Calcium Boron(Dr.yongyuth)

Preview:

Citation preview

แคลเซียม-โบรอน

กับผลผลิตและคุณภาพผลผลิตพืช

รองศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ โอสถสภา

ธาตุอาหารพืช คือ ธาตุต่างๆที่พืชใช้เพื่อด ารงชีวิต

-หากขาดแคลนธาตุ

อาหาร พืชจะมี

อาการผิดปรกต ิ

-ธาตุอาหารมี

บทบาทต่อการ

เจริญเติบโตของพืช

การจ าแนกประเภทของธาตุอาหารจากดิน

มหธาตุ พืชใช้ปริมาณมาก จุลธาตุ พืชใช้ปริมาณน้อย

ธาตุหลัก 3 ธาต ุ

-ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

-โพแทสเซียม

ธาตุรอง 3 ธาต ุ

-แคลเซียม แมกนีเซียม

-ก ามะถัน

จุลธาตุมี 8 ธาต ุ

-เหล็ก ทองแดง

-แมงกานีส สังกะสี

-โบรอน โมลิบดีนัม

-คลอรีน นิกเกิล

การบรรยายครั้งนี้เน้นเรื่อง แคลเซียมและโบรอน

แคลเซียมและโบรอนในดิน

บทบาทในพืช

-บทบาทที่แคลเซียมและโบรอนท าร่วมกัน

-บทบาทที่แตกต่างกัน

อาการขาด-แคลเซียม

-โบรอน

แนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดธาตุ

การใช้ปุ๋ยแคลเซียม-โบรอนทางใบ

แคลเซียมในดิน

1) แคลเซียมในแร่ เช่น แร่เฟลด์สปาร์ แคลไซต์

และโดโลไมต ์

สลายอย่างช้าๆ แล้วให้

แคลเซียมที่พืชใช้ได้

แคลเซียมในดิน

2) แคลเซียมที่เป็นประโยชน์ ได้แก ่

- แคลเซียมไอออนที่ดูดซับกับผิวอนุภาคดิน

- ไอออนในสารละลายของดิน (Ca2+)

แคลเซียมไอออน (Ca2+)

ในสารละลายของดิน

ธาตุอาหารในสารละลายของดินและที่ดูดซับกับอนุภาคดิน

พีเอชของดิน 7 = เป็นกลาง, >7= เป็นด่าง <7= เป็นกรด

สภาพกรดดา่งกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน

โบรอนในดิน

1) หินและแร่ หินอัคนีมีโบรอนต่ ากว่า 10 มก.B/กก. ส่วนหินตะกอน เช่น หินเชลมีประมาณ 100 มก.B/กก. แร่ส าคัญที่มีโบรอนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่ ทัวร์มาลีน (มีโบรอน 3-4%)

สลายอย่างช้าๆให้

บอเรตไอออน

โบรอนในดิน

2) โบรอนในสารละลายดิน ช่วง pH 5-9 ส่วนใหญ่เป็นกรดบอริก (H3BO4) ซึ่งพืชดูดไปใช้ได้ แต่ถ้าดินมี pH สูงกว่า 9 กรดบอริกจะแตกตัวให้ H2BO3

- และท าปฏิกิริยากับน้ า

กลายเป็น H4BO4- นอกจากนี้รากพืชใช้ B4O7

2- ได้

บอเรตในแร่และที่ดูด

ซับอยู่กับดิน

(ปริมาณมากกว่า) บอเรตในสารละลายของดิน

(ปริมาณน้อยกว่า)

รากพืชดูดบอเรตในสารละลาย

ดินไปใช้ประโยชน ์

โบรอนในดิน

3) สารประกอบโบเรตที่ถูกตรึง

ตรึงที่ไหน : ตรึงอยู่กับแร่ดินเหนียวและอินทรียวัตถุในดิน ผลของสภาพกรด-ด่าง : ตรึงน้อยที่สุดเมื่อดินเป็นกรด : ตรึงมากที่สุดเมื่อดินเป็นด่าง

