Spectral Ratio Geometric Correction Scatter plot...

Preview:

Citation preview

การนําเขาขอมูลภาพ การแสดงภาพบนจอแสดงภาพ การเนนขอมูลภาพ Spectral Ratio

Geometric Correction

Scatter plot

UNSUPERVISE CLASSIFICATION

SUPERVISE CLASSIFICATION

Post Classification แบบฝกหัดที ่ 1 การนําเขาขอมูลภาพ / TIF --> PIX วัตถุประสงค นําเขาแฟมขอมูลภาพจากดาวเทียม LANDSAT 7 ETM+ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2544 จํานวน 8 แบนด ประกอบดวย TM Band 1, 2, 3, 4, 5, 61, 7, PAN ของบริเวณบางปะกง ชื่อแฟม : bpk.tif (พื้นที่บางปะกง) ชื่อเมนูหลัก XPACE ชื่อชุด KERNEL รายละเอียดคําส่ัง Import File ชื่อคําส่ัง FIMPORT วิธีการดําเนินการ 1. การแปลงไฟล TIF เปน PIX 1.1. เลือกเมนู XPACE เขาสูระบบหลัก

1.2. เลือกเมนู Kenel แลวเลือก FIMPORT ดังรูป 1.3. จะปรากฎคําสั่งยอยใน dialog box ช่ือ FIMPORT 1.4. เลือก FIMPORT จะปรากฎคําสั่งใน Parameter FILI ใสช่ือไฟล ที่ตองการแปลง ที่มีนามสกุล TIF FILO ใสช่ือไฟลใหมที่ตองการสงออกไปเปน PIX DBIW ฐานขอมูลที่สราง POPTION การแปลงขอมูลเลือกเงื่อนไขของ Pyramid Options: NEAR/AVER/MODE DBLAYOUT เลือกชนิดของการสงออกขอมูลวาเปน PIXEL/BAND ใสขอมูลดังรูป

1.5. คลิกเลือกปุม STATUS เพื่อดูเงื่อนไขของ parameter เงื่อนไขที่ปรากฎมีดังนี้คือ

1.6. เม่ือใสเงื่อนไขเสร็จใหกด RUN เพื่อทําการประมวลผล 1.7. ทําขั้นตอนที่ 4-6 ซ้ําสําหรับ Band ที่ 2-8 TM BAND 1 = bpk1 TM BAND 2 = bpk2 TM BAND 3 = bpk3 TM BAND 4 = bpk4 TM BAND 5 = bpk5 TM BAND 6 = bpk61 TM BAND 7 = bpk7 TM BAND 8 = bpk8 DISSCUSS : เราจะไดฐานขอมูลที่ถูกแปลงไฟลมาเปน PIX แตยังไมรวมกันอยูในไฟลเดียวกัน ถัดไปเราจะทําการนําขอมูลแตและแบนดมาไวใน ไฟลเดียวกัน เพื่องายตอการประมวลผลการผสมสีในชองแมสีตางๆได ================================================================== การนําเขาขอมูล วัตถุประสงค เพื่อใหขอมูลภาพทุกแบนดอยูใน image set เดียวกนั ภายใตช่ือแฟมขอมูลเดียวกันที่ไดกําหนดไว 2. LOAD ขอมูลภาพ bpk1.pix ในขอ 1 แลวทําการสราง channel เพิ่มอีก 7 channels เพื่อรองรับขอมูลอีก 7 แบนดที่จัดเตรียมไวโดย เลือกปุม ImageWorks

เลือกไฟลขอมูลที่ตองการเพิ่ม Channel เชน bpk1.pix ตองมีนามสกุลเปน PIX กดปุม

Accept จะเขาสูหนาจอ Imageworks ดังรูป

เลือกที่เมน ู

file --> Utilities ดังรูป เลือกเมนู Edit

--> Add Channels... ดังรูป ทําการเพิ่ม

Channel 8 bit Unsigned จํานวน 8 ชอง แลวกดปุม Add เปนการเสร็จขั้นตอนเตรียม channel สําหรับจัดเก็บขอมูล ================================================================== 3. นําขอมูล Band ตางๆ อีก 7 แบนดมาลงในแฟม bpk1.pix ใน channel ที่วาง โดย ช่ือแฟม : BPK1.PIX ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด KERNEL รายละเอียดคําสั่ง Image Transfer ช่ือคําสั่ง

III ใสคา parameter ดังนี้ FILI ช่ือแฟมขอมูลที่ตองการนําเขา เชน Band 2 จาก bpk2.pix FILO ช่ือแฟมขอมูลที่จะถูกจัดเก็บไปไวใน bpk1.pix DBIC เลือก Channel ที่มีอยูใน FILI ไฟล DBOC เลือก Channel ที่จะจัดเก็บไวจาก FILO ไฟล DBIW Database Input Window DBOW Database Output Window

เม่ือเสร็จใหกดปุม RUN หลังจากนั้นให Add Band อื่นๆ 3-8 มาไวใน FILO ที่ตั้งคาใหใหครบทุกไฟล (ระวังจัดเก็บใหถูก Channel ดวย ตรวจดูจาก DBOC) ================================================================== 4. ตรวจสอบแฟมขอมูลที่ไดนําเขาเสร็จแลว จาก LANDSAT 7 ระบบ TM ทั้งหมด โดยให Image Works เลือกคําสั่ง ImageWorks แลวเลือกแฟมขอมูลที่ไดทําขั้นตอนที่ 3 นําเขาแบนดตางๆ มาแลว จากนั้น เลือกที่ Image Planes ใหเทากับ 8 channels เพื่อใชในการแสดงผล

แลวกดปุม Accept ผลลัพธหนาจอที่ไดยังไมสามารถแสดงผล ใหเลือกคําสัง่ File --> Load Image... เพื่อเลอืก แบนดตางๆ ไวใน channel ทั้ง 8 ที่ไดจัดเตรียมไว

เลือก แบนดทั้ง 8 ไวใน Channel ทั้ง 8 ชอง แลวกดปุม Load

ปรากฎภาพดาวเทียมดังรูป

เราสามารถแสดงผลแตละแบนดโดยเลือกที่คําสัง่ Imagery เพื่อเปลี่ยนโหมดในการแสดงผล

RGB / BW / PC / off ดังรูป ลองเลือก BW แสดงขาวดํา เราสามารถลองเปลี่ยน channel ซึ่งเช่ือมโยงไปยัง Band ที่ไดเลือกไว เพื่อเปลี่ยนภาพแสดงผล

แตภาพยังเปนขอมูล Original (สวนนี้จะไดอธิบายการใชงานเพิ่มเติมภายหลัง) จากนั้นตองเลือก Enhancement ในรูปแบบตางๆ เพื่อใหภาพคมชัดขึ้น ลองกดปุมตางๆ

ดู (สวนนี้จะไดอธิบายการใชงานเพิ่มเติมภายหลัง)

แบบฝกหัดที่ 4 การแสดงภาพบนจอแสดงภาพ / ภาพสี วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการแสดงผลภาพบนจอแสดงภาพโดยผสมสีในแมสแีดง (Red) เขียว (Green) และน้ําเงิน (Blue) โดยใชชวงคลื่นตางๆ ที่มีอยูของ LANDSAT-7 ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนูหลัก IMAGEWORKS วิธีการดําเนินการ 1. เลือกที่ปุม IMAGEWORKS ดังรูป เพื่อเรียกเคร่ืองมือสําหรับการแสดงผลขอมูล

