52
แคลเซียม-โบรอน กับผลผลิตและคุณภาพผลผลิตพืช รองศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ โอสถสภา

Calcium Boron(Dr.yongyuth)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียม-โบรอน

กับผลผลิตและคุณภาพผลผลิตพืช

รองศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ โอสถสภา

Page 2: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

ธาตุอาหารพืช คือ ธาตุต่างๆที่พืชใช้เพื่อด ารงชีวิต

-หากขาดแคลนธาตุ

อาหาร พืชจะมี

อาการผิดปรกต ิ

-ธาตุอาหารมี

บทบาทต่อการ

เจริญเติบโตของพืช

Page 3: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

การจ าแนกประเภทของธาตุอาหารจากดิน

มหธาตุ พืชใช้ปริมาณมาก จุลธาตุ พืชใช้ปริมาณน้อย

ธาตุหลัก 3 ธาต ุ

-ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

-โพแทสเซียม

ธาตุรอง 3 ธาต ุ

-แคลเซียม แมกนีเซียม

-ก ามะถัน

จุลธาตุมี 8 ธาต ุ

-เหล็ก ทองแดง

-แมงกานีส สังกะสี

-โบรอน โมลิบดีนัม

-คลอรีน นิกเกิล

Page 4: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

การบรรยายครั้งนี้เน้นเรื่อง แคลเซียมและโบรอน

แคลเซียมและโบรอนในดิน

บทบาทในพืช

-บทบาทที่แคลเซียมและโบรอนท าร่วมกัน

-บทบาทที่แตกต่างกัน

อาการขาด-แคลเซียม

-โบรอน

แนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดธาตุ

การใช้ปุ๋ยแคลเซียม-โบรอนทางใบ

Page 5: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมในดิน

1) แคลเซียมในแร่ เช่น แร่เฟลด์สปาร์ แคลไซต์

และโดโลไมต ์

สลายอย่างช้าๆ แล้วให้

แคลเซียมที่พืชใช้ได้

Page 6: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมในดิน

2) แคลเซียมที่เป็นประโยชน์ ได้แก ่

- แคลเซียมไอออนที่ดูดซับกับผิวอนุภาคดิน

- ไอออนในสารละลายของดิน (Ca2+)

แคลเซียมไอออน (Ca2+)

ในสารละลายของดิน

Page 7: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

ธาตุอาหารในสารละลายของดินและที่ดูดซับกับอนุภาคดิน

Page 8: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

พีเอชของดิน 7 = เป็นกลาง, >7= เป็นด่าง <7= เป็นกรด

Page 9: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

สภาพกรดดา่งกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน

Page 10: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนในดิน

1) หินและแร่ หินอัคนีมีโบรอนต่ ากว่า 10 มก.B/กก. ส่วนหินตะกอน เช่น หินเชลมีประมาณ 100 มก.B/กก. แร่ส าคัญที่มีโบรอนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่ ทัวร์มาลีน (มีโบรอน 3-4%)

สลายอย่างช้าๆให้

บอเรตไอออน

Page 11: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนในดิน

2) โบรอนในสารละลายดิน ช่วง pH 5-9 ส่วนใหญ่เป็นกรดบอริก (H3BO4) ซึ่งพืชดูดไปใช้ได้ แต่ถ้าดินมี pH สูงกว่า 9 กรดบอริกจะแตกตัวให้ H2BO3

- และท าปฏิกิริยากับน้ า

กลายเป็น H4BO4- นอกจากนี้รากพืชใช้ B4O7

2- ได้

บอเรตในแร่และที่ดูด

ซับอยู่กับดิน

(ปริมาณมากกว่า) บอเรตในสารละลายของดิน

(ปริมาณน้อยกว่า)

รากพืชดูดบอเรตในสารละลาย

ดินไปใช้ประโยชน ์

Page 12: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนในดิน

3) สารประกอบโบเรตที่ถูกตรึง

ตรึงที่ไหน : ตรึงอยู่กับแร่ดินเหนียวและอินทรียวัตถุในดิน ผลของสภาพกรด-ด่าง : ตรึงน้อยที่สุดเมื่อดินเป็นกรด : ตรึงมากที่สุดเมื่อดินเป็นด่าง

