม

กบัปลา/กุง้แตล่ะขนาด

ทีร่อ่นอาหารขนาดตา่งๆ(เชน่ 100-300 -500

ไมครอน-0.1-0.2-0.3 มม.)

บด/ตาํ และรอ่นแยกขนาดอาหารตามขนาดทีต่อ้งการ

เพือ่ใหเ้หมาะสมกบัขนาดปลา/กุง้

ตวัอยา่งขนาดของอาหาร(อาหารสําเร็จรปูสําหรับกุง้ 12-30 กรัม)

รปูตวัอยา่งกุง้กา้มกราม จะพยายามใช ้กา้มคบีจับอาหาร หากมขีนาดเล็กเกนิไป

คบีจับไมไ่ดทํ้าใหก้นิไมไ่ดแ้ละพืน้บอ่เน่าเสยีจากอาหารได ้

รปูตวัอยา่งกุง้กลุาดําใชก้า้มคบีจับอาหารมากนิบรเิวณปาก บางสว่นทีม่ีขนาดเล็กกนิไมไ่ด ้หรอืใหญเ่กนิไปจะ

จับกนิไมไ่ดเ้ชน่กนั ตอ้งรอใหแ้ตกเม็ดจะเกดิการสญูเสยีจากการละลายน้ํามาก

ตวัอยา่งเชน่

ใหอ้าหาร 100 กก.

กนิ 70 กก.

ละลายนํา้ 30 กก. (300 บาท/วนั)

= 3,000 บ./10วนั

ลดการสญูเสยีทีเ่ป็นผลจากอาหารละลายน้ําเร็ว อาหารทีไ่มไ่ดใ้ชส้ารเหนยีวหรอืสารทีช่ว่ยใหอ้าหารยดึเกาะตวักนั หรอืใชป้รมิาณไมเ่หมาะสมทาํใหใ้หอ้าหารละลายนํา้เร็วกอ่นปลามากนิ สง่ผลใหนํ้า้เสยีและยงัเป็นการเพิม่ตน้ทนุคา่อาหารแตป่ลาเตบิโตชา้

การใส่สารเหนียว

ไม่ใส่ 5% 10%

การทดสอบความคงทนของอาหาร

บางส่วนจมน้ํา แตกเม็ด

บ่อเลี้ยงปลาดุกอาหารปั้นกอ้น

จากรายงานการวิจัยพบว่า มากกว่า 60% ของอาหารสูญเสียไปกับการละลายน้ํา

2 ชม.

ตวัอยา่งการทดสอบ

ความคงทน

ของอาหารกุง้ในน้ําแบบงา่ย

อาหาร 1 2 3

จะเห็นวา่อาหาร 3 ละลายเร็วกวา่อาหาร 1 และ 2 ในเวลาทีเ่ทา่กนั และอาหารกุง้ควรอยูใ่นน้ําไดน้านอยา่งนอ้ย 1 ชม. เมือ่อาหารแตกเม็ดเร็วเกนิ กุง้จะจับกนิอาหารไมไ่ด ้

มกีารควบคมุปรมิาณอาหารทีใ่หห้รอืควบคมุคา่อตัราแลกเนือ้ (FCR)

ไดจ้ากการคํานวณ คา่อตัราแลกเนือ้ = น้ําหนักอาหารทีใ่ห ้

น้ําหนักปลาทีเ่พิม่ขึน้

ถา้ปลามนํีา้หนกัเพิม่ข ึน้ 1 กก. 1. กรณีทีร่าคาอาหารตอ่กก.เทา่กนั : ใชอ้าหาร 3 กก. ( คา่อาหาร 60 บาท; 20 บ./กก.) แสดงวา่ คา่ FCR = 3 : ถา้ควบคมุอาหารใชเ้พยีง 2 กก.(คา่อาหาร 40 บาท; 20 บ./กก.) แสดงวา่ คา่ FCR = 2 2. คา่อาหารตอ่กก.สงูขึน้ แตค่า่อตัราแลกเนือ้(FCR) ลดลง : อาหารมคีณุภาพด ีใชเ้พยีง 1.2 กก. (คา่อาหาร 30 บาท; 25 บ./กก.) แสดงวา่ คา่ FCR = 1.2 ดงัน ัน้ ผูเ้ล ีย้งปลา ควรมกีารตรวจสอบการเจรญิเตบิโตของปลาเป็นระยะ (2 สปัดาหห์รอืทกุ 1 เดอืน ) วา่ อาหารทําใหป้ลามนํีา้หนกัเพิม่ข ึน้เทา่ใด เพือ่ทําใหส้ามารถควบคมุการใหอ้าหาร (ประสทิธภิาพของอาหาร) และการเจรญิเตบิโตของปลา