2. จากนั้นจะปรากฎ Dialog box สําหรับการนําเขาภาพขอมูล *.PIX 2.1 ผูใชจะตองเลือกทีส่วนของโปรแกรม Configulation method ที่ปุมคําสั่ง Use Image File... แลวทําการเลือกไฟลที่เตรียมไวเขามา เชน c:\train\gbpk.pix ซึ่งเปนขอมูลภาพดาวเทียม LANDSAT-7 ซึ่งมี 8 แบนดที่ไดนําเขามาในขั้นตอนแรก ดังรูป 2.2 สวนของ User Defined Information ในหัวขอ Image Planes ใหเลือก 8 ชอง ชนิด 8 bit unsigned เพื่อใหสะดวกตอการแสดงผลภาพจาก 8 แบนดทีเ่รามีอยูในไฟล 2.3 สวนของหัวขอ Graphic Planes ใหเลือกประเภทขอมูล 8 bits ดังรูป 2.4 กดปุม Accept

โปรแกรมจะทําการ Load ขอมูลภาพถายดาวเทียม

จะไดผลลัพธดังแสดงในภาพ

3. Load ภาพแตละแบนดใหอยูในชองของขอมูล 8 ชองโดยเลือกคําสั่ง File--> Load Image...

3.1 เลือกแตละ bands ใหเขาในแตละชองดังรูป เม่ือเลือกเสร็จใหกดปุม Load & close เพื่อจะไดแสดงผลตอไป

โปรแกรมจะทําการ Load ขอมูลมาโดยหนาจอจะแสดงความกาวหนาดังนี้

3.2 หนาจอสามารถที่จะปรับแตขอมูลไดเพื่อการแสดงผลตอไป

4. ในขั้นตอนของการเลือกแสดงผลโดยการปรับขอมูลใหคมชัดบนหนาจอในขั้นตอนน ี้ผูใชอาจจะใชขอมูลที่เปนคาเร่ิมตนของเคร่ืองโดยมีขั้นตอนโดยสังเขปดังนี ้4.1 ใหเลือก Bands ที่ตองการผสมสใีนแมสี Red Green Blue มา 3 แบนดตามลําดับในชองของ control Panel ในสวนของ Imagery

4.2 เลือกคําสัง่ Enhancements (ซึ่งจะทําใน lab ตอไป) โดยใช Linear Enhancement ดังรูป

4.3 ผลที่ไดจะปรากฎบนหนาจอ ImageWorks ดังรูป

5. ใหผูใชทําการทดลองผสมสีขอมูลดาวเทียมแบบ สีผสมเท็จ (False Color Composite) สีผสมจริง (True Color Composite) และ สีผสมธรรมชาติ (Natural Color Composite) 5.1 แสดงผลขอมูลดาวเทียมแบบสผีสมเท็จ (False Color Composite) Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 4 5 3

Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 4 1 7

Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 5 3 2

5.2 แสดงผลขอมูลดาวเทียมแบบสผีสมจริง (True Color Composite) Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 3 4 1

Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 3 4 6

Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 7 4 3

5.3 แสดงผลขอมูลดาวเทียมแบบสผีสมธรรมชาติ (Natural Color Composite) Channel color Red Green Blue LANDSAT-7 BAND COMBINATION 3 2 1

Discuss : ภาพสีผสมแบบใดหรือ Band Combination ใดใหความแตกตางระหวางประเภทขอมูลมากที่สุด หรือมีแนวทางที่จะนําไปประยุกตใชอยางไร Application Red Green Blue เหตุผล 1.สิ่งปกคลุมดิน 4 5 3 พืชพรรณเปนสีแดงถึงสมและเหลือง และความแตกตางไดชัดเจนและการใชที่ดิน แหลงน้ําที่มีตะกอนสีน้ําเงิน น้ําลึกสีดํา น้ําใสสีดํา และที่ดินวางเปลาสีขาว 2.ตะกอนชายฝง 5 3 2 จะเห็นบริเวณที่มีตะกอนจะเปนสีฟา แตกตางจากน้ําลึกที่เปนสีน้ําเงินถึงดํา สามารถแยกความแตกตางของตะกอนที่ชายฝงไดชัดเจน 3.เกษตร 4 5 3 สามารถจําแนกพืชพรรณ หรือประเภทของ พืชพรรณไดชัดเจนกวา เชน บริเวณที่เปนปาชายเลนจะเปนสีแดงชัดเจน สวนที่เปนนาขาวสีสม เปนตน แบบฝกหัดที่ 9 การเนนขอมูลภาพ / Linear Combination วัตถุประสงค เนนขอมูลภาพโดยการนําขอมูลหลายๆ แบนดมาทําผลบวกเชิงเสนของแบนด (ตองกําหนดคาสัมประสทิธิ์) เชน Principal Component Analysis (PCA)

ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนูหลัก XPACE ช่ือชุด IMAGE PROCESSING รายละเอียดคําสั่ง Principal Analysis ช่ือคําสั่ง PCA วิธีการดําเนินการ 1. เพิ่ม Channel ขึ้นมาใหเทากับ จํานวนแบนดที่มีอยูในขอมูลดาวเทียมที่จะนํามาวิเคราะห ในกรณีนี้จะใช LANDSAT-7TM ซึ่งนํามาเพียง 8 แบนดในการวิเคราะห ซึ่งมีขั้นตอนโดยสังเขปดังนี ้เปด ImageWorks แลวเลือกเมนู file --> Utilities

จาก dialgo ที่ปรากฎ เลือกเมนู Edit --> Add Channel

เพิ่มขอมูล Channel ขึ้นมา 8 Channels โดยกดปุม Add จะเปนการเพิ่มชองวางเปลาสําหรับรองรับภาพที่จะวิเคราะห

2. กําหนดแบนดที่จะนํามาทํา PCA ดังรูป เลือกโปรแกรม XPACe

เลือกไป Packages : Multispectral analysis เลือกไปในสวนของ Tasks : PCA ดังรูป

จะปรากฎ Dialog box ดังรูปลาง ในขั้นตอนนี้จะตองทําการทดสอบโปรแกรม PCA analysis โดย กําหนดคาดังนี้ File : เลือกไฟลขอมูลที่ตองการนํามาวิเคราะห PCA ที่ไดจัดเตรียม channel วางๆ ไวรองรับผล DBIC : เลือก Channel ที่ตองการนํามาวิเคราะหสถิติตามแนวแกน โดยกรอกขอมูล 1, -8 ลงไป เพื่อเปนการเลือกทั้ง 8 bands สวนอื่นๆ ยังไมตองเลือกใสคา parameter ดังนี ้สามารถทดสอบสถานะโดยกดปุม Status

เม่ือเสร็จใหกดปุม RUN เพื่อการประมวลผลลัพธจะไดรับคา Eigen Value และคา Standard Deviation ดังรูป

จะพบวาคา ในแกน Eigenchannel 1, 2, 3 และ 4 มีคาสูงมากนั้นหมายถึง การที่โปรแกรมทําการวิเคราะหขอมูลจุดภาพในแตละ Band แลวนํามารวมเปน channel ใหม โดยในแตละ channel นั้นมีคา Eigen ที่อยูภายใน และ Standard Deviation เทาใด ในขั้นตอนนี้วิเคราะห PCA analysis หลังจากที่ทราบคา Eigen Value และ Standard Deviation แลว สามารถที่จะนํามาเลือกใชได สมมติวาเราตองการที่จะใชทุกแกนเพื่อการวิเคราะหผลภาพ กําหนดคาดังนี้ File : เลือกไฟลขอมูลที่ตองการนํามาวิเคราะห PCA ที่ไดจัดเตรียม channel วางๆ ไวรองรับผล DBIC : เลือก Channel ที่ตองการนํามาวิเคราะหสถิติตามแนวแกน โดยกรอกขอมูล 1, -8 ลงไปเพื่อเปน การเลือกทั้ง 8 bands EIGN : เลือก Channel ของ Eigen Value ที่ตองการนํามาวิเคราะหสถิติตามแนวแกน โดยกรอกขอมูล 1, -8 ลงไปเพื่อเปนการเลือกทัง้ 8 แกนในการนํามาทดลองวิเคราะหรวมกัน DBOC : เลือกกําหนด Channel ที่ตองนําผลลัพธไปใสใหครบทั้ง 8 แกนที่ทําการวิเคราะห สวนอื่นๆ ยังไมตองเลือกใสคา parameter ดังนี ้

