SARCODINA - biology.crru.ac.thbiology.crru.ac.th/biology/images/pdf/Protozoa/Protozoa-10.pdf ·...

Preview:

Citation preview

  • 7/2/2017

    1

    SARCODINA

    - เคลื�อนที�โดยใช ้Pseudopodium พบมากในนํ�าจืด- ดาํรงชีวิตอิสระ เช่น Amoeba, Difflugia, Arcella, Actionspherium- เป็นปรสิต เช่น Acanthamoeba culbertsoni, Entamoeba histolyitca

    เป็นพวกที�เคลื�อนที�โดยการไหลเวียนของไซโตพลาสซึมภายในเซลล ์ไซโตพลาสซึมยื�นออกไปเป็นเทา้เทียม (pseudopodium) คืบ คลานไปตามพื�นใชใ้นการเคลื�อนที�หรือใช้โอบลอ้มอาหาร ลาํตวัมีทั�งที�เปลือยไม่มีอะไรคลุม หรืออาจมีเปลือก (lorica หรือ test) คลุม ส่วนใหญ่อาศยัในนํ�าจืด บางชนิดอยูเ่ป็นอิสระ

    ลกัษณะทั�วไป1. ลกัษณะภายนอกและภายใน เซลลเ์ปลือย หรือมีเปลือก เป็นสารพวก

    ซิลิกา แคลเซียมคาร์บอเนต หรือสารพวกโปรตีนเหนียว ไซโทพลาซึมแยกเป็น 2 ส่วน คือ Ectoplasm และ Endoplasm

    2. การดาํรงชีวิตและวงจรชีวิต ดาํรงชีวิตแบบเฮเทโรโทรฟ หากินอิสระในนํ�าจืดหรือดินชื�น กินแบคทีเรียและสารอินทรียเ์ป็นหลกั โดยใช ้ ซูโดพอเดียโอบลอ้มกินโดยฟากอโซทอซิส

    The forms of pseudopodia: from left: 1. Polypodial2. Monopodial3. Filose 4. Conical 5. Granuloreticulose6. Tapering actinopods7. Non-tapering actinopods

    Polypodial

    Monopodial

    การจดัจาํแนกโพรโทซัวกลุ่ม Sarcodina มีการจดัจาํแนกที�แตกต่างกนั ขึ�นอยู่กบั

    การยึดหลกัการจดัจาํแนกของใคร1. Class Lobosea มีสกุลที�น่าสนใจไดแ้ก่

    1. Amoeba เซลลข์นาดใหญ่ ลอบอพอเดียแผ่ออกทุกทิศทาง ปลายลอบอพอเดียใส นิวเคลียสเห็นชดัเจน

    Amoeba

  • 7/2/2017

    2

    Amoebaมีขนาดเล็กมากมองดว้ยตาเปล่าไม่เห็น ตอ้งมองผ่านกลอ้ง

    จุลทรรศน์ส่องดูจึงจะมองเห็น อะมีบาชนิดที�ใหญ่ที�สุดมีเส้นผ่าศูนยก์ลางประมาณ 1 มิลลิเมตร แต่ส่วนใหญ่จะเล็กกว่านั�น อะมีบาไม่มีอวยัวะสําหรับหายใจ ดงันั�นการหายใจโดยใชอ้อกซิเจนที�ละลายอยู่ในนํ�าซึมผ่านผนังเซลล์เขา้ไปภายในเซลลโ์ดยตรง ออกซิเจนเขา้ไปเผาผลาญอาหารทาํให้เกิดพลงังานขึ�นมา ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ละลายออกกบันํ�าเสียซึมออกจากเซลลท์างผนังเซลลโ์ดยตรง