เมือ่คา่อตัราแลกเนือ้สงู (FCR) ควรตรวจสอบความผดิปกตเิกดิจากสาเหตใุด

เชน่ 1. อาหารละลายน้ําเร็ว หรอืเกดิการสญูเสยีจากการไมไ่ดก้นิ 2. ผลจากคณุภาพของอาหารไมด่หีรอืกลิน่ไมห่อมปลาป่น หรอืเก็บอาหารไมด่ ีอาหารขึน้รา ทําใหป้ลากนิแลว้คายทิง้ ปลากนินอ้ยกวา่ปรมิาณทีใ่หห้รอืไมไ่ดก้นิอาหารทีใ่ห ้ 3.ขนาดอาหารใหญก่วา่ขนาดของปากปลา ตวัอยา่ง การคาํนวณตน้ทนุคา่อาหารทีส่ญูเสยีไปเมือ่ใหอ้าหารอาหารเหลอื 1. ถา้ใหอ้าหารเหลอื 1-2 กก. /วนั 100-200 กก./บอ่ 5บอ่ 100 วนั (2,000-4,000 บาท) 10,000-20,000 บาท ( คา่อาหาร 20 บ./กก.) 2.ถา้เหลอื 300-500 กก./บอ่ 3-5 กก. /วนั 100 วนั (6,000-10,000 บาท) ( คา่อาหาร 20 บ./กก.)

2.การสรา้งเสรมิอาหารธรรมชาตใินบอ่ ขอ้ดคีอืปลามอีาหารธรรมชาตใินบอ่(แบคทเีรยี พารามเีซยีม โรตเิฟอรไ์รแดง ฯ) กนิไดต้ลอดเวลา โดยทําฟาง/หญา้แหง้หมักกบัมลูสตัวแ์หง้ในบอ่เลีย้งปลา ในอตัราทีเ่หมาะสม ตอ่เนือ่งทกุเดอืน

• ฟางแหง้ : มลูสตัวแ์หง้ (ไก/่วัว /แพะ ฯ) = 80-100 ตอ่ 100 กก.ตอ่ไรต่อ่เดอืน ใสใ่นอัตราทีกํ่าหนดแบง่ใสร่อบบอ่ เตมิน้ํา 30 ซม. 1-2 วันกอ่นปลอ่ยลกูปลา

เลีย้งไปประมาณ 2-4 สปัดาหจ์งึเพิม่ระดับน้ําเป็น 1-1.5 ม.• กรณีไมม่หีญา้แหง้ ใชห้ญา้สดควรใสป่นูขาวเล็กนอ้ยเนือ่งจากชว่งแรกของการหมกัจะเป็นกรด หญา้สด : มลูสตัว:์ปนูขาว = 1:1: 0.1-0.2 (หญา้แหง้/ฟางไมต่อ้งใสป่นูขาว) อตัราใส ่ 80-100 กก./ไร/่เดอืน

ฟาง /หญา้มลูสตัวแ์หง้

15-20 ซม.

