ความงามกับภาษา ม. ๔ ...

Preview:

Citation preview

ว ิชา ภาษาไทย รหัส ท๓๑๑๐๑ ท๓๑๑๐๒

ชั้นม ัธยมศึกษาปีท ี่ ๔ ชั้นม ัธยมศึกษาปีท ี่ ๔

ความหมาย

สทัพจน์ อ ุปมา

อติพจน์

คำาพอ้งเสยีง คำาซ ำ้า บคุคลวตั

อวพจน์ ปฏพิจน์ อุปลกัษณ์

อัพภาส

ตัวอย ่างอพัภาส

เล ่นวรรณยุกต ์ สญัลกัษณ์

อ ุปมานิท ัศน ์ สมัผสั

นามนัย

ไวพจน์

ตัวอยา่งไวพจน์

ถ้อยคำาในภาษาที่กว ีถ ้อยค ำาในภาษาที่กว ี ใช้เร ียบเร ียงวรรณกรรม ใช้เร ียบเร ียงวรรณกรรม ทั้งร ้อยแก้วและร ้อยกรอง ทั้งร ้อยแก้วและร ้อยกรอง

ให้เก ิดความไพเราะ ให้เก ิดความไพเราะ ประทับใจ เก ิดความร ู้ส ึก ประทับใจ เก ิดความร ู้ส ึก

อารมณ์ บางคร ั้งอาจใช้ อารมณ์ บางคร ั้งอาจใช้ภาษาที่แปลกออกไปจากภาษาที่แปลกออกไปจาก

ภาษาปกติ เร ียกว ่า ภาษาปกติ เร ียกว ่า การการใช้โวหารใช้โวหาร

ความหมายความหมาย

คำาไวพจน์ค ำาไวพจน์

หมายถึง คำาท ี่เข ียนต ่างก ัน แต ่ความ หมายเหมอืนกัน น ำามาใช้

ในการแต่งบทประพันธบ์ทเด ียวก ัน เชน่ มา้ - พาชี อาชา สนิธพ มโนมยั เด ิน - จรล ี จร ัล จรก คลา ดำาเนนิ

ยุรยาตร ทองค ำา - กนก กาญจน์ จาร ุ จม ี

กร มาศ สพุรรณ สวุรรณ อุไร เหม หาดก

ดอกไม้ - บปุผา บษุบา บษุบง บหุงา บหุง ัน ผกา

มาล ี มาลย ์

ตัวอย ่างไวพจน์ต ัวอย ่างไวพจน์

แล้วให้ผ ูกสนิธพอาชา คอยท่าร ับเสด ็จผายผนั

พร ั่งพร ้อมพหลพลนิกาย ตัวนายตรวจตราในราตร ี

( อิเหนา : พระบาทสมเดจ็พระพุทธเล ิศหล้านภาลัย)

นำาค ำา สินธพ อาชา ซึ่งม ีความ หมายว ่า ม ้า มาแตง่

สัทพจน์ส ัทพจน์

หมายถึง การเล ียนเสยีงธรรมชาติ กว ีใช ้ คำาเล ียนเสยีงธรรมชาติ ท ำาให ้เสยีง

ไพเราะเก ิดจ ินตภาพได้ชดัเจน เก ิดความร ู้สกึ คล้อยตาม เชน่

เก ือบร ุ่งฝ ูงช ้างแซ่ แปร ๋แปร ๋น

กรวดป่ามาแกร ๋นแกร ๋น เกร ิ่นหยา้น

ฮมูฮมูอ ู่มอ ึงแสน สนั่นรอบขอบแฮ

คกึคกึท ึกเสทอืนสะท้าน ถิ่นไม ้ไพรพรม

โคลงนริาศสุพรรณ : สุนทรภู่กวีใช ้ค ำาเล ียนเสยีงของช้างในคำาแปร ๋

แปร ๋น แกร ๋นแกร ๋น ฮ ูมฮมู

อัพภาส หมายถงึ การกร ่อนเส ียงค ำา

ซ ำ้าในงานประพันธ ์ เร ื่อยเร ื่อย -- ระเร ื่อย แจ้วแจ ้ว -- จะแจ ้ว ครืนคร ืน -- คระคร ืน