สามารถทดสอบสถานะโดยกดปุม Status

เม่ือประมวลผลการวิเคราะห PCA เสร็จจะปรากฎ ขอมูลในหนาตางดังนี้

3. ตรวจสอบผล PC1, PC2, PC3, PC4, PC5, PC6, PC7, PC8 PC1 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC2 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC3 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC4 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC5 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC6 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC7 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

PC8 : ผลลัพธขอมูลเม่ือแสดงขอมูลชนิด Black and White และ Pseudo color ดังรูปขางลาง

จากขอมูลภาพขางตน และขอมูลจาก result ใน DOS windows DISCUSS : PC1 ใหรายละเอียดขอมูลมากที่สุด ตามดวย PC2 และ PC3 ตามลําดับ ดังนั้นการเลือกใชงานผูใชตองเลือกใหเหมาะกับงาน เชน PC7 เหมาะสําหรับวิเคราะห ถนนที่เห็น contrast ชัดเจน : ในการทํา PCA มีพารามิเตอรที่สําคัญคือ จํานวน Band ที่นําเขามาวิเคราะห และ Eigen Value 4. เม่ือ Load ภาพแตละ PCA ขึ้นมาได โดยเลือกไปที่ Image Works เลือกเมนู File --> Load Image... ทําการเลือก channel ดังรูป คือ Bands 1-5 ไวใน channel 1-5 PC1 ไวใน Channel 6 PC2 ไวใน Channel 7 PC3 ไวใน Channel 8 (หมายเหตุ เนื่องจากเราเลือกใชเฉพาะที่มีขอมูลสําหรับการวิเคราะหผลเทานั้น)

ตัวอยางเลือกแบบ False color composite เพื่อทดสอบดงัรูป

5. ผสมภาพผล PC รวมกับ Band อื่นๆ ดวย 6. Band Combination ที่สามารถเห็นความแตกตางประเภทขอมูลที่เดนๆ เชน พืช ดิน น้ํา อื่นๆ ไดชัดเจน เชน Band 4 : Band PCA3 : Band 3 ในแมสี Red : Green : Blue ตามลําดับ จะพบวาใชในการศึกษาตะกอนชายฝงไดเปนอยางดี แสดงตะกอนสีน้ําเงิน ตางจากน้ําลึกเปนสีเขียว

Band 4 : Band PCA1 : Band 3 ในแมสี Red : Green : Blue ตามลําดับ จะพบวาใชในการศึกษาบริเวณที่เปนแหลงน้ํา หรือมีความช้ืนประกอบออกไดอยางชัดเจน แตกตางจากพื้นที่แหง

Band 4 : Band PCA7 : Band 3 ในแมสี Red : Green : Blue ตามลําดับ จะพบวาใชในการศึกษาบริเวณที่เปนสิ่งกอสรางหรือถนน เห็นไดชัดเจน แต resolution คอนขางหยาบลง นั่นหมายถึงวา PCA7 อาจจะมีขอมูลจาก TM Band6 มาประกอบดวย

ฉะนั้นในการเลือกใชงาน ผูใชตองเลือกใหเหมาะสมตองานที่ตองการแปลหรือจําแนกขอมูล แบบฝกหัดที่ 10 การเนนขอมูลภาพ / Spectral Ratio วัตถุประสงค เนนขอมูลภาพจากการทําอัตราสวนคา DN ตางแบนดหรือตางชวงคลื่น เหมาะสําหรับภาพที่มีขอมูลภาพที่มีคาต่ํา หรือสูงสุดแตกตางกนัมาก ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนูหลัก IMAGEWORKS ช่ือชุด IMAGE PROCESSING รายละเอียดคําสั่ง IMAGE ARITHMETIC ช่ือคําสั่ง ARI ช่ือเมนูหลัก IMAGEWORKS ช่ือชุด MULTILAYER MODELLING รายละเอียดคําสั่ง MODELLING ช่ือคําสั่ง MODEL วิธีการดําเนินการ ขั้นตอนแรก ตองเตรียมฐานขอมูล Channel ไวสําหรับรองรับการทํางาน หรือใสแบนดที่ทําการวิเคราะหกอน เลือกเมนู ImageWorks

เปดไฟลขอมูลที่ตองการแสดงผล และเพิ่ม Channel กดปุม Accept

จะแสดงผลหนาจอ ImageWorks

เลือกคําสั่ง File --> Utilities

เลือกคําสั่ง Edit --> Add Channels...

ทําการเพิ่ม Channel ขึ้นมา ตามจํานวนที่ตองการ เชน 3 channel กดปุม Add (คํานึงถึง เนื้อที่ทีใ่ชงานบน HardDisk ดวย)

============================================================================== 1. ทําภาพแบบอัตราสวนระหวางแบนดที่ตองการ TM BAND 4 / TM BAND 1 TM BAND 1 / TM BAND 4 เปด XPACE ขึ้นมาเลือกคําสั่งดังนี ้ช่ือเมนูหลัก IMAGEWORKS ช่ือชุด IMAGE PROCESSING รายละเอียดคําสั่ง IMAGE ARITHMETIC ช่ือคําสั่ง ARI

จะปรากฎ dialog box ของ ARI Image Arithmetic ขึ้นมา เลือก parameter ดังภาพ

เม่ือกดปุม STATUS สามารถตรวจสอบสถานะการทํางานได

เม่ือทําการแสดงผลไดดังรูป จะพบวา การนํา Band 4 / Band 1 จะทําใหภาพที่แตกตางจะแสดงผลในพื้นที่ที่เปนพืช มีคาเปน 1 สวนที่อื่นๆ เปน 0

จะพบวา การนํา Band 1 / Band 4 จะทําใหภาพที่แตกตางจะแสดงผลในพื้นที่ที่เปนน้ําจะแสดงสีขาว สวนอื่นๆ สีดํา

DISSCUSS : ผลลัพธจากทั้ง 2 แบบใหคา DN ใหมของพืชพรรณแตกตางอยางไร **จะพบวา การนํา Band 4 / Band 1 จะใหภาพที่แตกตางจะแสดงผลในพื้นที่ทีเ่ปนพืช มีคาเปน 1 สวนที่อื่นๆ เปน 0 **จะพบวา การนํา Band 1 / Band 4 จะใหภาพที่แตกตางจะแสดงผลในพื้นที่ทีเ่ปนน้ําจะแสดงสีขาว สวนอื่นๆ สีดํา 2. ทํา Vegetation Index (VI) (Red Band - NIR band) / (Red Band + NIR band) กรณี LANDSAT-7 TM = (TM BAND 3 - TM BAND 4) / (TM BAND 3 + TM BAND 4) เพิ่ม Channel สําหรับการทํางาน 3 Channel 3. ทําภาพแบบอัตราสวนของ Blue band / Red band = TM BAND 4 / TM BAND 3 DISCUSS : ผลลัพธที่ไดมีประโยชนอยางไร แบบฝกหัดที่ 12 การปรับแกขอมูลเชิงเรขาคณิต / Geometric Correction วัตถุประสงค ปรับแกความคลาดเคลื่อนขอมูลใหถูกทิศทาง การปรับแกขอมูลเชิงเรขาคณิต หรือการทํา Geometric Correction เปนการปรับแกคาพิกัดเชิงภูมิสาสตร เพื่อใหเขาสูระบบ UTM หรือระบบที่ตองการ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีการจัดทํา 4 รูปแบบคือ image to image ใชในกรณีที่ทําการอางอิง images ที่ยังไมมีพิกัด ทํารวมกับขอมูลที่มีพิกัดแลว image to vector ใชในการณีที่ทําการอางอิง images กับขอมูล Vector

image to MAP ใชในกรณีที่มีการอางอิง images กับขอมูล bitmap image to coordinates ใชในกรณีที่มีผูใชพิมพคาพิกัดเขาไปดวย keyboard ช่ือแฟม : BPK.PIX ช่ือเมนูหลัก GCPWORKS วิธีการดําเนินการ IMAGE TO USER ENTERED COORDINATES พารามิเตอรที่สําคัญ : MAP PROJECTION, EARTH MODEL ของพื้นที่ศึกษา : ขนาดของจุดภาพที่ตองการ 1. เลือกเมนูหลักไปที่ GCPWorks จะปรากฎหนาจอเปน GCPworks set up ซึ่งจะประกอบไปดวย processing requirements, mathematics model source of GCPs และ Correcsponding Processing steps

