finalproject,pakagingdesigh,arti3314,viwat

Preview:

DESCRIPTION

งานfinalproject

Citation preview

CHANDRAAT

EI

โครงการออกแบบบรรจุภัณฑ กลองใสเนคไท Chadratie

1.แรงบันดาลใจและท่ีมาของการออกแบบ ( inspiration and background)

ท่ีมาของเนคไทอยูในชวงศตวรรษแรกกอนคริสตกาล สมัยนั้นพออากาศรอนทหารโรมันจะใชผาซับบน้ําพันคอ (เรียกวา focale) เพื่อบรรเทาความรอนแตก็ชวยอะไรไมไดมากนักท้ังยังไมไดกอใหเกดิความสวยงามพอจะเปนท่ีนิยมกนักวางขวางได และแลวเร่ืองราวแหลงกําเนิดของเนกไทก็ไมพนวงการทหารอีกแตเปนทหารอีกกลุมหนึง่ ในป ค.ศ. 1668 ชาวโครแอทสวนหนึ่งรับจางเปนทหารใหออสเตรียโดยประจําการท่ีประเทศฝรั่งเศสทหารรับจางกลุมนี้มีเคร่ืองแบบเปนผาพันคอทําดวยผามัสลินและผาลินินอยางไรก็ดี ผาพันคอของทหารท้ังสองกลุมมีวัตถุประสงคในการใชตางกนัคือเพ่ือประโยชนใชสอย และเปนสัญลักษณของหมูเหลาหรือเคร่ืองแบบน่ันเองแตยงัเขาไมถึงสังคมแฟช่ันจนเม่ือชาวฝร่ังเศสท้ังชายและหญิงซ่ึงไดช่ือวาหายใจเขาออกเปนแฟช่ันไดไอเดียมาและเริ่มนิยมใชผาลินินและผาลูกไมพันรอบคอ แลวผูกไวตรงกลางดานหนาของคอโดยปลอยชายยาว แฟช่ันนีเ้ผยแพรไปถึงอังกฤษอยางรวดเร็วชาวอังกฤษนยิมกันจนถึงข้ันคล่ังไคล โดยเฉพาะเม่ือพระเจาชารลสท่ี 2 แหงอังกฤษทรงแตงนําและพสกนกิรพากันทําตามนอกจากน้ีขณะน้ันเปนขวงท่ีวงการแฟช่ันเฟองฟูอยางยิ่ง กอนหนาน้ันป ค.ศ.1665 เกิดโรคระบาดในเมืองลอนดอน และปถัดมาเกิดไฟไหมคร้ังใหญแตแฟช่ันผาผูกคอนี้กลาวไดวาแพรระบาดเร็วพอๆกับไฟลามทุงทีเดียว เนกไทวิวฒันาการมาจาก คราแวท (cravat) โดยชางตัดเส้ือชาวอเมริกัน JesseLangsdorf ไดออกแบบโดยการตัดผาเฉียงๆและจดสิทธิบัตรไวในป ค.ศ. 1924 จนยุค 50s เนกไทไดรับความนยิมสูงสุดจนเปนท่ีมาของประโยค “a man was't fully dressed until he had put onhis tie.” (ผูชายยังแตงตัวไมเต็มท่ีถาไมไดผูกไท)" เนกไทเร่ิมกลายเปนแฟช่ันในยคุ 70s โดย Ralph Lauren หองเส้ือช่ือดังแหงอเมริกาไดออกแบบเนกไทท่ีมีความกวาง10เซนติเมตร ยุค 80s มีการวาดและพิมพงานศิลปะของศิลปนลงบนเนกไท ถึงแมวาเนกไทจะไดรับความนิยมไปท่ัวทุกมุมโลกแตชาวตะวันออกกลางไมเคยสนใจวัฒนธรรมตะวันตกเลยสวนมากจะสวมเพียงเส้ือเช้ิตและสูทหนึ่งตัวก็เปนทางการแลวแมแตประเทศโบลิเวียซ่ึงอยูทางตอนกลางของทวีปอเมริกาใตก็ไมไดหลงใหลวัฒนธรรมตะวันตกท้ังหมด ศตวรรษตอมา แฟช่ันดังกลาวไดแรงหนุนอยางดีจาก โบบรูม

