ค่า Gdp ในอาเซียน

Preview:

Citation preview

ค่า GDP ในอาเซียน

Asean GDP

ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย ):ค่า GDP ในอาเซียน

ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) :Asean GDP

ประเภทโครงงาน : สื่อการสอน

ช่ือผู้ท าโครงงาน:1. น.ส.พันธกานต์ สายอุดต๊ะ 2. น.ส พรลภัส เงินแดง

ชื่อที่ปรกึษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์

ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

บทที่ 1 ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

ในปัจจุบันประเทศไทยก าลังเข้าไปสู่สังคมอาเชยีนในปีพุทธศักราช

2559 ประเทศเราก็จะเปิดกว้างและมีการติดต่อลงทุนกับเพือ่น

ต่างชาติในอาเซียนมากขึ้น ดังนั้นผู้ที่ท างานลงทุนกับเพือ่นกลุ่มอาเซียน

จึงจ าเป็นต้องทราบถึงค่า GDPต่างๆของเพื่อนบ้านเพ่ือที่จะได้ใชเ้ป็น

ข้อมูลในการตัดสินใจว่าจะลงทุนกับประเทศใดหรืออาจจะใช้เป็นข้อมูล

ศึกษาของผู้ที่สนใจในหัวข้อนี้ คณะผู้จัดท าโครงงานในหัวข้อประชาคม

อาเซียนนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อคนไทยที่สนใจและต้องการจะศกึษาใน

หัวข้อของโครงงานนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในอนาคตอันไกล้นี้

วัตถุประสงค์

1.เพื่อจัดท าสื่อการเรียนรู้ส าหรับผู้ที่สนใจจะศึกษาประชาคมอาเชียน

2.เป็นการประหยัดการใช้ทรัพยากร

3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของคนที่อยากศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองในเวลา

ว่าง

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจ ากัดของการท าโครงงาน)

ประชาคมอาชียนมีด้วยกันอยู่ 10 ประเทษคือ 1.ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม (Brunei

Darussalam) 2.ประเทศกัมพูชา (Cambodia) 3.ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia)

4.ประเทศลาว (Laos) 5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) 6.ประเทศพม่า (Myanmar)

7.ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines) 8.ประเทศสิงคโปร์ (Singapore) 9.ประเทศ

เวียดนาม (Vietnam) 10.ประเทศไทย (Thailand)

บทที่ 2 ค่า GDP ในอาเซียน

GDP (Gross Domestic Product)

ข้อมูลเบือ้งตน้ของ GDP

GDP คืออะไร?

GDP ย่อมาจาก Gross Domestic Product หรือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน

ประเทศ เป็นตัวเลขทางเศรษฐกิจที่ส าคัญที่สุดตัวหนึ่งที่บ่งบอกถึงมูลค่าของ

สินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทั้งหมดในประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง เช่นหนึ่งปี โดย

การค านวณมูลค่า GDP มีวิธีค านวณหลักๆ ที่นิยมอยู่ 2 วิธีคือ 1) การค านวณ

จากมูลค่าสินค้าและบริการ โดยดูจากฝั่งผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ ซึ่งสินค้าที่ผลิต

และถูกเก็บไว้ในโกดังก็นับใน GDP ด้วยเพราะถือว่า

ผลิตแล้ว หากดจูากรายงานข้างบน จะเห็นวา่มีการพดูถึงมลูคา่ของการผลิตทางอตุสาหกรรม การก่อสร้าง การค้า การขนสง่ รวมไปถงึการบริการโรงแรมและร้านอาหารด้วย ส าหรับวิธีค านวณท่ีนิยมอีกวิธีคือ 2) การค านวณจากมลูคา่สนิค้าท่ีและบริการท่ีถกูซือ้โดยแบง่ตามผู้บริโภค เช่นการบริโภคภาคครัวเรือน ภาครัฐบาล การลงทนุ รวมไปถึงการสง่ออก (บริโภคโดยคนท่ีอยูน่อกประเทศไทย) และเน่ืองจากมลูคา่ GDP ค านวณจาก ปริมาณสินค้าและบริการ x ราคา ท าให้ GDP มีหน่วยเป็นบาท

แตท่ าไม GDP ในข่าวมกัมหีนว่ยเปน็เปอรเ์ซน็ต์?