ตัวอย ่างต ัวอย ่างอ ัพภาสอ ัพภาส

ร ่า ยร ่า ย ขึ้นช ้างไปผะผ้าย มาคะคล้ายโดย ทาง ถับถ ึงทางจรอกปู่

หมอเฒ่าอย ูแ่ลเห ็น แสร ้งแปรเปน็ โฉมมลาก เป ็นบ ่าวภาคยบ์ ่าวงาม

สองถึงถามหาปู่ ป ู่ห ัวอย ู่ยะแยม้ ค ่อย ว ่าสองแสล้ม มาแต่ด ้าวแดนใด

ลิล ิตพระลอ

คำา ผะผ้าย คะคล้าย ยะ แย้ม เป ็นอ ัพภาส

อปุมาอปุมา

คอืการเปร ียบเท ียบว ่าส ิ่งหนึ่ง

เหมอืนกับส ิง่หน ึ่ง โดยใช้ คำาว ่า เหม ือน เสม ือน ดุจ ประดจุ ด ั่ง

ปนู เพ ียง เพ ี้ยง ราว เฉกออกจากคลองขุดข ้าม

ครรไลเร ือว ิ่งอกว ้าใจ

หวาดขวำ้าเด ็ดแดดั่งเด ็ดใย บวัแบง่

มาแม่จากแต่อกใจปลำ้า เปล ี่ยน

ไว ้ในนางฯ โคลงนิราศนรินทร ์ : นาย

นรินทรธิเบศร ์ (อิน)

อุปล ักษณ์อ ุปล ักษณ์

คอืการเปร ียบเท ียบส ิง่หน ึง่ เปน็อกีส ิง่ หนึง่ กว ีจะใช้

การเปร ียบเท ียบโดยตรง นำาเสนอลักษณะเด ่นของส ิง่ท ี่ต ้องการเปร ียบเท ียบมากล่าว

ทันทีโดยไมม่คี ำาเช ือ่มโยง บางคร ั้งอาจใช้ คำาว ่า เปน็ และ คอื เช ือ่มโยงก ็ได ้ เชน่

ถ้าเราม ีนาวาทิพย ์ท ำาด ้วยมกุดา ม ี ความปรารถนาเปน็ใบ

มีความอ ำาเภอใจเป ็นหางเส ือ กามนิต : – เสถ ียรโกเศศ นาคะ

ประทีป กวีเปร ียบความปรารถนากับใบเร ือ และ

ความอ ำาเภอใจกับ หางเสอืเร ือ โดยใชค้ ำาว ่า เปน็เปน็ค ำาเช ือ่ม

บุคลาธ ิษฐาน หร ือ บ ุคคลว ัต บุคลาธ ิษฐาน หร ือ บ ุคคลว ัต หรือ บ ุคคลสมมตุ ิ หรือ บ ุคคลสมมตุ ิ

คอืการสมมุต ิส ิ่งต ่างๆ ที่ไม ่ใช ่มน ุษย ์ ให้ม ีก ิร ิยาอาการ ความร ู้สกึเหม ือน

มนุษย ์ เช ่นบรรจถรณ์หมอนม่านมุ้ง เต ียงสมร

เต ียงช่วยเต ือนนุชนอน แท่นน้อง

ฉ ุกโฉมแม่จ ักจร จากม่านมาแฮ

ม่านอยา่เบกิบ ังห ้อง ห ับให้คอยหน

โคลง นริาศนรินทร ์ : นายนริ นทรธิเบศร ์ (อิน)