    ลกัษณะที�สําคญัของอะมีบาคือ มีผนังเซลลที์�บางมาก ๆ หุ้มอยู่ขา้งนอกถดัจากผนังเซลลเ์ขา้ไปเป็นโปรโตพลาสซึม แบ่งออกเป็น 2 ชั�น คือ1. เอคโตพลาสซึม (ectoplasm) เป็นบริเวณของไซโทพลาซึมที�อยู่ชิดกบัผนังเซลล ์เป็นชั�นบาง ๆ ใส ๆ สามารถยืดและหดได้2. เอนโดพสาสซึม (endoplasm) เป็นบริเวณของไซโทพลาซึมดา้นใน มีลกัษณะเป็นของเหลวขน้ ๆ เป็นจุด ๆ อยู่ทั�วไป

    ภายในเอนโดพลาสซึม (endoplasm) ประกอบดว้ย>>> นิวเคลียส (nucleus) มีนิวเคลียส 1 อนั มีลกัษณะค่อนขา้งแบน นิวเคลียสนี�จะมีสีเขม้กว่าส่วนอื�น>>>ฟูด แวคิวโอล (food vacuole) หรือช่องอาหารเป็นช่องที�มีนํ� าย่อยอาหารอยู่ ภายในช่องมีอาหารของอะมีบา เช่น สาหร่ายกบัแบคทีเรีย หรือโพรโทซัวชนิดอื�น ๆ>>>คอนแทรกไทลแ์วคิวโอล (contractile vacuole) หรือช่องขบัถ่ายของเหลว เพื�อควบคุมแรงดนัออสโมซีสภายในตวัไม่ให้สูงเกินไป

    2. Chaos ลกัษณะคลา้ยอะมีบา แต่ขนาดเล็กว่า และรูปทรงของเซลลไ์ม่เป็นทรงหลอด

    Chaos

    3. Metachaos เทา้เทียมไม่ไดมี้ฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียม

    Metachaos

  • 7/2/2017

    3

    4. Trichamoeba เทา้เทียมไม่ไดมี้ฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียม มียูรอยด์แบบเส้นสาย

    Trichamoeba

    5. Hydramoeba เทา้เทียมไม่ไดมี้ฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียม เทา้เทียมไม่คงรูป เป็นปรสิตภายนอกของไฮดรา

    Hydramoeba

    6. Polychaos เทา้เทียมมีฐานร่วมกนัในขณะเคลื�อนที�แบบมีหลายเทา้เทียมเทา้เทียมรูปไข่

    Polychaos

    7. Endamoeba ปรกติเซลลก์ลม เทา้เทียมกวา้งและป้าน มียูรอยด์แบบชั�วคราว

    Endamoeba

    8. Entamoeba เทา้เทียมใสและไหลไปขา้งหน้าตลอด พบในทางเดินอาหารของววั สุกร และคน

    9. Iodamoeba เซลลก์ลม มีกอ้นไกลโคเจนขนาดใหญ่ พบในทางเดินอาหารของคน ลิง หมู

    Iodamoeba

  • 7/2/2017

    4

    10. Hartmannella เซลลข์นาดเล็ก ลอบอพอเดียมีอนัเดียว ใส ดา้นทา้ยไม่มีลกัษณะแน่นเป็นกระจุก หากินอิสระในแหล่งนํ�าจืด สร้างซิสทเ์มื�อสภาพไม่เหมาะสม

    Hartmannella

    11. Saccamoeba เทา้เทียมที�ยื�นออกมาค่อนขา้งกลม ยูรอยด์มีฟิลาเมนต์สั�น อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Saccamoeba

    12. Mayorella ลอบอพอเดียใสรูปทรงกรวย คอนแทรกไทลแ์วคิวโอลมีอินคลูชนัเห็นไดช้ดั เช่นเดียวกบัฟูดแวคิวโอล

    Mayorella

    13. Dinamoeba เซลลมี์เทา้เทียมใสเกิดขึ�นที�ขอบของเซลลแ์ละบนตวัเซลล์อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Dinamoeba