ฟาง/หญา้

ตวัอยา่งการทําฟางหมักเพือ่สง่เสรมิใหเ้กดิอาหารธรรมชาติ

การเก็บตัวอยา่งอาหารธรรมชาตทิี่อยูร่อบๆกองฟางหมัก

หนอนแดง

ไรแดง

กุง้ฝอย

ตวัอยา่งการทําฟางหมักเสรมิในบอ่พลาสตกิที่โครงการพระราชดํารฯิดอยบอ่ จ.เชยีงรายไดป้ลานลิขนาด 100-300กรัม (จะไดนํ้าเสนอครัง้ตอ่ๆไป)

3. การเลีย้งปลาแบบผสมผสาน (หลายชนดิรว่มกนั)

ปลอ่ยปลามากกวา่ 1 ชนดิรวมกนัในบอ่ เชน่ นลิ-เลง่-ตะเพยีน หรอืนลิ-สวาย-ตะเพยีน เพือ่ใหม้กีารใชป้ระโยชนจ์ากบอ่อยา่งมปีระสทิธภิาพ จากนสิยัการกนิอาหารทีแ่ตกตา่งกนัของปลาในลาํดบัช ัน้ของนํา้

ปลานลิเป็นปลากนิท ัง้พชืและสตัว(์omnivorous) ดงัน ัน้ เกษตรกรอาจเลีย้งปลานลิโดยปลอ่ยปลาชนดิอืน่เสรมิในบอ่ ซึง่ไมส่ง่ผลตอ่การกนิอาหาร และไดนํ้า้หนกัปลาอืน่เพิม่เขา้มา เชน่ ปลอ่ยปลานลิ 1,600 ตวัตอ่ไร ่บอ่ 5 ไร ่ เลีย้งนาน 8 เดอืน ไดป้ลานลิ 2.4 ตนัตอ่บอ่ แตถ่า้ปลอ่ยปลานลิ + ปลาลิน่ฮือ้ 200-300 ตวัตอ่ไร ่ จะไดป้ลาเพิม่ข ึน้อกี 1.5-2 ตนัตอ่บอ่ เป็นตน้

ซง่/ลิน่ฮือ้/นวลจนัทร์กนิแพลงคต์อน

เฉากนิหญา้และหอยตามพืน้บอ่

ปลานลิ กนิอาหาร

และสตัวห์นา้ดนิ

อตัราความหนาแน่น (อตัราปลอ่ย)1-2 ตวัตอ่ตร.ม.หรอื 2,000-3,000 ตวัตอ่ไร่

อาหารธรรมชาติ(ไรแดง

พารามเีซยีมโรตเิฟอร์

หนอนแดงฯ)

นํา้1 ลบ.ม. ตอ่ปลา 1ตวั(กวา้งxยาวxลกึ=1x1x1 ม.)

ขอ้ด ี1. มอีาหารธรรมชาติเพยีงพอกับจํานวนปลา

2.มปีรมิาณออกซเิจนเพยีงพอและมขีองเสยีนอ้ย

(มลูปลา แอมโมเนยี)

3.ลดตน้ทนุคา่พันธุป์ลา

4. การลดอตัราปลอ่ยและเพิม่อตัรารอด

4.1 ลดอตัราปลอ่ยลกูปลา หรอืลดความหนาแนน่

ตวัอยา่งผลจบัปลาบอ่สาธติการเลีย้งปลาลดตน้ทนุ บอ่ 2-ใหอ้าหารเม็ดลอยนํา้ 2 วนัตอ่สปัดาห ์และทํา

ฟางหมกั+มลูไกแ่หง้ทกุเดอืน -อตัราปลอ่ยปลา (บอ่ 1 ไร)่นลิ 2,000 ตวั เลง่ 200 ตวั ตะเพยีน 300 ตวัผลผลติ 468.1 กก./ไร ่ระยะเวลาการเลีย้ง 7 เดอืนปัจจัยสําคัญคอื มกีารจัดการและเตรยีมบอ่ดี

ขนาดปลาเร ิม่ปลอ่ย

ตวัอยา่งผลจบัปลาบอ่สาธติการเลีย้งปลาลดตน้ทนุ บอ่ 1 แบบอนิทรยี ์- ไมม่กีารใหอ้าหารสมทบ เนน้ทําฟางหมกั

ฟางหมกั+ มนัสําปะหลงับด+กากนํา้ตาล ( 30 กก.+ 5 กก. +1กก./ไร/่เดอืน)- อตัราปลอ่ย (บอ่ 1 ไร)่ นลิ 2,000 ตวั เลง่ 200 ตวั ตะเพยีน 300 ตวั ผลผลติ 347.7 กก.ตอ่ไร ่ระยะเวลาการเลีย้ง 7 เดอืน ปัจจัยสําคัญคอื มกีารจัดการและเตรยีมบอ่ดี