เต ียงช่วยเต ือนนุชนอน เปน็บ ุคคลสมมุต ิ

อติพจน์อต ิพจน์, , อธิพจน์อธ ิพจน์

คอืการกล ่าวเก ินจร ิง เพ ื่อให ้ ถ้อยค ำากระทบอารมณ์

ของผู้อ ่านให้ม ีความร ู้สกึเพ ิ่มข ึ้นเช ่น เอ ียงอกเทออกอ้าง

อวดองค์ อรเอยเมร ุช ุบสม ุทรด ินลง

เลขแต้มอากาศจักจารผจง

จาร ึก พอ่ฤๅโฉมแม่หยาดฟ้าแยม้

อย ูร่ ้อนฤๅเห ็นโคลง นริาศนรินทร ์ : นายนริ

นทรธิเบศร ์ (อิน)

การใช้ค ำา เอ ียงอกเท แทนสิ่งท ี่อย ู่ในใจ ใชเ้ขาพระสเุมร ุช ุบน ำ้าและด ินแทนปากกา

เข ียนข้อความในอากาศ ซึ่งล ้วนเปน็ล ักษณะที่เก ินความจร ิง

อวพจน์อวพจน์ คือการกล่าวน้อยกว่าความเป็นคือการกล่าวน้อยกว่าความเป็น

จริง เช่นจริง เช่นคอยสักอึดใจเดียวคอยสักอึดใจเดียวมทีองเท่าหนวดกุ้ง นอนมทีองเท่าหนวดกุ้ง นอน

สะดุ้งจนเรือนไหวสะดุ้งจนเรือนไหว

นอนสะดุ้งจนเรือนไหว เป็นอวนอนสะดุ้งจนเรือนไหว เป็นอวพจน์พจน์

นามนัยนามนัย

คอืการนำาคณุสมบตั ิท ี่เดน่ของส ิ่งหนึ่งมากล ่าวแทนการเอ ่ยช ื่อ

ของส ิง่น ั้นๆท ั้งหมดนายกร ัฐมนตร ีม ัวแต ่ห ่วงเก ้าอ ี้ จึง

ไมย่อมวางแผนใหม่ท ี่เส ีย่งต ่อความผิดพลาด ... ว ่านครามินทร ์ ผล ัดแผ่นด ินเปล ี่ยน

ราช เยยีวว ิวาทชงิฉ ัตร...เก ้าอ ี้ หมายถึง ต ำาแหน่ง

อำานาจ หน้าท ี่ฉ ัตร หมายถึง ความเปน็กษัตร ิย ์

แผ่นด ิน ประเทศ ทรัพยส์มบ ัต ิ

สัญลักษณ์ส ัญลักษณ์

คอืการใชส้ ิ่งหนึ่งแทนอีกส ิง่หน ึ่งท ี่ม ีคณุสมบตั ิหร ือล ักษณะภาวะบางอย ่างร ่วมก ัน

ดอกไม้ - ผูห้ญิง ดอกมะล ิ - ความบร ิส ุทธ ิ์ ดอกกุหลาบ - ความร ักของ

หนุ่มสาว กา - คนคด ใจดำา กระต ่าย - คนตำ่าต ้อย เมฆ หมอก - อุปสรรค

ปฏิพากย์ หรอื ปฏิพจน์ ปฏิพากย์ หรอื ปฏิพจน์ คอืการเปรียบเทียบโดยใช้คำาที่มีความหมาย

ตรงกันข้ามกันหรือขัดแย้งกัน นำามาแต่งให้เข้าคู่กันเพื่อให้เกิดความหมายขนานหรือ

เกิดภาพตัดต่อกันที่ก่อให้เกิดความรู้สึกหรือให้จินตภาพที่ชดัเจนขึ้น เช่น

รอยบญุเราร่วมพ้อง พบกันบาปแบง่สองทำาทัน เท่าสร้างเพรงพรากสตัว์จำาผนั พลัดคู ่ เขาฤๅบญุร่วมบาปจำาร้าง นุชร้างเรียม

ไกลโคลงนิราศนรนิทร ์: นายนรินทร์ธเิบศร์

(อนิ)