    13. Acanthamoeba อาศยัในดินที�ชื�น ซูโดพอเดียใสแผ่นกวา้ง จึงไม่เป็นพู แต่มีซูโดพอเดียขนาดเล็กยื�นออกมาหลายอนั

    Acanthamoeba

    14. Echinamoeba เทา้เทียมสั�นคลา้ยหนาม เกิดจากขอบของเซลล ์กินแบคทีเรียเป็นหลกั อาศยัอยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Echinamoeba

  • 7/2/2017

    5

    15. Naegleria เซลลข์นาดเล็ก มีระยะแฟลเจลเลตชั�วคราวมีแฟลเจลลมั 2 เส้น บางชนิดทาํให้เกิดโรคเยื�อหุ้มสมองอกัเสบ

    Naegleria

    16. Pelomyxa เซลลข์นาดใหญ่ทรงกระบอก ยูซอยด์เป็นกระเปาะกึ�งถาวรที�มีแขนงเป็นเส้น อยู่ในแหล่งนํ�าจืดบริเวณนํ�านิ�ง

    Pelomyxa

    17. Amphizonella เทสต์ยืดหยุ่นไดดี้เป็นเจลาทิน ช่องเปิดออกของเทา้เทียมดา้นทอ้งชดัเจน

    Amphizonella

    18. Zonomyxa เทสต์ยืดหยุ่นไดดี้เป็นเจลาทิน

    Zonomyxa

    19. Pyxidicula เทสต์ไคทินรูปถว้ยกลมแบน

    Pyxidicula

    20. Arcella ลอริคาเป็นสารอินทรียรู์ปกระจกนาฬิกา มีลวดลายละเอียด มีสีเหลืองหรือนํ�าตาล

    Arcella

  • 7/2/2017

    6

    21. Difflugia ลอลิคาทรงแจกนัมกัมีสารพวกควอทซ์มาติดอยู่ดว้ย ปลายดา้นปิดมีปุ่มแหลม

    Difflugia

    22. Centropyxis ลอริคารูปถว้ยอาจมีหรือไม่มีหนามที�ขอบ มีสีนํ� าตาล ดา้นล่างมีช่องเปิดดา้นหน้า

    Centropyxis

    23. Cyclopyxis เทสต์ครึ� งทรงกลมมีชิ�นซิลิคอนฝังอยู่ มีสีเหลืองจนถึงสีนํ�าตาล

    Cyclopyxis

    24. Nebela เทสต์แบบขวดสีเหลืองใสเกิดจากชิ�นส่วนของซิลิคอน

    Nebela

    25. Bullinularia เทสต์กวา้งกว่ายาว ทรงครึ� งวงกลม สีนํ� าตาลถึงดาํ

    Bullinularia

    2. Class Filosea มีสกุลที�น่าสนใจไดแ้ก่

    1. Vampyrella กินสาหร่ายในแหล่งนํ�าจืด

    Vampyrella

  • 7/2/2017

    7

    2. Nuclearia เซลลก์ลมหรือแบน ฟิลอพอเดียยาวมีจาํนวนมาก เซลลอ์าจเปลี�ยนรูปร่างได้

    3. Arachnula เซลลเ์ป็นสายยาวที�ไม่สมมาตร ฟิโลโพเดียมที�ปลายแหลม กินไดอะตอมและจุลชีพอื�นๆ

    Arachnula

    4. Penardia เซลลก์ลมขณะอยู่นิ�ง เวลาเคลื�อนที�จะแผ่ออก อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Penardia

    5. Hyalodiscus เซลลก์ลมแบน อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Hyalodiscus

    6. Gromia เซลลท์รงกระบอกหรือรี อยู่ในแหล่งนํ�าจืด

    Gromia