2. เขาสูเมนู GCPWorks set up ใหเลือก User Entered cooredinates ใน sources of GCPs กด Accept

3. เลือกปุม Select Uncorrected Image จาก Dialog box ของ PCI GCPWork... เพื่อทําการเลือกแผนที่หรือไฟลที่ตองการปรับแกฐานขอมูลพิกัด 4. ทําการเลือก File name เพื่อที่จะทําการปรับแก กด Open หนาจอจะปรากฎชื่อ file ที่เลือก

5.เลือก Channel และ Band ที่ตองการทํา Geometric Correction ที่ยังไมไดมีการปรับแก 6. กดปุม Load & Close เพื่อทําการ Load ขอมูลปรากฎภาพที่ตองการปรับแกบนหนาจอ 2 หนาตาง คือ หนาตางที่เปนภาพรวมของแผนที่ และหนาตางที่ใชสําหรับ Zoom In Zoom Out

7. เลือก Defined Georeferencing Units เพื่อเขาสูระบบการตั้งคาพิกัดที่อางองิตามระบบพิกัดโลก ปรากฎหนาตางในการทํา Georeferencing System Definition

8. เลือกปุม ลูกศรที่ Metre เลือก UTM Zone 47 กด Accept เลือก UTM ROWS ตามเลขรหัสอักษรประจําเขตกริด เชน 47P กดปุม Accept

จากนั้นเลือกที่ Earth Model ไปที่ Ellipsoids เลือก D 078 Indian 1975 (Thailand) กดปุม Accept

9. ขั้นตอมากดปุมทํา Geometric Correction เลือกปุม Collect GCPs จะปรากฎกรอบเมนู GCP Selection and Editing เพื่อใหคาพิกัดของแตละจุด

ถามีภาพ Topographic Map ที่ไดทําการ Scan แลวปรับ Geometric Correction แลว ใหเปดภาพขึ้นมา โดยใช ImageWorks เพื่ออานคาพิกัด (ซึ่งในขั้นตอนนี้อาจจะอานจาก แผนที่กระดาษก็ได แตถา scan เขามา ตองระวังเร่ืองพิกัดดวย)

หนาจอสําหรับ Zoom in Zoom out

เรียกตัว cursor เพื่ออานพิกัด

หนาจอภาพรวม

10. หลังจากที่ไดจํานวนจุดอางอิง ที่ใหคาพิกัดภูมิศาสตรตามที่ตองการแลว เม่ืออานพิกัดบนแผนที่ไดครบตามตองการแลว

เลือกไปที่ File --> Save GCPs เพื่อทําการบันทึก GCPs ที่อานไดไปเก็บไวใน Segment ของ File

11. เลือก File --> Exit หรือกดปุม Close เพื่อออกจากเมนูหลักของ GCP Selection and Editing เสร็จขั้นตอนการเลือกจุดอางอิง DISCUSS : 1. การทํา Image to Use entered coordinates โดยกําหนด GCPs/Save GCP File

RMS Error X = 1.91 Y = 1.99 จํานวน 21 จุด ============================================================ ขั้นตอนการ Warping หรือการทํา Image Registration เพื่อที่จะทําการตรึงขอมูลมีดังนี้ 1. เลือกที่ปุม Perform Registration to Disk

หนาจอจะปรากฎหนาตางของ Disk to Disk Registration ดังรูป ใหเลือกคําสัง่ New Output file... ใหใสช่ือไฟลใหมที่จะทําการ Registration ใหใสช่ือขอมูล

เลือกชนิด PCIDSK (.pix)

กําหนดขนาดขอบเขตขอมูลที่ตองการทํา subset หากตองการ ซึ่งขนาดของจุดภาพจะตองครอบคลุมพื้นที่ศึกษา ซึ่งในกรณีนี้ พื้นที่ศึกษา บางปะกง มีขอบเขตดังนี ้ทํา Resampling และกําหนดขนาดจุดภาพ (pixel size) = 25 เมตร โดยการประมาณคาาแบบ Cubic Convolution ในสวนของ Number of channel กําหนด 8 ชอง ใหรับคา 8 แบนด ในสวนของ Geo-Referencing Information ใหเลอืก Use Bounds and Resolution. ขนาด Pixel Size 25 x 25 y และกําหนด bound ที ่

Upper left E 707000 Uppper Left N 1509000 Lower Right E 732000 Lower Right N 1484000 ดังรูป

เม่ือเปลี่ยน Pixel Size เคร่ืองจะถาม ใหตอบ Change Resolution

เม่ือกดปุม Create เคร่ืองจะถามยืนยันการใชเนื้อที่ HardDisk

ใหทําการ copy ขอมูลที่จะนําเอาไปทําการ Registration ใน channel 1-1, 2-2, 3-3 หรือ default ใน mode ของ selected channel / file mapping และปรับในสวน Memory 32 MB

เม่ือกดปุม Perform Registration เคร่ืองจะเร่ิมประมวลผล

เม่ือทํา GCP เสร็จใหออกจากโปรแกรม GCPworks

แบบฝกหัดที่ 13 การจําแนกภาพ / Scatter plot

วัตถุประสงค ใชศึกษา Correlation ระหวางขอมูลโดยแสดงการกระจายกลุมวามีแนวโนมที่จะอยูกลุมเดียวกัน หรือตางกลุม ทั้งสวนที่เปนขอมูลภาพ และสวนของตัวอยางประเภทขอมูล ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง 2-D Scatterplot ช่ือคําสั่ง SPL วิธีการดําเนินการ 1. เลือก Image Work แลวเปดภาพดาวเทียมขึ้นมาเพื่อการวิเคราะห Scatter Plot

2. เลือกที่ปุม XPACE ดังรูป เพื่อเรียกเคร่ืองมือสําหรับการวิเคราะห Scatter Plot

2. ในสวนของ Packages เลือกที่คําสัง่ Multispectral Analysis ในสวนของ Tasks เลือกที่คําสั่ง SPL 2-D Scatterplot ดังรูป

จะปรากฎ Dialog Box เพื่อการใส parameter ที่จะไดอธิบายตอไป ดังรูป

โดยกําหนด Parameter ของคําสั่ง Scatterplot ดังตอไปนี้ FILE ช่ือฐานขอมูลที่เก็บขอมูลที่จะทําการวิเคราะห Scatterplot DBIC channel ที่จะทําการ Scatterplot โดยเลือก 2 แบนดที่ตองการเปรียบเทียบ เชนแบนด 4 กับ 5 VDSP กําหนดสี video graphics plane ที่จะรับคาผลลัพธ scatterplot. แลวแสดงสีที่กําหนด เชน 1 สีแดง VDLABEL กําหนดสี video graphic plane ที่จะรับคา Diagram label แสดงแกนสําหรับplot คา โดยไมซ้ํากับ VDSP เชน 2 สีเขียว 3. เม่ือกําหนดคา parameter เสร็จใหกดปุม RUN เพื่อประมวลผลขอมูล Scatterplot 4. หลังจากประมวลผลเสร็จเคร่ืองจะแสดงผลลัพธผาน ImageWork ดังรูป

5. วิธีการทดสอบการกระจายของโดย Graphic ชวยในการเลือกขอมูลจาก Plot Scattergram ดังนี้ 5.1 เปดเคร่ืองมือสําหรับเลอืกพื้นขอมูลที่ plot บนกราฟ จากเมนู Edit --> Graphic...