บอเรตเข้าไปเกาะแน่นอยู่กบัดิน

พืชดูดมาใช้ไม่ได ้

สภาพกรดดา่งกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน

สภาพกรดดา่งของดิน

กับแคลเซียมและโบรอนที่พืชได้รับจากดิน

ดินเป็นกลาง

ให้แคลเซียม

และโบรอน

เพียงพอ

ดินเป็นกรด

ให้แคลเซียมน้อย

แต่โบรอนมาก

ดินเป็นด่าง

ให้แคลเซียมมาก

แต่โบรอนน้อย

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ร่วมกัน

ที่ผนังเซลล์ (cell wall) และเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)

แคลเซียมและโบรอนเป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์พืช

ผนังเซลล์ท าหน้าที่ปกป้องเซลล์ ท าให้เซลล์แข็งแรง

บทบาทของแคลเซียมในผนังเซลล์

สร้างเสถียรภาพของผนังเซลล์ เป็นองค์ประกอบของ

แคลเซียมเพ็กเทตในผนังเซลล์ ท าหน้าที่เชื่อมให้ผนังส่วน

ที่เป็นเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสประสานกัน

บทบาทของโบรอนในผนังเซลล์ คือ

-เชื่อมยึดโครงสร้างส าคัญภายในผนังเซลล์ให้ติดกัน

-ท าให้ผนังเซลล์แข็งแรงและมีเสถียรภาพ

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ในเยื่อหุ้มเซลล์

จึงมีบทบาทด้านควบคุมการดูดน้ าและธาตุอาหาร

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ในระยะเจริญพันธุ์

จึงมีบทบาทด้านการพัฒนาดอกและผล

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ควบคุมการท างานของออกซิน

จึงมีบทบาทด้านการขยายขนาดเซลล์และการพัฒนาของพืช

หน้าที่ของแคลเซียมและโบรอนที่แตกต่างกัน

แคลเซียม โบรอน

ควบคุมให้เซลล์ยืดตัว

ควบคุมการเปิด-ปิดปากใบ

ท าหน้าที่เป็นตัวน ารหัส

บทบาทด้านการงอกของเมล็ด

การตรึงไนโตรเจนในปมรากถั่ว

การสังเคราะห์แสง

ปรับสมดุลของสารฟีนอลิก

ส่งเสริมการเคลื่อนยา้ยอาหาร

แคลเซียมกับการขยายขนาดของเซลล์พืช

แคลเซียมในเซลล์กระตุ้น

กระบวนการคลายความแข็ง

ของผนังเซลล์ชั่วคราว

น้ าเข้ามาในเซลล์ ท าให้

เซลล์เต่งและเพิ่มขนาด

เพิ่มเสถียรภาพของผนัง

เซลล์ตามเดิม

แคลเซียมร่วมกับโพแทสเซียมและคลอรีน ควบคุมการเปิด-ปิดปากใบ

โพแทสเซียมและคลอไรด์ สะสมใน

เซลล์คุม ปากใบเปิด

โพแทสเซียมและคลอไรด์ ออกจาก

เซลล์คุม ปากใบปิด

แคลเซียมเป็นตัวน ารหัสที่สอง

สิ่งเร้าอชีวนะหรือชวีนะกระทบกับพืช

กระตุ้นการสร้างโมเลกุลสัญญาณหรือตัวน ารหัสแรก

ตัวน ารหัสแรกจับกับตัวรับ (receptor) ที่เยื่อหุ้มเซลล์

ส่งสัญญาณไปให้ตัวน ารหัสที่สองในเซลล์ด าเนินการ

ตัวน ารหัสที่สอง (เช่น Ca2+) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี เพ่ือตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างเหมาะสม

แคลเซียมส่งเสริมการงอกของเมล็ด

โบรอนส่งเสริมการตรึงไนโตรเจนในปมรากถั่ว

โบรอนช่วยในการ

สังเคราะห์แสง

โบรอนช่วยปรับสมดุลของสารฟีนอลิกในพืช

ลดสารประกอบ

ที่เป็นพิษ

น าไปสร้างลิกนิน

เพื่อเสริมความ

แข็งแรง

โบรอนช่วยในการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิกและโปรตีน

ดีเอ็นเอ

อาร์เอ็นเอ

โปรตีน

โบรอน (ร่วมกับโพแทสเซียม) ท าหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายอาหาร

จึงมีบทบาทด้านการพัฒนาใบอ่อน ราก ดอกและผล

สารอาหารจากใบแก่

ราก

ใบอ่อน ดอก ผล

อาการขาดธาตุแคลเซียม

อาการขาดธาตุแคลเซียมในพริก

อาการขาดธาตแุคลเซียมที่ผลมะม่วง สาลี่และแตงโม

อาการขาดธาตุแคลเซียมของแอปเปิล

อาการขาดธาตแุคลเซียมในมะเขือเทศ

ดินที่มักมีปัญหาการขาดแคลเซียม

ดินเนื้อหยาบ

ดินกรด

ดินมีการชะละลายสูง

ดินมีแมกนีเซียมหรือ

โพแทสเซียมสูงเกินไป

วิธีแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม

ใส่ปูนในดินกรด ตามความ

ต้องการปูนของดิน

ถ้าดินเป็นกลางให้ใส่ยิปซัม

ใช้วัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุม

ดิน เพื่อลดการชะละลาย

ฉีดพ่นปุ๋ยแคลเซียมทางใบ

อาการขาดธาตุโบรอน

อาการขาดธาตุโบรอนของมะละกอ

อาการขาดธาตโุบรอนในมะม่วงและสาลี่

อาการขาดธาตุโบรอนในส้ม

อาการขาดโบรอนในถั่วลิสงและข้าวโพด

อาการขาดธาตุโบรอน (corky core) ในแอปเปิล

ดินที่มักมีปัญหาการขาดโบรอน

ดินเนื้อหยาบ

ดินด่าง

ดินมีการชะละลายสูง

ดินมีอินทรียวัตถุต่ า

วิธีแก้ปัญหาการขาดโบรอน

ใส่ปุ๋ยธาตุหลักที่มีโบรอน

ใส่ปุ๋ยอินทรีย ์

ใช้วัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุม

ดิน เพื่อลดการชะละลาย

ฉีดพ่นปุ๋ยโบรอนทางใบ

การใช้ปุ๋ยแคลเซียมและโบรอนทางใบ

วัตถุประสงค์ของการใช้ เพื่อ

ป้องกันหรือแก้ไข

ฉีดพ่นเพื่อพืชมีพ้ืนที่ใบมาก

ใช้ความเข้มข้นที่แนะน า

ผสมสารเพิ่มประสิทธิภาพ

ไม่ฉีดพ่นช่วงท่ีแดดจัด ลมแรง

น้ าที่ใช้ฉีดพ่นไม่เติม

สารเพิ่มประสิทธิภาพ

ธาตุอาหารซึมผ่านช่องในคิวติเคิลที่ปกคลุมผิวใบโดยการแพร่

ธาตุอาหารซึมผ่านช่องในผนังเซลล์โดยการแพร่

ธาตุอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ดว้ยกลไกของโปรตีนขนส่ง

ธาตุอาหารเข้าไปในเซลล์ใบและใช้ประโยชน์

การดูดแคลเซียมและ

โบรอนของใบพืช

โปรตีนขนส่งส าหรับแคลเซียมและโบรอน

ส าหรับแคลเซียม ส าหรับโบรอน

ช่องผ่านส าหรับแคตไอออนบวก

สอง

โปรตีนพาหะเฉพาะแคลเซียม

ปั๊มส าหรับแคลเซียม

ช่องผ่านส าหรับแอนไอออน

โปรตีนพาหะเฉพาะโบรอน

ข้อพิจารณาการในการใช้ปุ๋ยทางใบ

การฉีดพ่นปุ๋ยเพื่อป้องกันการขาดแคลนธาตุอาหาร ช่วย

รักษาระดับผลผลิตและคุณภาพผลผลิตที่ดีไว้ได้

การฉีดพ่นปุ๋ยเพื่อแก้ไขการขาดแคลนธาตุอาหาร จะ

ได้ผลดี เมื่อท าก่อนออกดอกหรือติดผล

หากมีปัญหาการขาดแคลนธาตุอาหารจนแสดงอาการที่ใบ

และผล แสดงว่ามีการขาดแคลนธาตุเหล่านั้นระดับรุนแรง

ควรปรับปรุงสภาพดินและใช้ปุ๋ยทางดิน เพื่อแก้ปัญหา

ระยะยาว

สวัสดี