เมลผูโดงดัง เพราะมีเนคไทในครอบครองจํานวนมาก และมีวิธีการผูกเนกไทแบบตางๆมากมายจนกลายเปนประเด็นถกเถียงโตแยงอภิปรายกนัท้ังในสภากาแฟและส่ือมวลชนวาควรจะผูกแบบใดจึงจะถูกแตนาสังเกตวามาถึงชวงนี้เร่ืองดังกลาวเปนหัวขอสนทนาในหมูผูชายเทานัน้ส่ือมวลชนในยุคนั้นทํารายการวิธีผูกเนกไทออกมาไดถึง ๓๒ แบบถาไดพบปะบุคคลท่ีมีช่ือเสียง หรือพาตัวไปอยูในท่ีชุมนุมของแฟช่ันหลากแบบเชนสนามแขงมา จะเห็นผาผูกคอจนลานตายุคนี้เองท่ีแฟช่ันผาผูกคอมีหลายแบบ เชน แบบหอยชายยาวลงมาแบบหูกระตาย ผาท่ีใชก็มีตาง ๆกัน เปนผาพืน้ ผาลายขนาดของผามีท้ังเปนเสนผอมๆ หรือขยายบานออกตรงปลาย ปจจุบันเนกไทไมไดเปนเพยีงเร่ืองของแฟช่ันอยางเดยีวเพราะกลายเปนสัญลักษณแสดงความสุภาพเรียบรอยในการแตงกายแบบสากลนิยม

2.โจทย/วัตถุประสงค/สมมุติฐาน(problem/objective/hypothesis) 1.ตองการออกแบบศึกษากราฟกบนบรรจภุณัฑ และพัฒนาแบบโดยการนําเอาแบบหรือบรรจุภัณฑเดิมๆมาพัฒนาลวดลายรวมถึง โลโก ใหเกิดการพัฒนาที่โดดเดนและมีคุณคามาตรฐานท่ีมากข้ึน 2.ออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับกล่ิงใสเนคไท เปนผลิตภัณฑท่ีพัฒนาขึ้นใหม เปนการออกแบบใหกับทาง มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 3.ตองการใหเนคไทท่ีบรรจุภัณฑเกาเปนเพียงซองใสพฒันาใหดุแปลกใหมยิ่งข้ึนและเปนท่ีดึงดูดใจเพื่อเพ่ิมมูลคาใหกับผลิตภณัฑ