จะไดเคร่ืองมือสําหรับการเลือกขอมูล Graphic ดังรูปลาง

5.2 การเลือกขอมูลจะตองกําหนดสีที่แถบ Graphic Plane being Edited เชน 1=สีแดง 2=สีเขียว 3= สีน้ําเงิน จะตองเลือกใหแตกตางจากสีที่ปรากฎบนหนาจอ เชน 6=สีฟา 5.3 เลือกคําสัง่ในแถบ Operation ใช Solid Circle หรือ Solid Box เพื่อกําหนดขอบเขตของขอมูล 5.4 ลากแถบสีวงกลมหรือสีเ่หลี่ยมที่เลือกไปบน พื้นที่ Scatterplot บน Image Works ทั้งนี้การเลือกพื้นที่จะตองคํานึงถึง Graph ของ Spectral Signature ที่เปนคาสะทอนของวัตถุดวย เชนในรูปผูใชตองการเลือกพื้นที่แสดงขอบเขตน้ํา จากแบนด 4 (NIR) และ แบนด 5 (IR) จะตองสะทอนน้ําต่ําทั้งสองแบนด ซึ่งจะตองเลือกพื้นทีท่ี่สะทอนต่ําดังรูป

5.5 การแสดงผลลัพธจากการเลือกขอมูลบน Scatterplot ใน ImageWork จากผลของ SPL สามารถทํา 2-D Classification ผูใชตองใชคําสัง่ CLS เพื่อการแสดงผลลัพธโดยเลือกคําสั่งดงันี ้ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง 2-D classification ช่ือคําสั่ง CLS ดังรูปที่แสดงไดขางลาง

dialog box จะปรากฎเพื่อการกําหนด parameter ดังนี้

โดยกําหนด Parameter ของคําสั่ง Scatterplot ดังตอไปนี้ FILE ช่ือฐานขอมูลที่เก็บขอมูลที่จะทําการวิเคราะห Scatterplot DBIC channel ที่จะทําการ Scatterplot โดยเลือก 2 แบนดที่ตองการเปรียบเทียบ เชนแบนด 4 กับ 5 VDGM กําหนดคาสี video graphic plane ที่ประกอบดวย graphic mask ที่ไดเลือก ไวในขั้นตอนการทํา SPL เชน 6=สีฟา VDCB กําหนดสี video graphic plane ที่จะแสดงผลสีลงบนพื้นที่ภาพถายดาวเทียมใน Imagework

ที่มีคาสถิติเทากับพื้นที่ขอมูลทีเ่ลือกใน Scatterplot เชน นํามา plot เปน 3= สีน้ําเงิน blue ดังผลลัพธรูปขางลาง

Discuss ผลจากการทํา Scatter Plot มีประโยชนดังนี้ โดยสรุปจากการทํา Scatter Plot ชวยในการวิเคราะหผลการสะทอนของวัตถุ โดยเลือกแบนดในการเปรียบเทียบ คาสะทอนของวัตถุ 2 แบนด ซึ่งทําใหทราบแนวโนมของวัตถุดังกลาววาควรจะเปนวัตถุหรือขอมูลประเภทใด โดยใชรวมกับกราฟ Spectral Signature รวมดวยในการวิเคราะห เชน การเลือกพื้นที่น้ํา ดิน หรือพืช หรือลักษณะสิ่งปกคลุมดินที่ปรากฎในการสะทอนของวัตถ ุ แบบฝกหัดที่ 14 การจําแนกภาพ / UNSUPERVISE CLASSIFICATION วัตถุประสงค จําแนกภาพแบบ UNSUPERVISE CLASSIFICATION โดยการจัดกลุมจุดภาพโดยเงื่อนไขทางสถิติ ตามความคลายคลึงกัน เหมาะสําหรับขอมูลภาพที่ USER ไมทราบรายละเอียดหรือสภาพสิ่งปกคลุมดินของพื้นที ่ ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis

รายละเอียดคําสั่ง K-MEANS CLUSTERING ช่ือคําสั่ง KCLUS พารามิเตอรที่สําคัญ : จํานวนประเภทขอมูลที่ตองการ : ชวงคลื่นหรือแบนดที่ตองการสรางคาสถิติ (ไดจากการศึกษาในแบบฝกหัดที่ 13) : หากตองการจําแนกเฉพาะที่ตองการสราง MASK วิธีการดําเนินการ ***หมายเหตุ ให Add Channel 1 Channel เพื่อเก็บไวสําหรับรองรับผลการวิเคราะห UNSUPERVISED CLASSIFICATION ซึ่งเคยกลาวถึงไวในบทตน ๆ 1. เลือกเมนูหลักไปที่ XPACE เลือก Multispectral เลือก คําสั่งยอย $KCLUS แลว click ที่ คําสั่ง Analysis ดังรูป

ใหเลือก parameter ของคําสั่ง KCLUS ดังตอไปนี้ FILE ช่ือฐานขอมูลที่ใชทํา Unsupervised Classification DBIC ช่ือ channel ที่จะทําการจําแนก เลือก 2, 3, 4, 5 DBOC ช่ือ channel ที่จะใชในการเก็บผลลัพธ MASK ใชในกรณีที่ไมตองการ classify ในกรณีนี้ไมใช

NUMCLUS จํานวนของผลลัพะที่ตองการวามีกี่กลุมตัวอยาง เชน 13 กลุม SEEDFILE เปน Text file ที่จะใชกําหนดคาเร่ิมตน เพื่อเปนแบบในการทํา Classify MAXITER จํานวนรวมของการคํานวณ เพื่อหาคา Mean ของขอมูล MOVETHRS คาที่จะใชเปนคาอางอิงในการที่จะใหโปรแกรมหยุดทํางานตอ กลาวคือเปนการกําหนดคาอางอิง SIGGEN จะใหมีการเก็บคา Signature ของขอมูลในแตละ class ไวในฐานขอมูลหรือไม ซึ่ง ถาจัดเก็บไวก็อาจจะนําคา Signature มาใชในการทํา Supvervised classification ได REPORT การรายงานผลลัพธ ผลลัพธที่ไดจากคําสั่ง KCLUS จะไดขอมูลใหมขึ้นมา 1 channel ซึ่งเก็บภาพผลลัพธการ Classify ซึ่งจะมีจํานวน class ตามที่ระบุใน NUMCLUS ซึ่งสามารถเปดดวยโปรแกรม ImageWorks เลือกไฟลที่เก็บผลลัพธขึ้นมา

