Ecosystem ii

Preview:

Citation preview

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิตระหวางสิ่งมีชวีิต

การศึกษาความสมัพันธระหวางสิ่งมีชีวิต อาจแบงเปน 2 ระดับ คือ

1) Autecolgy : ระหวางสิ่งมีชีวิตชนิดเดียว (individual organism / individual species) เชน ตนไมชนิดหนึ่ง2) Synecology : สังคมของกลุมสิ่งมีชีวิต เชน ปาไม

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ

1. การไดรับประโยชนรวมกัน (mutualism)เปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ไดประโยชนดวยกันทั้งสองชนิด

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• แมลงกับดอกไม แมลงดูดน้ําหวานจากดอกไมเปนอาหาร และดอกไมก็มีแมลงชวยผสมเกสร

• นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงไดกินแมลงตางๆ จากหลังควาย และควายก็ไดนกเอี้ยงชวยกําจัดแมลงที่มา กอความรําคาญ

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• มดดํากับเพลี้ย เพลี้ยไดรับประโยชนในการที่ มดดําพาไปดูดน้ําเลี้ยงที่ตนไม และมดดําก็จะไดรับน้ําหวาน

• ปูเสฉวนกับดอกไมทะเล ปูเสฉวนอาศัยดอกไมทะเลพรางตัวจากศัตรู และยังอาศัยเข็มพิษจากดอกไมทะเลปองกันศัตรู สวนดอกไม ทะเลก็ไดรับอาหารจากปูเสฉวนที่กําลังกินอาหารดวย

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• โปรโตซัวในลําไสปลวก ปลวกไมมีน้ํายอยสําหรับยอยเซลลูโลสในเนื้อไม โปรโตซัว ชวยใน การยอย จนทําใหปลวกสามารถกินไมได และ โปรโตรซัวก็ไดรับสารอาหารจากการยอยสลายเซลลูโลส

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ

2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (commensalism)เปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต โดยที่ฝายหนึ่งไดประโยชน สวนอีกฝายหนึ่งไมไดประโยชนแตก็ไมเสียประโยชน

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัยอยูใกลตัวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึ่งปลาฉลามจะไมไดประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

• พลูดางกับตนไมใหญ พลูดางอาศัยรมเงาและความชืน้จากตนไม โดยตนไมไมไดประโยชนแตขณะเดียวกันก็ไมเสียประโยชน

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• กลวยไมกับตนไมใหญ กลวยไมยึดเกาะที่ลําตนหรือกิ่งของตนไม ซึ่งไดรับความชื้น และแรธาตุจากตนไม โดยที่ตนไมไมไดรับประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

• เพรียงที่อาศัยเกาะบนผิวหนังของวาฬเพื่อหาอาหาร วาฬไมไดประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ

3. ฝายหนึ่งไดประโยชนและอีกฝายหนึ่งเสียประโยชน ซึ่งแบงเปน 2 แบบ คือ

1) การลาเหยื่อ (predation) เปนความสัมพันธ โดยมีฝายหนึ่งเปนผูลา (predator) และอีกฝายหนึ่งเปนเหยื่อ (prey) หรือเปนอาหารของอีกฝาย เชน งูกับกบ

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ2) ภาวะปรสติ (parasitism) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต ที่มฝีายหนึ่งเปนผูเบียดเบียน เรียกวา ปรสติ (parasite) และอีกฝายหนึ่งเปนเจาของบาน (host)

สัตวพหุบาท

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• ตนกาฝากเชน ฝอยทองที่ขึ้นอยูบนตนไมใหญจะดูดน้ําและอาหารจากตนไมใหญ

• หมดั เห็บ ไร พยาธิตางๆ ที่อาศัยอยูกับรางกายคนและสตัว

• เชื้อโรคตางๆ ที่ทําใหเกิดโรคกับคนและสตัว

ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ

• 1. อณุหภูมิ บรเิวณที่อากาศรอนแถบทะเลทราย จะมีอูฐที่เปนสัตวมีความทนตออากาศรอนแหงแลง และมีพืชพวกกระบองเพชรทีส่ามารถดํารงชีวิตอยูได

• 2. ความชืน้ ในระบบนิเวศใดที่มีความชืน้มาก มักจะมีพืชและสตัวอาศัยอยูอยางหนาแนน

• 3. แสง พืชที่ขึ้นอยูใตเงาไมในปายอมแตกตางกันกับพืชที่ขึ้นในที่โลงแจง

ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ

• 4. ดิน เปนที่รวมของธาตุอาหารตางๆ ดินที่มีความอุดมสมบรูณหรือมธีาตุอาหารที่แตกตางกันยอมทําใหพืชและสัตวที่อาศัยดินนั้น ดํารงชีวิตอยูแตกตางกัน

• 5. ไฟปา การเกิดไฟปาแตละครั้ง ทําใหชีวิตของพืชและสตัวเปลี่ยนไป

• 6. มลภาวะ เปนปจจัยที่เขามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงหรือกําหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ

• 7. การแยงชิงกัน ทําใหสิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถแสวงหาทรัพยากรไดตองลมตายไป

• 8. การกินซึ่งกันและกัน เชน ในทุงที่ปลกูขาวโพด จะมีตั๊กแตนมากินและทําลายขาวโพดเสียหาย เพราะไมมีสัตวอื่นมาจับตั๊กแตนกินเปนอาหาร

• 9. ปรสิต ถือเปนพวกที่กินซึ่งกันและกันก็ได แตมีขอแตกตางที่วาพวกปรสิตจะดูดกินพชืและสตัวอื่นๆ เปนอาหารโดยที่พืชและสตัวนั้นจะไมตายโดยทันที

ประเภทของระบบนิเวศ

1. ระบบนิเวศทางธรรมชาติและใกลธรรมชาติ (Natural andseminatural ecosystem)เปนระบบที่ตองพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย เพื่อที่จะทํางานได

ประเภทของระบบนิเวศ

1.1 ระบบนิเวศบนบก (Terresttrial ecosystems)1) ระบบนิเวศกึ่งบก เชน ปาพรุ 2) ระบบนิเวศบนบกแท เชน ปาดิบ ทุงหญา ทะเลทราย

1.2 ระบบนิเวศแหลงน้ํา (Aguative cosystems)1) ระบบนิเวศน้ําจืด 2) ระบบนิเวศน้ําทะเล เชน มหาสมุทรแนวปะการัง ทะเลภายในที่เปนน้ําเค็ม น้ํากรอย

ประเภทของระบบนิเวศ

2. ระบบนิเวศเมือง-อุตสาหกรรม (Urban-industral ecosystem) เปนระบบที่ตองพึ่งแหลง พลังงานเพิ่มเติม เชน น้ํามันเชื้อเพลิง พลังนิวเคลียร เปนระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้นมาใหม

การจําแนกระบบนิเวศ (Ecosystem Classification)

ในทางนิเวศวิทยา แบงระบบนิเวศในโลกนี้ ออกเปน 2 ระบบใหญๆ คือ

1. ระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystem) ระบบนิเวศที่ชุมชื้น ระบบนิเวศที่ชุมชื้นนอย และคอนขางไปทางแหงแลง

ระบบนิเวศที่แหงแลงมาก

การจําแนกระบบนิเวศ (Ecosystem Classification)

2. ระบบนิเวศในน้ํา (Aquatic Ecosystem)- ระบบนิเวศน้ําจืด

ระบบน้ํานิ่ง และระบบน้ําไหล

- ระบบนิเวศน้ําทะเลระบบน้ํากรอย และระบบน้ําเค็ม

ปาพรุ

ปาชายหาด

ปาดงดิบชื้น

ปาดงดิบแลง

ปาดิบเขา

ปาสนเขา

ปาเบญจพรรณ

ปาเตง็รัง

ปาทุง

ระบบนิเวศในแหลงน้ําจืด (น้ํานิ่ง)

ระบบนิเวศในแหลงน้ําจืด (น้ําไหล)

ปจจัยที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ําจืด

อุณหภูมิ ปรมิาณออกซิเจนละลายในน้ํา ปรมิาณแรธาตุ ความขุน-ใสของน้ํา กระแสน้ํา

ระบบนิเวศในแหลงน้ําทะเล (น้ํากรอย)

นิเวศพัฒนา (Eco-development)

หมายถึง การพัฒนาใดๆ ที่เปนการกระทําของมนุษย เพื่อการดํารงอยูในสังคม โดยไมทําใหเกิดการกระทบกระเทือนตอคุณภาพสิ่งแวดลอม และการเปลี่ยนแปลงสมดุลของระบบนิเวศ

นิเวศพัฒนานิเวศพัฒนา (Eco(Eco--development)development)

แนวคิดของนิเวศพัฒนาใหมีการทําลาย-สูญเสียทรัพยากรธรรมชาตินอยที่สุดมีการควบคุมผลกระทบสิง่แวดลอมจากของเสียหรือมลพิษที่เกิดจากการดําเนินกิจกรรมพิจารณาขีดความทนทานของระบบนิเวศการใชทรพัยากรธรรมชาติตองใหมีการ สูญเปลานอยที่สุด

นิเวศพัฒนา (Eco-development)

แนวคิดของนิเวศพัฒนาตองมีการฟนฟู ติดตาม ตรวจสอบ และเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมไมควรปรบัเปลี่ยนโครงสรางและการ ทํางานของระบบนิเวศไปจากเดิมโดยสิ้นเชิงมีการแบงเขตการใชทรัพยากรธรรมชาติที่ชัดเจน

ระบบนิเวศ

การศึกษาเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและระบบนิเวศ จะทาํใหมนุษยสามารถนําความรูมาเปนเครื่องมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ปญหามลพิษ และบทบาทที่มตีอสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันของสรรพสิ่งในระบบนิเวศ ใหเปนไปในลักษณะของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกันในแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยนื

Thank You for Your Attention