3.การกําหนดคุณลักษณะที่ตองการ

4.การนําเสนอแบบรางทางความคดิ

5.การศึกษาขอมูลเบ้ืองตน 5.1 ศึกษาเก่ียวกับกลองบรรจุภัณฑเนคไท

5.2 ศึกษาเกี่ยวกับตัวเนคไท

ประวัติความเปนมาของเนคไท

ท่ีมาของเนคไทอยูในชวงศตวรรษแรกกอนคริสตกาล สมัยนั้นพออากาศรอนทหารโรมันจะใชผาซับบน้ําพันคอ (เรียกวา focale) เพื่อบรรเทาความรอนแตก็ชวยอะไรไมไดมากนักท้ังยังไมไดกอใหเกดิความสวยงามพอจะเปนท่ีนิยมกนักวางขวางได และแลวเร่ืองราวแหลงกําเนิดของเนกไทก็ไมพนวงการทหารอีกแตเปนทหารอีกกลุมหนึง่ ในป ค.ศ. 1668 ชาวโครแอทสวนหนึ่งรับจางเปนทหารใหออสเตรียโดยประจําการท่ีประเทศฝรั่งเศสทหารรับจางกลุมนี้มีเคร่ืองแบบเปนผาพันคอทําดวยผามัสลินและผาลินินอยางไรก็ดี ผาพันคอของทหารท้ังสองกลุมมีวัตถุประสงคในการใชตางกนัคือเพ่ือประโยชนใชสอย และเปนสัญลักษณของหมูเหลาหรือเคร่ืองแบบน่ันเองแตยงัเขาไมถึงสังคมแฟช่ันจนเม่ือชาวฝร่ังเศสท้ังชายและหญิงซ่ึงไดช่ือวาหายใจเขาออกเปนแฟช่ันไดไอเดียมาและเริ่มนิยมใชผาลินินและผาลูกไมพันรอบคอ แลวผูกไวตรงกลางดานหนาของคอโดยปลอยชายยาว แฟช่ันนีเ้ผยแพรไปถึงอังกฤษอยางรวดเร็วชาวอังกฤษนยิมกันจนถึงข้ันคล่ังไคล โดยเฉพาะเม่ือพระเจาชารลสท่ี 2 แหงอังกฤษทรงแตงนําและพสกนกิรพากันทําตามนอกจากน้ีขณะน้ันเปนขวงท่ีวงการแฟช่ันเฟองฟูอยางยิ่ง กอนหนาน้ันป ค.ศ.1665 เกิดโรคระบาดในเมืองลอนดอน และปถัดมาเกิดไฟไหมคร้ังใหญแตแฟช่ันผาผูกคอนี้กลาวไดวาแพรระบาดเร็วพอๆกับไฟลามทุงทีเดียว เนกไทวิวฒันาการมาจาก คราแวท (cravat) โดยชางตัดเส้ือชาวอเมริกัน JesseLangsdorf ไดออกแบบโดยการตัดผาเฉียงๆและจดสิทธิบัตรไวในป ค.ศ. 1924 จนยุค 50s เนกไทไดรับความนยิมสูงสุดจนเปนท่ีมาของประโยค “a man was't fully dressed until he had put onhis tie.” (ผูชายยังแตงตัวไมเต็มท่ีถาไมไดผูกไท)" เนกไทเร่ิมกลายเปนแฟช่ันในยคุ 70s โดย Ralph Lauren หองเส้ือช่ือดังแหงอเมริกาไดออกแบบเนกไทท่ีมีความกวาง10เซนติเมตร ยุค 80s มีการวาดและพิมพงานศิลปะของศิลปนลงบนเนกไท ถึงแมวาเนกไทจะไดรับความนิยมไปท่ัวทุกมุมโลกแตชาวตะวันออกกลางไมเคยสนใจวัฒนธรรมตะวันตกเลยสวนมากจะสวมเพียงเส้ือเช้ิตและสูทหนึ่งตัวก็เปนทางการแลวแมแตประเทศโบลิเวียซ่ึงอยูทางตอนกลางของทวีปอเมริกาใตก็ไมไดหลงใหลวัฒนธรรมตะวันตกท้ังหมด ศตวรรษตอมา แฟช่ันดังกลาวไดแรงหนุนอยางดีจาก โบบรูมเมลผูโดงดัง เพราะมีเนคไทในครอบครองจํานวนมาก และมีวิธีการผูกเนกไทแบบตางๆมากมายจนกลายเปนประเด็นถกเถียงโตแยงอภิปรายกนัท้ังในสภากาแฟและส่ือมวลชนวาควรจะผูกแบบใดจึงจะถูกแตนาสังเกตวามาถึงชวงนี้เร่ืองดังกลาวเปนหัวขอสนทนาในหมูผูชายเทานัน้ส่ือมวลชนในยุคนั้นทํารายการวิธีผูกเนกไทออกมาไดถึง ๓๒ แบบถาไดพบปะบุคคลท่ีมีช่ือเสียง หรือพาตัวไปอยูในท่ีชุมนุมของแฟช่ันหลากแบบเชนสนามแขงมา จะเห็นผาผูกคอจนลานตายุคนี้เองท่ีแฟช่ันผาผูกคอ

มีหลายแบบ เชน แบบหอยชายยาวลงมาแบบหูกระตาย ผาท่ีใชก็มีตาง ๆกัน เปนผาพืน้ ผาลายขนาดของผามีท้ังเปนเสนผอมๆ หรือขยายบานออกตรงปลาย ปจจุบันเนกไทไมไดเปนเพยีงเร่ืองของแฟช่ันอยางเดยีวเพราะกลายเปนสัญลักษณแสดงความสุภาพเรียบรอยในการแตงกายแบบสากลนิยม

จะดูแลรักษาเนคไทของคุณอยางไร

-มวนเนคไทและเก็บไวในล้ินชัก หรือวาจะแขวนไวก็ได ซึ่งจะไมทําใหเนคไทเกิดรอยยับ

-ไมเก็บเนคไทไวในที่ ที่มีแดดสองถึง

-จัดเนคไทในกระเปาเดินทางโดยการมวนหลวมและเก็บไวในถุงเทาหรือถุงใสเนคไท จะไมทําใหเนคไทยับ