เปดทําการ Load ขอมูลขึ้นมา

เลือก channel ที่เก็บผลลัพธขึ้นมา แลว Load & Close

ในสวนของการเลือก mode แสดงผล ใหเลือกเปน PC

click เลือกอุปกรณเปลี่ยนส ี

จะปรากฎ dialog box ใหกดปุม RANDOM เพื่อเปลี่ยนส ี

ไดผลลัพธดังรูป 9 class

ไดผลลัพธดังรูป 13 class

ตอบคําถาม 1. จําแนกภาพแบบ UNSUPERVISE โดยกําหนดแบนดที่ตองการและจํานวนประเภทขอมูล * แบนดทีเ่ลือกใชการคํานวนคาสถิต ิ band 2, band3, band 4, band 5 2. จํานวนประเภทขอมูล * 9 กลุมประเภทขอมูล และ 13 กลุมประเภทขอมูล DISCUSS พบวา ผลจากการจําแนก ดวย unsupervised classification 9 กลุม จะจําแนกผลได หยาบกวา 13 กลุมในสภาพพื้นที่บางปะกง แบบฝกหัดที่ 15 การจําแนกภาพ / SUPERVISE CLASSIFICATION วัตถุประสงค จําแนกภาพแบบ SUPERVISE CLASSIFICATION โดยการจัดกลุมจุดภาพลงในประเภทขอมูลที่ไดกําหนดพื้นที่ตัวอยางไว ช่ือแฟม : GBPK.PIX ชวงคลื่นหรือแบนดที่เลือกใชเพื่อคํานวณคาสถิติ (ไดจากการศึกษาแบบฝกหัดที่ 13) band2, band3, band4, band5 พื้นที่ตัวอยางบางปะกง ขอมูลที่ตองการจําแนก 9 ประเภทขอมูลหลัก Class 1 = Water (Deep, River, Pond) Class 2 = Shrimp Farm (Intensive, Natural) Class 3 = Paddy Field (Pre-plantation, Plantation, Havested, Just harvested) Class 4 = Mangrove Class 5 = Bare Soil Class 6 = Fish Pond Class 7 = Build-up area Class 8 = Grass land and unhabited area Class 9 = Golf with grass land ========================================================

======================================================== 1. กําหนดพื้นที่ตัวอยาง (Training area) ======================================================== * Load ขอมูลภาพ โดยเลือกแบนดที่สามารถแสดงความแตกตางของประเภทขอมูลไดชัดเจนแลว กําหนดพื้นที่ตัวอยางแตละประเภทขอมูล (ผลจากแบบฝกหัดที่ 14) ช่ือเมนูหลัก IMAGEWORKS โดยเปดภาพขึ้นมาดวย ImageWorks พรอม load ภาพดาวเทียมที่เตรียมไวขึ้นมา (โดยสวนใหญจะตองครอบคลุมพื้นที่ศึกษา และตองทําการปรับ Gemetric Correction แลว)

* เตรียม graphic เพื่อใหสามารถแสดงผลและเรียกใชงานไดโดยเลือกที ่graphic All on จากสวนของ control panel ของ image works

* กําหนดพื้นที่ตัวอยางโดยการ EDIT GRAPHIC ช่ือเมนูหลัก : IMAGEWORKS / EDIT / GRAPHIC (โดยเลือกเมนู edit --> graphic...)

จะปรากฎหนาตาง graphic editing

ขั้นตอนการเลือก TRAINING AREA มีดังนี้ * เลือกสีหรือสัญลักษณ Graphic plane ที่ตองการใชงานจาก Graphic Editing

* ทําการเลือกพื้นที่ training area โดยทําการ click ที่ trace & close ในสวนของ Operation จาก Graphic Editing

* ใช Zoom in - Zoom out ชวยในการเลือกพื้นที่ที่ตองการดูรายละเอียดขอมูล แลวลาก mouse ใหขึ้นกรอบครอบคลุมพื้นทีท่ี่ตองการทําเปน training area ใหไดรูปปด เชน ลาก training area ของ แหลงน้ํา

เม่ือปลอยเมาส สวนปลายของจุดเร่ิมตนของเสนจะเช่ือมเขาดวยกัน

เลือก Flood Fill ในสวนของ Operation เพื่อระบายสีทึบ ใหครอบคลุมพื้นที่ training area

เลื่อนเมาสไปคลิกบน training area ที่ไดลากไว จะได training area ดังรูป

* แลว SAVE GRAPHIC โดยเลือก FILE / SAVE GRAPHIC

จะปรากฎ Dialog box ใหใสคาของ Graphic (Training area) ที่ตองการบันทึก (ซึ่งจะตองกรอกขอมูลใหถูกตอง)

อธิบายวิธีการกรอกขอมูล step by step ดังนี้ เลือกในสวน Savable Graphic Planes ที่ไดเลือกไว ตอนตน ในกรณีนี้คือ Graphic plane 2 = สีเขียว

เปลี่ยนช่ือ Name และ รายละเอียด Description ใหกับ Training area ที่เราตองการ เม่ือพอใจกดปุม SAVE

ช่ือจะปรากฎบน database bitmap segments ใหปดโดยกดปุม Close เพื่อเลือก Training area อื่นๆ ตอไป

แตถาตองการเพิ่ม Graphic เขาไปใน Plane อื่นๆ ปกติจะไมนิยมทํากัน เพราะถาเลือกผิดมีผลตอการวิเคราะห Supervise ดวย สวนใหญตั้งช่ือใหม แลวคอยนําไปรวมกันในภายหลังได ซึ่งไดกลาวถึงในสวนตอ ๆไป มีขั้นตอนคลายๆ กัน คือ หลังจากเลือกพื้นที่ training area เดิม ที่ตองการเพิ่มขอมูล เลือก FILE / SAVE GRAPHIC

เลือกในสวน Savable Graphic Planes ที่ไดเลือกไว ตอนตน ในกรณีนี้คือ Graphic plane 2 = สีเขียว

เลือกสวน Database Bitmap Segments ที่ตองการบันทึกเพิ่มเติม เขาไปได

จะแสดงผลบน Segment Information เดิมขึ้นมา ใหกดปุม Save แลวตามดวย Close (หรือ Save&Close)

======================================================== หมายเหตุ * เราสามารถเลือก Training area โดยใช Graphic Plane เทาที่มีอยูทั้งหมด เชน 9 กลุมประเภทการใชที่ดิน * แลวคอยทําการบันทึกขอมูลโดยเลือก File --> Save Graphic เม่ือ Save แลวจะปรากฎเมนู * แลวคอยทําการเลือกบันทึกขอมูลลงในฐานขอมูลโดยการกดที่หมายเลข Graphic Plane ที่ตองการบันทึก * ซึ่งจะตองเลือกทีละ Graphic Plane * เม่ือเลือก Graphic Plane ที่จะทําการบันทึกไดแลว (เลือกไดทีละ 1) ใหเลือก Create new segment * เพื่อที่จะนําขอมูลเขาไปเก็บใน Segment ของฐานขอมูลในสวนของช่ือ Segment และ Description ของแตละ segment * ควรตั้งช่ือใหสื่อความหมายของ Class * เสร็จแลวใหกด Save เม่ือเสร็จ 1 Graphic Plane จนครบทุก Graphic Plane สวนของ training area จะอยูใน สวนของภาพ สามารถตรวจสอบไดโดยเลือกที่ ImageWorks --> File --> Utility

จะปรากฎ dialog box ของ file utility ดังรูป

ใหเลือกไปที่ เคร่ืองหมายบวก ที่คําสั่ง Bitmaps เพื่อดูรายละเอียดดังรูป

จะไดดังรูป

ถาตองการลบ Bitmap หรือ training area ใด ใหเลือก ที่ Layer นั้น แลวเลือกคําสั่ง Edit --> Delete layer

======================================================== 2. การตรวจสอบ Histogram ของประเภทขอมูล Bitmap ======================================================== การตรวจสอบ Histogram ของประเภทขอมูลวามีการกระจายแบบ normal distribution (การกระจายขอมูลที่ดี หรือไม?) ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Kernel รายละเอียดคําสั่ง Histogram Image ช่ือคําสั่ง HIS

ใหทําการเลือก parameter ดังรูปขางลาง

FILE ช่ือฐานขอมูลที่เก็บ Training Area ที่จะใชตรวจคา Histogram DBIC ช่ือ Channel ที่จะใชในการวิเคราะห Histogram ขอมูล MASK Bitmap หรือ Training area ที่จะใชทําการวิเคราะห Histogram จะตองใชเพียงคร้ังละ 1 class เทานั้น ถาจะทําแตละ class ก็เพียงเปลี่ยน channel ในชองนีเ้ทานั้น