สิ่งที่น่าสนใจกว่าตัวเลขมูลค่า GDP ก็คืออัตราการเติบโต (หรือหดตัว) ของ

มูลค่า GDP ซึ่งมีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้เพราะอัตราการขยายตัว (หรือ

หดตัว) จะบอกเราว่าคนในประเทศมีรายไดเ้พิ่มขึ้น (หรือลดลง) กว่าปีที่

แล้ว การจ้างงานจะขยายตัว (หรือหดตัว) ซึ่งมีผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

(หรือแย่ลง) ของคนในชาติด้วย คิดง่ายๆ ก็คือถ้าเราผลิตของออกมาขาย

ได้มากกว่าปีทีแ่ล้วความมั่งคั่งของคนในชาติก็น่าจะมากขึ้นกว่าปีที่แล้วด้วย

ท าไมตอ้งมีค าว่า "แท้จรงิ" ?

เวลาอ่านข่าวหรือรายงานภาวะเศรษฐกิจเกี่ยวกับมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

(GDP) เรามักจะเจอกับค าว่า "มูลค่าที่แท้จริง" หรือ "อัตราการขยายตัวที่แท้จริง"

ค าถามก็คือค าว่า "แท้จริง" แปลว่าอะไร? การค านวณอัตราการเติบโตของมูลค่า GDP

หากใช้ราคาสินค้าในแต่ละปีจะท าให้อัตราการเติบโตที่ได้มีการเพิ่มขึ้นตามเงินเฟ้อ และ

อาจไม่สะท้อนถึงปริมาณการผลิตหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นอย่างแท้จริง เรา

เรียกมูลค่า GDP แบบที่ค านวณจากราคาปีปัจจุบันดังกล่าวว่า Nominal GDP แต่ถ้าเรา

ต้องการวัดอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการผลิตหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่

เพิ่มข้ึนอย่างแท้จริงโดยไม่น าผลของเงินเฟ้อเข้ามาเกี่ยวข้อง เราต้องใช้การค านวณแบบ

ราคาคงที่ (โดยประเทศไทยใช้ราคาสินค้าและบริการในปี 1988 เป็นมาตรฐาน) เรา

เรียกมูลค่า GDP ที่ค านวณได้ในแบบราคาคงที่นี้ว่า Real GDP และเนื่องจากเราใช้ราคา

คงที่ ดังนั้นการเติบโตของ GDP ที่ค านวณได้จึงสะท้อนถึงปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น (หรือ