กวีใช้คำา บญุ และ บาป ที่เป็นคำาที่มีความหมายตรงกันขา้มมาใช้

อุปมานิทศัน ์

คือการใช้เร ื่องราวหร ือน ิทาน

ขนาดสั้นหร ือ ขนาดยาว ประกอบขยายหรือแนะ

โดยนัยให้ผ ู้อ ่านหร ือผ ู้ฟ ังข ้อเข ียนเก ิดความเข ้าใจ

แนวคิดชดัเจนยิ่งข ึ้น เช ่น

เล ่าน ิทานเร ื่องตาบอดคลำาชา้ง

คำำพ ้องเส ียงค ำำพ ้องเส ียง

คอืกำรนำำคำำที่มีเสยีงเดียวกันมำเรียบเรียงหรือร้อยกรอง เข้ำด้วยกัน เช่น บรรลุอำวำสแจ้ง เจ็บกำม

แจ้งจำกจงอำรำม พระรู้เวรำนุเวรตำม ตัดสวำท แล

ฤๅวำนวัดแจ ้งใจชู้ จำกช้ำ

สงวนโฉมโคลง นริำศนรินทร์ : นำยนรินทรธิเบศร์ (อิน)

คำำว่ำ “ ”แจ้ง เป็นคำำพ้องเสียงแต่ละที่จะมีควำมหมำยต่ำงกัน

คำำซ ำ้ำค ำำซ ำ้ำ คอื กำรเล่นคำำเพือ่ทำำให้เกิดควำมรู้สึก

สะเทือนอำรมณ์ เช่นล ับยกัษ์ล ับเยำว์ให้ เรียมหำ แม่

แฮฤๅอสูรพำลพำ แวะเว้นล ับหลังพีล่ับตำ แสนโยชน์รำำลึกล ับนุชเร้น ร่วมรู้ในใจ

โคลง นริำศนรินทร์ : นำยนรินทรธิเบ ศร์ (อิน)

โคลงบทนี้กวีจะเล่นคำำซำ้ำคำำว่ำ “ ”ลับ

เล ่นเส ียงวรรณยุกต ์เล ่นเส ียงวรรณยุกต ์

คอืกำรเล่นคำำด้วยกำรไล่เสยีง วรรณยกุต์ เพื่อให้เกิดควำมไพเรำะ

เพลิดเพลินและเกิดจินตภำพ เช่น

นึกระกำำนำมไม้ แมน่แม ้นทรวงเรียม

เรียมจักแนะนั่นนี้ โน ่นโน ้นแนวพนม

เล ่นเส ียงส ัมผ ัสเล ่นเส ียงส ัมผ ัส คือ กำรเล่นเสียงให้สัมผสัคล้องจองกัน

ในบทประพันธจ์ะเล่นสัมผัสใน ซึ่งเล่นได้ ทั้งสัมผัสอักษรและสมัผัสสระ เช่น

ศรีสิทธิ์พิศำลภพ เลอหล้ำลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ำกว้ำง แผนแผน่ผ้ำงเมืองเมรุฯลฯ

ใดใดโอษฐ์โอ่อ้ำง ตนดีเอำปำกเปน็กวี ขล่อย

คล้อยหำกหำญแต่วำที เฉลย

กล่ำว ไฉนนำดุจหนึ่งแสงหิ่งห้อย ส่องก้น

ตนเอง โคลง นิรำศนรินทร์ : นำยนรินทรธิเบ

ศร์ (อิน)

โคลงบทที่ 2 กร ุงศร ีอย ุธยำ ล่มสลำยไปจำกกำรเส ียกร ุง

แต ่ก ็ม ีเม ืองล ่องลอยมำจำกสวรรค์อ ันม ีพระท ี่น ั่งสถปู

แก้วอ ันสวยงำม ด้วยบ ุญบำรม ีท ี่ส ั่งสมของพระเจ ้ำแผ ่นด ินก ็ได ้ท ำำน ุบ ำำร ุง