-ตัดเสนดายที่ลุยออกมาจากเนคไทออก เพราะวาจะตนเหตุใหเนคไทเสียและเกิดรอยขาดได

-อยาสวมเนคไทซ้ําในเวลาใกลๆกัน เพราะเนคไทก็เหมือนคนตองการเวลาพักผอนเพ่ือที่จะปรับสภาพของตัวมันเองและเน้ือผาใหคืนสูสภาพเดิม

-ทุกครั้งที่ถอดเนคไท ควรถอดปมเนคไทออกดวย อยาแขวนมันไวทั้งปม เพราะนอกจากจะทําใหเนคไทของคุณเสียแลว ยังทําใหมันเกิดรอยยับที่แกไมหายอีกดวย

-ผูชายหลายทานมีอาการข้ีเกียจชอบขยําเนคไทแลวจับมันยัดเขาไปในลิ้นชัก อยาทําแบบน้ีเปนอันขาดเพราะมันจะทําใหเสนใยของเน้ือผาเกิดการบิดตัวและสรางความเสียหายใหกับเนคไทของคุณ

-ถาจะรีดเนคไทใหใชไอนํ้ารีด (เตารีดไอนํ้า) เพราะถาใชเตารีด รีดเนคไทโดยตรงจะทําใหเน้ือผาเนคไทเกิดเงาได

-กรณีที่จําเปนตองรีดเนคไท ใหนําผามาวางทับตัวเนคไทเอาไว และใชเตารีด รีดบนผาโดยใชไฟออนๆ

-อยา ซักเนคไทเปนอันขาด เพราะเนคไทสวนใหญจะหด แตจะหดมากหรือนอยน้ันขึ้นอยูกับชนิดของผาที่ใชทําเนคไท

-อยาสงเนคไทไปซักแหงเปนอันขาด เพราะกระบวนการซักแหงจะทําใหยางในตัวไทเสีย นอกจากน้ันถาเปนไทดผาไหมจะทําใหผาไหมไมเปนเงา

-ระวังอยาให cologne ไปโดนเนคไท เพราะจะทําใหสีลอกออกมาได

-กรณีที่เนคไทมีคราบเปอน ไมใหใชแปรงขัด เพราะจะทําใหเสนใยและสีของผาเสียได นอกจากน้ันทําใหบริเวณที่อยูรอบๆ รอยเปอนเสียไปดวย แตใหทําความสะอาดโดยน้ิวมือถูที่คราบเปอนเบาๆ หรืออาจจะใชปลายเนคไทดานที่แคบกวาถูตรงรอยเปอน

-กรณีที่เปนคราบฝงแนนใหใชนํ้ายาทําความสะอาดรอยเปอนแบบออนๆ แคควรทดสอบกอนวานํ้ายาที่ใชไมทําใหเนคไทเสียหรือเปล่ียนสี โดยใหลองกับดานหลังของเนคไทกอน

รูปภาพเนคไทตางๆ

6.การออกแบบและพัฒนาแบบ

Pattern product chandratie

7.การทดลองทดสอบการใชงานจริง

8.สรุปผลงานการออกแบบ 8.1 แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน(inspiration) ในการออกแบบผลิตภัณฑกลองบรรจุภัณฑใสเนคไท chandratie ในครั้งน้ีขาพเจาไดแรงบันดาลใจมาจากพระจันทร หรือ จันทรา ซางรวมกับ รูปภาพเนคไท นํามาผสมผสานกันจึงเปนที่มาของโลโกและผลิตภัณฑดังกลาว ซึ่งเปนสัญลักษณของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและเนคไทผูกติดกับพระจันทรซึ่งสื่อความหมายถึงผลิตภัณฑไดอยางลงตัว 8.2 ความคิดสรางสรรค(creative idea) ในการออกแบบผลิตภัณฑช้ินน้ีคือการผสมผสานลวดลาย abstract ซึ่งสื่อความหมายถึงการปลิวไสวของเนคไทเมื่อกระทบกับสายลม บนสีพ้ืนผิวสีดําของบรรจุภัณฑตัดกับสีของลวดลายไดเปนอยางดีแสดงถึงความหรูหราและเรียบงาย 8.3 การออกแบบโครงสรางที่ลงตัว สวยงาม (desigh andaesthetics) -ออกแบบตราผลิตภัณฑหรือโลโกสอดคลองกับตัวผลิตภัณฑ -ทําใหเกิดความแตกตางจากบรรจุภัณฑของเดิมอยางสิ้นเชิง -ศึกษาขอมูลของผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑไดมาเปนอยางดี จึงมีความนาสนใจ และดึงดูดความสนใจ