สวนอื่นเปน default หรือคาเร่ิมตนของเคร่ืองได ถาตองการตรวจสอบสถานะใหกดปุม STATUS เม่ือเสร็จก็ใหกดปุม RUN ที่ตองการประมวลผล จะไดผลลัพธ

ใหลองเปลี่ยน MASK เปน channel อื่นๆ เพื่อตรวจสอบคาสถิติแตละประเภท ตรวจสอบเบื้องตนวามีการกระจายขอมูลแบบ Normal Distribution หรือไม? ======================================================== ======================================================== 3. การสราง Signature เพื่อเตรียม Training Area ที่จะใชทํางาน Classify ======================================================== จากคําสั่งในการ Draw Graphic แลว ในการที่จะนํา Training area ที่ไดไปใชในกระบวนการ Classification ผูใชจะตองทําการนําขอมูล Bitmap (ที่ไดจากการ Save ขอมูล Graphic Plane) ที่ไดมาทําการสราง Signature ใหกับขอมูลกอนที่จะทําการสราง Signature ผูใชตองตรวจสอบความถูกตองของขอมูลไว โดยนํา Training area มาแสดงในรูปของ Graphic ซึ่งดูไดจาก Histogram โดยการกําหนด Paramater เปน Bitmap ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง Signature Generate ช่ือคําสั่ง CSG

พารามิเตอรที่สําคัญ = คา THRESHOLD (SD) = คา VALUE (คา DN ของประเภทขอมูลตางๆ ) เลือกคําสั่ง จาก XPACE

เลือกที่ Multispectral Analysis และ CSG

จะปรากฎ Dialog Box ดังรูป

โดยใหกําหนด parameter ดังรูปบน โดยมีรายละเอียดคือ FILE ช่ือฐานขอมูลที่เก็บ Training Area ที่จะใชสราง Signature DBIC ช่ือ Channel ที่จะใชในการ classify ขอมูล การสราง Signature จําเปนตอง ใช Channel เดียวกันกับ Channel ที่ใชทําการ Unsupervised Classify MASK Bitmap หรือ Training area ที่จะใชทําการสราง Signature จะตองใชเพียงคร้ังละ 1 class เทานั้น

VOLU คาที่จะใชแทนขอมูลสามารถใหคาไดเปนจํานวนเต็มตั้งแต 1-255 ซึ่งคานี้เม่ือทําการ Classify ขอมูล ไดผลลัพธแลวจะเปนคา Class ตอไปTHRS เปนคาที่จะใช Gaussian ขอมูล BIAS เปนคาอางอิงที่จะใชในการอางอิง เม่ือทําการ classify ขอมูลแลวเกิดการ Overlab ของขอมูลในแตละ class REPORT ตําแหนงที่จะใชแสดงผลลัพธ (คาทางสถิติ) เม่ือลองกดปุม Status เพื่อตรวจสอบสถานะขอมูล ไดผลดังนี ้

แลวกดปุม RUN เพื่อประมวลผล เม่ือเสร็จ 1 class ก็ใหทําครบทุก Class ที่ไดจัดทําไว *** ปกติที่ Class ใดเปน Class เดียวกัน ใหเราใหคา VOLU เปนคาเดียวกันได *** เหมือนเปนการ Merge ขอมูลได หลังการวิเคราะหในขั้นถัดไป สวนของ training area ที่อยูในรูปแบบ Signature สามารถตรวจสอบไดโดยเลือกที่ ImageWorks --> File --> Utility

จะปรากฎ dialog box ของ file utility ดังรูป

ใหเลือกไปที่ เคร่ืองหมายบวก ที่คําสั่ง Signatures เพื่อดูรายละเอียดดังรูป

ไดผลลัพธดังรูป

======================================================== ======================================================== 4. การตรวจสอบความแยกจากกันของ Training area ======================================================== เปนการตรวจสอบพื้นที่ตัวอยางวามีความถูกตองหรือเหลื่อมกัน เชน ทดสอบความแยกจากกันในแตละประเภทขอมูล โดยใช Signature ที่ไดจัดทําไวแลว ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง Signature Separability ช่ือคําสั่ง SIGSEP เงื่อนไขในการพิจารณามีดังนี้ ประเภทขอมูลแยกจากกันมากที่สุด = 2 ประเภทขอมูลแยกจากกันไดดี = 1.9-2 ประเภทขอมูลแยกจากกันไมคอยดี = 1.0-1.8 ประเภทขอมูลแยกจากกันไมดี = < 1.0

โดยสามารถเลือก parameter ดังนี้ FILE ช่ือไฟลขอมูลที่จัดเก็บ Signature ของประเภทขอมูลการใชที่ดิน SEPME การจัดความแยกออกจากกัน โดยเลือก TD/BD EASI>SEPME="TD" | Transformed Divergence EASI>SEPME="BD" | Bhattacharrya or Jeffries-Matusita Distance DSIG เลือก Segment ของ Signature ที่จัดเก็บไวในฐานขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะห

SEPTHRES Separability Threshold REPORT Report Mode: TERM/OFF/filename โดยกําหนดดังนี้ตามความตองการ EASI>REPORT="TERM" | generates reports on your terminal EASI>REPORT="DISK" | generates reports on file "IMPRPT.LST" EASI>REPORT="OFF" | cancels report generation EASI>REPORT= | defaults to terminal output เม่ือตองการประมวลผลกดปุม RUN

จากที่เห็นพบวา ในกรณีที่ขอมูล Signature Segment มากจะอานไมได อาจใชวิธีการบันทึกลง DISK

เม่ือกดปุม RUN ขอมูลช่ือ "IMPRPT.LST" จะถูกนําไปเก็บไวใน DIRECTORY ที่มีโปรแกรม หรือ DEFAULT อาจใช Find ขอมูลชวยดังรูป

แลวเปดดวยโปรแกรม NotePad อานไดดังรูป

DISCUSS ตรวจสอบจาก SIGSEP ใหความถูกตองมากนอยแคไหน ======================================================== ======================================================== 5. การทํา Supervised Classification ======================================================== นําคาสถิติที่ไดจากการตรวจสอบ Histogram มาทําการจําแนกโดยใชกฎการตัดสินใจ ซึ่งมีหลายวิธี เชน MINIMUM DISTANCE, PARALLEPPIPED และ MAXIMUM LIKELIHOOD ช่ือแฟมขอมูล GBPK.PIX ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง MINIMUM DISTANCE ช่ือคําสั่ง MINDIS การ classify แบบ Supervised Classification แบบ MAXIMUM LIKELIHOOD ======================================================== ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง MAXIMUM LIKELIHOOD ช่ือคําสั่ง MLC *** กอนการทําขั้นตอนนี้จะตองตรวจสอบดูวา มี Channel วางเปลาไวสําหรับเก็บผลลัพธการวิเคราะหหรือไม? *** ถาไมมีใหจัดสราง Add Channel ขึ้นมา ซึ่งเคยกลาวถึงไวในบทตนๆ แลว

1. เลือกเมนูหลัก XPACE คลิกที่ คําสั่งชุด Multispectral Analsis เลือกที่คําสั่ง MLC 2. ทําการปอนเงื่อนไขไปที่ parameter ของแตละตัว parameter ของคําสั่ง MLC ประกอบดวย FILE ฐานขอมูลที่เก็บขอมูลที่จะใชในการ classify MAXL ชนิดของการ Classify

"PARA" | parallelepiped classification "FULL" | full maximum likelihood (Gaussian) classification. "TIES" | parallelepiped classification with maximum likelihood tie resolution ในกรณีนี้เลือกแบบ full DBS1 Segment ที่เก็บ Signature ที่จะใชในการ Classify DBOC Channel ที่จะใชเก็บผลลัพธของการ Classify MASK ในกรณีที่ตองการวิเคราะห classify เฉพาะบางพื้นที่ REPORT Report mode: TERM/OFF/filename

สามารถตรวจดูเงื่อนไขแตละตัว คลิกที่ STATUS 3. ทําการ RUN เพื่อประมวลผลขอมูล เลือกคําสั่ง ImageWorks

เปดแฟมขอมูลที่ตองการแสดงผลการวิเคราะห SUPERVISED CLASSIFICATION แลวกดปุม ACCEPT

ทําการ Load ภาพการวิเคราะหขี้นมา โดยเลือกเมนู file --> load image...