    7. Euglypha ลอลิคาเป็นแผ่นรูปทรงเหลี�ยมขนมเปียกปูน สารประกอบ ซิลิกาเรียงซ้อนกนัคลา้ยกระเบื�องมุงหลงัคา

    Euglypha

  • 7/2/2017

    8

    8. Trinema เทสต์ใสขนาดเล็กรูปไข่ สารประกอบซิลิกาเป็นแผ่นกลมเรียงเป็นแถว

    Trinema

    9. Biomyxa รูปร่างไม่แน่นอน อยู่บริเวณโคลนในหนองหรือบึง

    Biomyxa

    10. Amphitrema เทสต์รูปไข่แบน สมมาตร มีช่องเปิด 2 ช่องอยู่ตรงขา้มกนั อยู่ในนํ�าจืด

    Amphitrema

    11. Microgromia เทสต์เล็กใสกลม ช่องเปิดอยู่ที�ส่วนปลาย มกัอยู่ดว้ยกนัเป็นกลุ่ม อยู่กบัพืชในนํ�าจืด

    Microgromia

    FORAMINIFERANS • เ ป็น ซา ร์ โค ดินา ที�มี เป ลื อก หุ้ ม เป ลื อก เ ป็น สาร ปร ะกอ บแคลเ ซีย ม

    (CALCAROUS SUBSTANCE) หรือซิลิกา • ส่วนใหญ่ดํารงชีวิตตามพื�นท้องทะเล บางชนิดอยู่ในนํ�าจืด เปลือกมักมีขนาด

    ใหญ่และมีรูปร่างต่างๆ กัน มีการสร้างเปลือกเป็นห้องหรือช่อง (LOCULE) • ช่องใหม่จะเกิดขึ�นอย่างต่อเนื�อง ช่องใหม่ที�สุดจะมีขนาดใหญ่ที�สุด ช่องใหม่

    เกิดจากการสร้างเปลือกรอบโพรโทพลาซึมที�เจริญขยายตัวออกมานอกเปลือก• เปลือกแบ่งตามลักษณะช่องหรือห้องเป็น 2 กลุ่ม คือ

    • 1. เปลือกช่องเดี�ยว (SINGEL CHAMBER) มีเพียงช่องเดียวในเปลือก เปลือกอาจเป็นแท่งหรือขดตัว หรือมีการแตกแขนง เปลือกเป็นสารอินทรีย์และมีช่องเปิดทางเดียว หรือมีเปลือกเป็นท่อสามแฉก

    • 2. เปลือกหลายช่อง (MULTILOCULAR) ประกอบด้วย เปลือกเริ�มแรกที�เรียกว่า โพรคูลัม (PROCULUM) เกิดจากการแบ่งเซลล์จะมีขนาดใหญ่ แต่ถ้าเกิดจากการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศจะมีขนาดเล็ก ช่องที�เกิดต่อมาจะมีขนาดใหญ่ขึ�นจัดตัวในลักษณะต่างๆ

    • เปลือกมีวัตถุต่างๆ ติดอยู่ เช่น เม็ดทราย และสปิคูล (SPICULE) ของฟองนํ�า ความหลากหลายของฟอแรมมินิเฟอแรนแบบเปลือกหลายช่อง คือ การเกิดระบบท่อที�ซับซ้อนนอกเปลือกเดิม

  • 7/2/2017

    9

    • อาหารของฟอแรมมนิิเฟอแรนเป็นจุลชีพ เช่น แบคทเีรีย ไดอะตอม เป็นต้น ฟอแรมมนิิเฟอแรนบางชนิดสามารถใช้เรตคูิโลโพเดยีมในการดกัจบัสัตว์ไม่มกีระดูกสันหลงัขนาดเลก็หรือเหยื�อที�มีขนาดใหญ่

    • สืบพนัธ์ุแบบไม่อาศัยเพศและอาศัยเพศ การสืบพนัธ์ุแบบไม่อาศัยเพศเป็นการแบ่งตัวเป็นเหมือนอมบีาเลก็ๆ ส่วนการสืบพนัธ์ุแบบอาศัยเพศมกัจะมกีารจบัคู่ แต่ละตัวสร้างแกมตีจาํนวนมาก