ศำสนำให้เจร ิญร ุ่งเร ือง เป ิดทำงให้บ ้ำนเม ืองไปส ู่ควำมดีงำมและย ังฟ ื้นเม ืองให ้ต ื่นจำกกำรหลับใหลหลังจำกกำรเส ียกร ุง

โคลงบทที่ 3 ควำมร ุ่งเร ืองของศำสนำนั้นมมีำกไปทั่วย ิ่งกว ่ำ

แสงอำทิตย ์ ผ ู้คนได้ร ับพระธรรม จำกกำรฟังธรรมอยู่เป ็นประจ ำำ

เจด ีย ์มำกมำยได้ถกูสร ้ำงข ึ้นส ูงตระหง ่ำนฟ้ำยอดเจด ีย ์สวยงำม

ยิ่งกว ่ำแสงนพเก ้ำ เสมอืนเป ็นหลักแห่งโลกและเป ็นท ี่มห ัศจรรย ์แห ่งสรวงสวรรค์

โคลงบทที่ 4 โบสถ์ ว ิหำร ระเบ ียง ธรรมำสน์และศำลำ ต่ำงๆนั้น กว ้ำงใหญ่ขยำยไปถึง

สวรรค์ หอพระไตรปิฎก เส ียง ระฆังในหอระฆังยำมพลบคำ่ำ

และแสงตะเก ียงจำกโคมแก้วอ ันมำกมำยนั้นสำมำรถทำำให ้แสงจ ันทร ์สว ่ำงน ้อยลง

โคลงบทที่ 8 เม ื่อจ ำำตอ้งจำกนำงอ ันเป ็นท ี่ร ักไปด้วยควำมอำล ัยเหมือนกับต ้องปลดิห ัวใจของตนออกไป