เลือก Band ตางๆ ใสเขาไปใน Channel ตางๆ ที่ตองการ โดยเฉพาะ SUPERVISE ใน channel 10 ถูกใสในเบอร 8 กดปุม Load แลวตามดวย Close

ในสวนของ control panel เลือก imagery เปน PC และชองเบอร 8

เลือกปุม Edit PCT.. ปรับแตงขอมูลสีโดยกดปุม RANDOM แลวปรับแตงคาตามจํานวน Class ของเรา

ผลลัพธ Supervised Classification ดวย MAXIMUM LIKELIHOOD ที่ไดใหเปดดวยโปรแกรม ImageWorks ไดผลลัพธดังนี ้

DISCUSS ผลการจําแนกทั้ง 2 วิธี แตกตางอยางไร (เปรียบเทียบ) รวมทั้งเวลาในการ process Maximum Likelihood จะใชเวลาในการ process มากกวา Minimum Distance แบบฝกหัดที่ 16 การปรับแตงผลการจําแนก / Post Classification วัตถุประสงค ผลการจําแนกมักมีจุดภาพใกลเคียงกัน หรือกลุมจุดภาพเล็กๆ กระจัดกระจาย จึงมักทําการปรับแตง ผลการจําแนกใหมีความสมบูรณขึ้น โดยใช SIEVE analysis ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Image Processing รายละเอียดคําสั่ง Sieve Filter ช่ือคําสั่ง SIEVE วิธีการดําเนินการ 1. เลือกที่ปุม XPACE ดังรูป เพื่อเรียกเคร่ืองมือสําหรับการวิเคราะห Sieve

2. ในสวนของ Packages เลือกที่คําสัง่ Image Processing ในสวนของ Tasks เลือกที่คําสั่ง SIEVE Sieve Filter ดังรูป

3. จะได Dialog Box เพื่อใหผูใชกําหนดเงื่อนไขดังรูป

โดยกําหนด Parameter ของคําสั่ง SIEVE ดังตอไปนี ้

FILE ช่ือฐานขอมูลที่เก็บขอมูลที่จะทําการวิเคราะห SIEVE DBIC channel ที่จะทําการ SIEVE DBOC channel ที่จะใชเก็บผลลัพธของการ SIEVE STHRESH ขนาดของโพลีกอนที่เล็กที่สุดที่จะถูก merge กับประเภทขอมูลรอบขาง โดยผูใชตองกําหนดคา threshold KEEPVALU คาของ pixel หรือ class ที่ไมตองการทําการวิเคราะห CONNECT การกําหนดคาโพลีกอนที่ตอเนื่อง ซึ่งสามารถกําหนดวาเปน 4 หรือ 8 pixel ที่ลอมรอบ 4. เม่ือเลือก parameter เสร็จใหกดปุม RUN เพื่อประมวลผลขอมูล SIEVE 5. หลังจากประมวลผลเสร็จเคร่ืองจะบอกระดับการประมวลผล 100% ดังรูป

6. Load ผลการจําแนกและตรวจสอบผลการจําแนก (ผลการจําแนกจะเปนภาพขาว-ดํา ที่มีจํานวนคา DN เทากับ จํานวนประเภทขอมูลที่ทําการจําแนก) 6.1 โดยเลือกคําสั่ง File --> Load Image...

6.2 จะปรากฎ dialog box ใหเลือก channel ที่เก็บขอมูลผลลัพธของ SIEVE ไวใน ชองสีที่ 1 ดังรูป แลวกดปุม Load&Close

6.3 จะไดผลลัพธแผนที่ที่ยังไมไดปรับ คาสีดังรูป

6.4 ทําการ Edit PCT (Pseudo color) โดยสามารถเลือกที่ปุม Edit PCT

หรือ เลือกที่เมนู Edit --> PCT...

จะไดตาราง Table PCT Editing ดังรูป

จากนั้นใหกดปุม Random ซึ่งจะเปนการปรับสีโดยอัตโนมัติ โดยสุมดังรูป

6.5 ผลลัพธสุดทายจะไดภาพดังรูป

6.6 ถาพอใจผลลัพธใหบันทึกคา PCT ที่ไดโดยใช File --> Save PCT... แตถายังไมพอใจสามารถเขาไปปรับคาสีได จนพอใจแลวทําการบันทึก

============================================================ การรายงานผลลัพธเชิงสถิต ิ============================================================ ช่ือแฟม : GBPK.PIX ช่ือเมนู XPACE ช่ือชุด Multispectral Analysis รายละเอียดคําสั่ง Classifier Report ช่ือคําสั่ง MLR หรือ * ใหเลือกทีค่ําสั่ง XPACE

* เลือกเมนู Utilities * เลือกเมนูยอย Locate Tasks...

* พิมพ MLR

โดยกําหนด parameter ดังตอไปนี ้FILE เลือกไฟลขอมูลที่เกบ็ผลลัพธที่ตองการ UNITS เลือกหนวยผลลัพธ เชน KILO DBIC เลือก Channel ที่เก็บฐานขอมูล Supervised Classification DBSI เลือก Training area

กดปุม RUN

Discuss ผลจากการทําการวิเคราะห SIEVE ผลลัพธฐานขอมูลกอนการทํา SIEVE Analysis Seg Name Class Pixels Sq. Kilometres %Image 9 BPKwt4 1 75417 47.14 7.54 11 BPK_Shr2 2 139785 87.37 13.98

22 BPKrice4 3 357366 223.35 35.74 23 BPKmangr 4 32704 20.44 3.27 24 BPKSOIL 5 3225 2.02 0.32 25 BPKfishp 6 120433 75.27 12.04 26 BPKBDG 7 51452 32.16 5.15 27 BPKgrass 8 18046 11.28 1.80 28 BPKgolf 9 124922 78.08 12.49 Null 0 76650 47.91 7.66 ---------- ------------- ------ Image total 1000000 625.00 100.00 ผลลัพธฐานขอมูลหลังการทํา SIEVE Analysis ขั้นอตนการ Post Classification หลังการทํา Sieve แบบ 8-connected Seg Name Class Pixels Sq. Kilometres %Image 9 BPKwt4 1 78902 49.31 7.89 11 BPK_Shr2 2 152748 95.47 15.27 22 BPKrice4 3 440141 275.09 44.01 23 BPKmangr 4 25816 16.14 2.58 24 BPKSOIL 5 2804 1.75 0.28 25 BPKfishp 6 117803 73.63 11.78 26 BPKBDG 7 46071 28.79 4.61 27 BPKgrass 8 10522 6.58 1.05 28 BPKgolf 9 90449 56.53 9.04 Null 0 34744 21.72 3.47 ---------- ------------- ------ Image total 1000000 625.00 100.00 โดยสรุปจากการใช visual ในการมองภาพโดยรวมของขอมูลกอนการทํา Sieve และหลังการทํา Sieve พบวาขอมูลคอนขางมี noise หรือ pixel ที่เปน salt and paper ลดลง จํานวนมาก โดย pixel เล็กๆ เหลานั้นถูกนําไปรวมกับ Class ที่มีพื้นที่ตอเนื่องกันจํานวนมากกวา หรือ Dominant

Recommended