ปลาเร ิม่ปลอ่ย

ดนิ การเตรยีมบอ่ การโรยหวา่นปนูขาว ตอ้งใสข่ณะทีย่งัมนํีา้พอเปียก (3-5 ซม.) เพือ่ใหม้ผีลตอ่การฆา่เชือ้โรค

นํา้ ป้องกนัระหวา่งเลีย้ง ใสป่นูขาวรอบขอบบอ่กอ่นฝนตก

4.2 เพิม่อตัรารอดของลกูปลาและปลาทีเ่ล ีย้ง 1. เพิม่อตัรารอดของลกูปลา

- เตรยีมบอ่ดแีละการจัดการบอ่ทีด่ ี ตากบอ่แหง้ ทําฟางหมักและนําน้ําเขา้บอ่เลีย้ง กอ่นปลอ่ยลกูปลาไมเ่กนิ 2 วนั ไมม่พีชืน้ําในบอ่และตดัหญา้รอบบอ่สม่ําเสมอ - มกีารเสรมิภมูติา้นทานใหก้บัลกูปลา เนือ่งจากปลาเครยีดจากการจับ หรอืขนยา้ย ควรมกีารคลกุเคลอืบเสรมิวติามนิซใีหป้ลากนิ ตดิตอ่กนัอยา่งนอ้ย 3-5 วนั

4.2 เพ ิม่อตัรารอดของลกูปลาและปลาทีเ่ล ี�ยง (ตอ่)

2. เพิม่อตัรารอดปลาระหวา่งการเลีย้ง โดยเฉพาะปลาทีเ่ล ีย้งแบบหนาแนน่ เชน่ ปลาดกุ นลิปลาในกระชงั หรอืกลุม่กนิเนือ้ ปลาชอ่น กบ กุง้ ปลาหมอไทย ควรมกีารเสรมิวติามนิซแีละ/หรอืรว่มกบัยสีตข์นมปัง (Saccharomyces serivisae) เพือ่ลดความเครยีดและเสรมิภมูติา้นทาน ทกุ 2 สปัดาห์ โดยเสรมิ/คลกุเคลอืบวติามนิซใีนอาหาร 1-2 เม็ด(100 มก./เม็ด)/อาหาร 1 กก. + ยสีตข์นมปัง 5-10 กรัมตอ่อาหาร 1 กก.+ สารเหนยีว (อลัฟ่า สตาชท์ หรอืแป้งขา้วโพด หรอืแป้งมัน 10 กรัม = 2 ชอ้นแกงตอ่อาหาร 1 กก.) ตามรายละเอยีดรปูตอ่ไป

หมายเหต:ุ ยสีตข์นมปัง (Saccharomyces serivisae) สามารถซือ้ไดต้ามรา้นขายอปุกรณทํ์าเบเกอรี หรอืขนมปังท่ัวไปหรอืหา้งสรรพสนิคา้ และกอ่นนํามาใชต้อ้งนํามาบด/ตํา ใหล้ะเอยีดกอ่นนํามาผสม

ตวัอยา่ง ยสีตข์นมปงั

ตวัอยา่งการเคลอืบวติามนิซเีสรมิในอาหารสาํเร็จรปู

สารเหนยีว

วติามนิซี

วติามนิซ ี1 เม็ดตอ่อาหาร 1กก.ตํา/บดใหล้ะเอยีด

วธิกีารเคลอืบวติามนิซี

สารเหนยีว วติามนิซีบดละเอยีด เขยา่วติามนิซกีบัสารเหนยีว

ใหเ้ขา้กนัดี

พรมน้ําทีอ่าหารเม็ดพอหมาดดว้ยสเปรยฉ์ดีน้ํานําสว่นผสมของสารเหนยีวกบั

วติามนิซมีาคลกุเคลอืบทีผ่วิเม็ดอาหารใหท่ั้ว ผึง่แหง้ 20-30 นาท ีกอ่นนําไปใหป้ลากนิ

ขอบคณุคะ่

Recommended