    • เมื�อตายเปลือกจมลงที�พื�นท้องนํ�ามลีกัษณะคล้ายโคลนตมทบัถมเป็นชั�นของเลน (OOZE) เช่น โคลนพื�นนํ�าที�ม ีGLOBIGERINA อยู่มากเรียกว่า GLOBIGERINA OOZE ใช้เป็นข้อมูลในการหาแหล่งนํ�ามนั

    1. Allogromia เทสต์เป็นไคทิน

    Allogromia

    2. Ammodiscus เทสต์สีเหลืองหรือสีแดงแกมนํ�าตาล

    Ammodiscus

    3. Globigerina เป็นแพลงก์ตอนที�มีพบไดม้ากในนํ�าเค็ม

    Globigerina

    RADIOLARIAN

    • เรดิโอลาเรียนเป็นแพลงก์ตอนที�ดํารงชีวิตอยู่ในทะเลมีมากในทะเลเปิด ไม่ค่อยพบในบริเวณนํ�านิ�ง

    • เซลล์ทรงกลมและมีโครงร่างภายในแข็งเป็นสารซิลิกอน หรือบางชนิดเป็นสทรอนเทียมซัลเฟต (STRONTIUM SULFATE)

    • ซึ�งเป็นองค์ประกอบสําคญัที�พบในซากดึกดําบรรพ์ บนผิวของโครงร่างนี�จะมีแขนงยื�นออกในลักษณะต่างๆ

    • ตะกอนของเรดิโอลาเรียนที�สะสมอยู่อย่างมากมายสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมขัดได้

  • 7/2/2017

    10

    02/07/60118214 (Protozoa)55

    1. Acanthometron มีหนามจาํนวน 20 อนัยื�นออกมาจากกึ�งกลางเซลล ์

    Acanthometron

    2. Thalassicolla มีขนาดใหญ่ไดถึ้ง 5 มม. แคปซูลมีรูพรุน มีแวคิวโอจาํนวนมากเรียงเป็นชั�นจนดูเหมือนฟองปกคลุมตวั

    Thalassicolla

    3. Aulacantha มีหนามกลวงขนาดเล็กคลา้ยเข็มยื�นออกมาในแนวรัศมีและมีโครงสร้างคลา้ยเข็มเรียงตวัที�ผิว

    Aulacantha

    4. Echinosphaerium เซลลข์นาดใหญ่ มีแวคิวโอลขนาดใหญ่เรียงเป็นชั�น 1 ถึงหลายชั�นเกือบเต็มเอคโทพลาสซึม พบในแหล่งนํ�าจืด

    Echinosphaerium

    5. Clathrulina เซลลก์ลม ไม่มีสีหรือสีนํ�าตาล อยู่เป็นเซลลเ์ดียวๆ หรืออยู่เป็นโคโลนี กา้นยาวเป็น 3-4 เท่าของเซลล ์พบในแหล่งนํ�าจืด โดยการเกาะอยู่กบัพืชนํ�า

    Clathrulina

  • 7/2/2017

    11

    6. Acanthocystis เซลลก์ลมมีเกล็ดซิลิคอนเรียงตวัเป็นแถว มีหนามกระจายอยู่รอบๆ เซลล ์พบในแหล่งนํ�าจืด

    Acanthocystis

    7. Raphidiophrys เทสต์เป็นเยื�อเมือก หนามรูปกระสวย อยู่เป็นเซลลเ์ดียวหรือโคโลนีในแหล่งนํ�าจืด

    Raphidiophrys

    8. Sphaerastrum เซลลแ์บน ส่วนใหญ่มีเจลาทินหุ้มหน้า มกัพบเป็นโคโลนีในแหล่งนํ�าจืด

Recommended