ของผูบริโภค

8.4 คุณคาและประโยชนที่ไดรับจากตัวผลงาน(value and benefit ) - ไดทราบและรับรูถึงขอมูลของบทเรียนหลักการกราฟกบนบรรจุภัณฑ หลักการทางความคิดกอนการ ลงมือสรางสรรคงานกราฟกตางๆ -ไดฝกฝนและพัฒนาฝมือเก่ียวกับการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ ดวยหลากหลายโปรแกรม - ไดรูจักการพัฒนาตนเองเก่ียวกับการออกแบบใหกาวหนา ใหมีขั้นตอน รูปแบบ การวางแผนอยาง ถูกตอง -ไดพัฒนาบรรจุภัณฑและผลิตภัณฑเดิมๆที่มีอยูแลวใหมีความกาวหนาและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

- ทราบถึงปญหาตางๆมากมายในระหวางการทํางานและเรียนรูวิธีแกไข - ฝกฝนประสบการณเพ่ือการพัฒนาตนเองตอไป

8.5 ขอเสนอแนะตางๆ -ตองมีการทํางานที่มีระบบแบบแผนและระยะเวลาตามท่ีกําหนดใหมากกวาน้ี -ตองมีการศึกษาและรวบรวมขอมูลทุกครั้ง -คนหาวิเคราะหพัฒนาจุดมุงหมายในเปนไปตามที่ตองการ -ควรรูจักการพัฒนาออกแบบและวิธีตอยอดทางความคิดเพ่ือการพัฒนาตอๆไป -ศึกษาขอมูลตางๆจากแหลงความรูจากที่อื่นใหเปนประจํา

คํานํา

งานออกแบบผลงานชุดน้ีเปนสวนหน่ึงของการเรียนการสอนวิชา ออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ graphic desigh on package โดยมีจุดประสงคเพ่ือการพัฒนาและออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑสําหรับผลิตภัณฑเนคไทใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมซึ่งภายในรายงานเลมน้ีน้ันประกอบไปดวย ขอมูลตางๆ เน้ือหาการวิเคราะห การดําเนินงาน และปญหา การพัฒนา รวมกับเน้ือหาอื่นๆที่เก่ียวของ

ขาพเจามีความประสงคเลือกงานออกแบบช้ินน้ี เน่ืองจากภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมน้ันมีบรรจุภัณฑของผลิตภัณฑเนคไทน้ันเปนแคซองพลาสติกใสธรรมดาและยังไมมีบรรจุภัณฑที่มีคุณภาพขาพเจาจึงพัฒนาบรรจุภัณฑของผลิตภัณฑเนคไทในมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมในมีคุณคาเหมาะสมกับเปนเนคไทประจํามหาวิทลัยราชภัฏจันทรเกษมมากยิ่งขึ้นผลงานช้ินน้ีจะไมเกิดขึ้นเลยถาขาดการแนะแนว และช้ีแนะ ความรูตางๆจาก ผศ. ประชิด ทิณบุตร ผูสอนประจําวิชาออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ graphicdesigh on package และหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับน้ี จะมีประโยชนแกทานผูที่มีความสนใจในงานออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ graphicdesigh

on package ถาขอมูลที่กลาวมาน้ันมีขอผิดพลาดประการใด ขาพเจาตองขออภัยไว ณ ที่น้ี

ผูจัดทํา

นาย วิวัฒน พรเฉลิมชัย รหัสนักศึกษา 5111311840

Email viwatj4ck@gmail.com

สารบัญ

เรื่อง หนา

แรงบันดาลใจและที่มาของการออกแบบ 1-2 โจทย/วัตถุประสงค/สมมุติฐาน 3 การกําหนดคุณลักษณะที่ตองการ 4 การนําเสนอแบบรางทางความคิด 5 การศึกษาขอมูลเบื้องตน 6-19

การออกแบบและพัฒนาแบบ 20-25

การทดลองทดสอบการใชงานจริง 26-31

สรุปผลงานการออกแบบ 32-33

Recommended