กับนำง ถ ้ำหำกว ่ำดวงใจสำมำรถ แบ่งออกได้ก ็จะผ ่ำออกเป ็นสองซีก

ซีกหนึ่งจะเก ็บไว ้ก ับตนเอง แต่อ ีก ซีกหนึ่งจะมองให้นำงร ักษำไว ้

โคลง

บทที่ 10 จะฝำกนำงไว ้ก ับฟำก ฟ้ำหร ือผ ืนด ินด ี เพรำะกล ัวว ่ำ

พระเจ ้ำแผ ่นด ินจะมำลอบ เชยชมนำง จะฝำกนำงไว ้ก ับ

สำยลมช่วยพัดพำนำงบินหนีไป บนฟ้ำ แต ่กก็ล ัวลมพัดท ำำให ้ผ ิว

นำงม ีรอยชำ้ำ

โคลงบทที่ 11 จะฝากนางไว ้ก ับใคร ดี จะฝากนางไว ้ก ับนางอ ุมาหร ือ

ชายาพระนารายณ์ ก ็เกรงว ่าจะเข ้า ใกลช้ ิดนาง พี่ค ิดจนสามโลกจะล ่วง

ล ับไปก็ค ิดได ้ว ่าจะฝากนางไว ้ในใจตนเองดีกว ่าฝากไว ้ก ับคนอื่น

โคลงบทที่ 22 เด ินทางมาโดยทาง นำ้าล ่วงหน้ามาจนถึงต ำาบลบางย ี่เร ือ

ขอให้เร ือแผงช่วยพานางมาด้วย แต่บางย ี่เร ือไม ่ร ับค ำาขอ นำ้าตาพี่จ ึง

ไหลนอง

โคลงบทที่ 37 เด ินทางต ่อไปจนถึง ตำาบลบางพ่อ ซึ่งน ำ้าแห ้งเห ือดจน

มองไม่เห ็น ม ีแต ่บ ่อน ำ้าตาที่คงเตม็ ไปด้วยเล ือด พี่ก ็อยากให้นางผู้ม ี

ความงาม5ประการมาซับน ำ้าตาพี่แล ้วค ่อยจากไป

โคลงบทที่ 41 เห ็นต ้นจากแตกกิ่ง ก้านสล ับก ับตน้ระก ำา ท ำาให ้ชอกชำ้า

ระก ำาใจ ว ่าเคยเป ็นเวรกรรมที่คงเคยทำาก ันมาทำาให ้เราต ้องจากกัน

ไกล ขอให้คร ั้งหน้าเราคงได้อย ู่ด ้วยก ัน

โคลงบทที่ 45 เป ็นการเปร ียบเท ียบ ของหน้านางก ับดวงจ ันทร ์ แต ่ดวง

จันทร ์ม ีรอยตำาหนิเป ็นรอยกระต ่ายแต่ใบหน้าของน้องนางสวยงาม

ไม่ม ีต ำาหนิ ไม ่ม ีส ิ่งใดมาเปร ียบ เท ียบ เพราะหน้าของน้องงามกว ่า

ดวงจ ันทร ์ ย ิ่งมองย ิ่งงามกว ่า นางฟ้า โคลงบทที่ 118 เด ินทางมา

ถึงตระนาวศร ีความโศกเศร ้าก ็ กระหนำ่าซ ำ้าเตมิเข ้ามา ความโศก

เศร ้าท ี่จากนางาไม่ว ่าจะเด ินผ ่าน ทุง่นา ปา่ ท ้องน ำ้า หร ือสถานที่ใด

ไม่ว ่าจะเป ็นทางบกหรือทางนำ้า ก ็สามารถสั่งความไปถึงน ำ้าได ้ตลอด

โคลงบทที่ 122 ไม่ว ่าจะเป ็น พระอ ินทร ์ ผ ู้ม ีพ ันตา ผู้เฝ ้าด ูระว ัง

โลก พระพรหมผู้ม ีส ี่หน ้าแปดหูท ี่ คอยฟังสรรพเส ียงใดๆ หร ือจะเป ็น

พระนารายณ์ท ีบ่รรทมอยู่หลงันาคเม ื่อเราท ัง้สองต ้องพลัดพรากจาก

กัน เราสองคร ำ่าครวญอยู่ซ ำ้าซากแต่เทพพระองคก์ ็ไม ่สนใจ

โคลงบทที่ 139 ในอกของพี่น ั้นม ันเต ็มไปด้วยความร ู้ส ึกท ีอ่ยากจะระบายยออกมาบรรยายให้น ้องได ้

ทราบ ความร ู้ส ึกของพี่น ั้นมากมาย ดังน ั้น พ ี่จ ึงเอาเขาพระสเุมร ุมาเป ็น ปากกา เอามหาสมุทรเป ็นน ำ้าหม ึก

แล ้วเข ียนเปน็ต ัวหนังส ือไนอากาศ เป ็นแผ่นกระดาษ จาร ึกลงไปก็ย ัง

ไม่พอ เพราะความร ู้ส ึกของพี่น ั้นม ี มาก ผู้เลอโฉมลงมาจากฟ้า จะร ับร ู้

ความร ู้สกึในใจของพี่หร ือไม ่

โคลงบทที่ 140 ภูเขาพังทลาย สวรรค์ 6 ชั้น ดวงจ ันทร ์ ดวง อาทิตย ์ จะหายไปจากโลก ความ

ร ักของพี่น ั้นก ็ไม ่หาย ถึงไฟมา ผลาญลา้งทวปีท ัง้ 4 ก็ไม ่สามารถ

ลา้งความอาล ัยของพี่ได ้

โคลงบทที่ 141 พีไ่ด ้คร ำ่าครวญถึงความร ักของพีจ่นส ั่นก ึกก ้องท ัง้

แผ่นด ิน และท้องฟ้า เป ็นข ้อความที่ บรรยายถึงความโศกเศร ้าของพี่

ข ้อความเหล ่าน ั้นขอให้น ้องร ับไว ้ เป ็นต ่างหน้า ให ้น ึกถ ึงอด ีตระหว ่าง

เรา

Recommended