บอเรตเข้าไปเกาะแน่นอยู่กบัดิน

พืชดูดมาใช้ไม่ได ้

Page 13: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

สภาพกรดดา่งกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน

Page 14: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

สภาพกรดดา่งของดิน

กับแคลเซียมและโบรอนที่พืชได้รับจากดิน

ดินเป็นกลาง

ให้แคลเซียม

และโบรอน

เพียงพอ

ดินเป็นกรด

ให้แคลเซียมน้อย

แต่โบรอนมาก

ดินเป็นด่าง

ให้แคลเซียมมาก

แต่โบรอนน้อย

Page 15: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ร่วมกัน

ที่ผนังเซลล์ (cell wall) และเยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)

Page 16: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมและโบรอนเป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์พืช

ผนังเซลล์ท าหน้าที่ปกป้องเซลล์ ท าให้เซลล์แข็งแรง

Page 17: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

บทบาทของแคลเซียมในผนังเซลล์

สร้างเสถียรภาพของผนังเซลล์ เป็นองค์ประกอบของ

แคลเซียมเพ็กเทตในผนังเซลล์ ท าหน้าที่เชื่อมให้ผนังส่วน

ที่เป็นเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสประสานกัน

Page 18: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

บทบาทของโบรอนในผนังเซลล์ คือ

-เชื่อมยึดโครงสร้างส าคัญภายในผนังเซลล์ให้ติดกัน

-ท าให้ผนังเซลล์แข็งแรงและมีเสถียรภาพ

Page 19: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ในเยื่อหุ้มเซลล์

จึงมีบทบาทด้านควบคุมการดูดน้ าและธาตุอาหาร

Page 20: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ในระยะเจริญพันธุ์

จึงมีบทบาทด้านการพัฒนาดอกและผล

Page 21: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมและโบรอนท าหน้าที่ควบคุมการท างานของออกซิน

จึงมีบทบาทด้านการขยายขนาดเซลล์และการพัฒนาของพืช

Page 22: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

หน้าที่ของแคลเซียมและโบรอนที่แตกต่างกัน

แคลเซียม โบรอน

ควบคุมให้เซลล์ยืดตัว

ควบคุมการเปิด-ปิดปากใบ

ท าหน้าที่เป็นตัวน ารหัส

บทบาทด้านการงอกของเมล็ด

การตรึงไนโตรเจนในปมรากถั่ว

การสังเคราะห์แสง

ปรับสมดุลของสารฟีนอลิก

ส่งเสริมการเคลื่อนยา้ยอาหาร

Page 23: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมกับการขยายขนาดของเซลล์พืช

แคลเซียมในเซลล์กระตุ้น

กระบวนการคลายความแข็ง

ของผนังเซลล์ชั่วคราว

น้ าเข้ามาในเซลล์ ท าให้

เซลล์เต่งและเพิ่มขนาด

เพิ่มเสถียรภาพของผนัง

เซลล์ตามเดิม

Page 24: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมร่วมกับโพแทสเซียมและคลอรีน ควบคุมการเปิด-ปิดปากใบ

โพแทสเซียมและคลอไรด์ สะสมใน

เซลล์คุม ปากใบเปิด

โพแทสเซียมและคลอไรด์ ออกจาก

เซลล์คุม ปากใบปิด

Page 25: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมเป็นตัวน ารหัสที่สอง

สิ่งเร้าอชีวนะหรือชวีนะกระทบกับพืช

กระตุ้นการสร้างโมเลกุลสัญญาณหรือตัวน ารหัสแรก

ตัวน ารหัสแรกจับกับตัวรับ (receptor) ที่เยื่อหุ้มเซลล์

ส่งสัญญาณไปให้ตัวน ารหัสที่สองในเซลล์ด าเนินการ

ตัวน ารหัสที่สอง (เช่น Ca2+) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี เพ่ือตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างเหมาะสม

Page 26: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

แคลเซียมส่งเสริมการงอกของเมล็ด

Page 27: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนส่งเสริมการตรึงไนโตรเจนในปมรากถั่ว

Page 28: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนช่วยในการ

สังเคราะห์แสง

Page 29: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนช่วยปรับสมดุลของสารฟีนอลิกในพืช

ลดสารประกอบ

ที่เป็นพิษ

น าไปสร้างลิกนิน

เพื่อเสริมความ

แข็งแรง

Page 30: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอนช่วยในการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิกและโปรตีน

ดีเอ็นเอ

อาร์เอ็นเอ

โปรตีน

Page 31: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โบรอน (ร่วมกับโพแทสเซียม) ท าหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายอาหาร

จึงมีบทบาทด้านการพัฒนาใบอ่อน ราก ดอกและผล

สารอาหารจากใบแก่

ราก

ใบอ่อน ดอก ผล

Page 32: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุแคลเซียม

Page 33: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุแคลเซียมในพริก

Page 34: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตแุคลเซียมที่ผลมะม่วง สาลี่และแตงโม

Page 35: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุแคลเซียมของแอปเปิล

Page 36: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตแุคลเซียมในมะเขือเทศ

Page 37: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

ดินที่มักมีปัญหาการขาดแคลเซียม

ดินเนื้อหยาบ

ดินกรด

ดินมีการชะละลายสูง

ดินมีแมกนีเซียมหรือ

โพแทสเซียมสูงเกินไป

Page 38: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

วิธีแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม

ใส่ปูนในดินกรด ตามความ

ต้องการปูนของดิน

ถ้าดินเป็นกลางให้ใส่ยิปซัม

ใช้วัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุม

ดิน เพื่อลดการชะละลาย

ฉีดพ่นปุ๋ยแคลเซียมทางใบ

Page 39: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุโบรอน

Page 40: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุโบรอนของมะละกอ

Page 41: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตโุบรอนในมะม่วงและสาลี่

Page 42: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุโบรอนในส้ม

Page 43: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดโบรอนในถั่วลิสงและข้าวโพด

Page 44: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

อาการขาดธาตุโบรอน (corky core) ในแอปเปิล

Page 45: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

ดินที่มักมีปัญหาการขาดโบรอน

ดินเนื้อหยาบ

ดินด่าง

ดินมีการชะละลายสูง

ดินมีอินทรียวัตถุต่ า

Page 46: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

วิธีแก้ปัญหาการขาดโบรอน

ใส่ปุ๋ยธาตุหลักที่มีโบรอน

ใส่ปุ๋ยอินทรีย ์

ใช้วัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุม

ดิน เพื่อลดการชะละลาย

ฉีดพ่นปุ๋ยโบรอนทางใบ

Page 47: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

การใช้ปุ๋ยแคลเซียมและโบรอนทางใบ

วัตถุประสงค์ของการใช้ เพื่อ

ป้องกันหรือแก้ไข

ฉีดพ่นเพื่อพืชมีพ้ืนที่ใบมาก

ใช้ความเข้มข้นที่แนะน า

ผสมสารเพิ่มประสิทธิภาพ

ไม่ฉีดพ่นช่วงท่ีแดดจัด ลมแรง

Page 48: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

น้ าที่ใช้ฉีดพ่นไม่เติม

สารเพิ่มประสิทธิภาพ

Page 49: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

ธาตุอาหารซึมผ่านช่องในคิวติเคิลที่ปกคลุมผิวใบโดยการแพร่

ธาตุอาหารซึมผ่านช่องในผนังเซลล์โดยการแพร่

ธาตุอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ดว้ยกลไกของโปรตีนขนส่ง

ธาตุอาหารเข้าไปในเซลล์ใบและใช้ประโยชน์

การดูดแคลเซียมและ

โบรอนของใบพืช

Page 50: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

โปรตีนขนส่งส าหรับแคลเซียมและโบรอน

ส าหรับแคลเซียม ส าหรับโบรอน

ช่องผ่านส าหรับแคตไอออนบวก

สอง

โปรตีนพาหะเฉพาะแคลเซียม

ปั๊มส าหรับแคลเซียม

ช่องผ่านส าหรับแอนไอออน

โปรตีนพาหะเฉพาะโบรอน

Page 51: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

ข้อพิจารณาการในการใช้ปุ๋ยทางใบ

การฉีดพ่นปุ๋ยเพื่อป้องกันการขาดแคลนธาตุอาหาร ช่วย

รักษาระดับผลผลิตและคุณภาพผลผลิตที่ดีไว้ได้

การฉีดพ่นปุ๋ยเพื่อแก้ไขการขาดแคลนธาตุอาหาร จะ

ได้ผลดี เมื่อท าก่อนออกดอกหรือติดผล

หากมีปัญหาการขาดแคลนธาตุอาหารจนแสดงอาการที่ใบ

และผล แสดงว่ามีการขาดแคลนธาตุเหล่านั้นระดับรุนแรง

ควรปรับปรุงสภาพดินและใช้ปุ๋ยทางดิน เพื่อแก้ปัญหา

ระยะยาว

Page 52: Calcium Boron(Dr.yongyuth)

สวัสดี