ก็คือกิจกรรมการผลิตเพิ่มข้ึน) และไม่มีผลจากเงินเฟ้อ

ข้อมูลข้างบนทั้งหมด คือรายได้เฉลี่ยต่อหัว หรือ GDP Per Capita นั้นเองซึ่ง

เป็นตัวชีวัดว่าประเทศใหนคนมีเงิน มีก าลังจ่ายเยอะหรือพูดกันง่ายๆคนในประเทส

นั้นรวยเเค่ใหนนัน้เอง ถ้าลองคิดกันเป็นเงินไทยเเล้วนะครับ เม่ือเปรียบเทียบ

ระหว่างประเทศที่ร่ ารวยที่สุดในอาเซียนคือสิงคโปร์ที่คนมีรายได้เฉลี่ยประมาณปีละ

1.52 ล้านบาท กับประเทศที่ยากจนที่สุดในกลุ่มคือพม่าซึ่งประชาชนโดยเฉลี่ยมี

รายได้เพยีงประมาณ 24,000 บาทต่อปีเท่า หรือเทียบได้ว่าโดยเฉลี่ยแล้วคน

สิงคโปร์รวยกว่าคนพม่าโดยเฉลี่ยประมาณ 63 เท่า แน่นอนว่า GDP Per Capita

คงไม่ได้บ่งบอกถึงความสุขในการดาเนินชีวิต เพราะคนรวยไม่จ าเป็นต้องมีความสุข

และคนจนไม่จาเป็นต้องมีแต่ความทุกข์เสมอไปแต่อย่างน้อยที่สุด GDP Per

Capita หรือรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีก็สะท้อนให้เห็นอะไรบางอย่าง เช่น

ความสามารถในการจับจ่าย ความสามารถในการบริโภคเพื่อตอบสนองความ

ต้องการของประชากร และแสดงให้เห็นความแตกต่างกันในระดับการพฒันาการ

ทางเศรษฐกิจได้อย่างแน่นอน

ช่องว่างของระดับการพัฒนาที่แตกต่างกัน มีผลอย่างมากทีท าให้การรวมกลุ่มทาง

เศรษฐกิจเป็นไปได้ด้วยความยากล าบาก เพราะระดับการพัฒนาการเศรษฐกิจที่

แตกต่างกัน ก็มีเป้าหมายในการด าเนินนโยบายทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ความ

ต้องการของผู้คนในสังคมก็แตกต่างกัน ในขณะที่คนในบางประเทศเน้นการด าเนิน

ชีวิตแค่ในมีกินไม่อดตาย แต่บางประเทศผู้คนอาจมีก าลังซื้อมากชนิดเหลือกินเหลือ

ใช้ และช่องว่างน้ีมีแนวโน้มท่ีจะยิ่งกว้างมากยิ่งขึ้น เพราะปัจจัยหลักที่จะท าให้คนลืม

ตาอ้าปากได้คือการลงทุนในการพัฒนาคน แต่แน่นอนว่าประเทศร่ ารวยก็จะยิ่งก้าว

หนีล้ าหน้าประเทศยากจนได้อย่างก้าวกระโดดดว้ยทรัพยากรที่แตกต่างกันอย่าง

มาก

อ้าวเเล้วตอ่มาละนี้คอืมาดู จ านวนคนในวยัตา่งๆแต่ละประเทศกนั ดูสคิรบัวา่

ไทยมศีกัยภาพพรอ้มเเค่ใหนในจ านวนคนที่อยูใ่นวยัเเรงงาน ทัง้เเรงงานไรฝ้มีอื

เเละแรงงานมฝีมีอื

ภาพเศรษฐกิจในกลุ่มอาเซียน

ไทย

เวียดนาม

อินโดนีเซีย

มาเลเซีย

ลาว

พม่า

บรูไน

ฟิลิปปินส์

กัมพชูา

สิงคโปร์

บทที่ 3 วิธีด าเนินการ

ระเบียบวิธทีีใ่ช้ในการศกึษาโครงงาน

ในการศึกษาโครงงานใช้รูปแบบการสารวจสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต

วธิกีารเกบ็รวบรวมข้อมลู

1.รวบรวมข้อมูลของหัวข้อโครงงาน

2.หาข้อมูลที่เกี่ยวขอ้งกับโครงงาน

3.คืบค้น รูปภาพ รายละเอียดของข้อมลูจากอินเทอร์เน็ต

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาหรือเก็บข้อมูล

1.โครงร่างการจัดท าโครงงาน จัดท าโดยการระดมสมองในกลุ่มแล้ว

ก าหนดเป็นรูปแบบส าหรับใช้วางแผนในการจัดท าโครงงาน

2.อินเทอร์เน็ต

งบประมาณ

42 บาท

ขั้นตอนและแผนด าเนินงาน

บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน

จากการที่ได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลค่า GDP ของประเทศต่างๆ

ในกลุ่มอาเซียนท าให้ได้รู้ว่าแต่ละประเทศโดยรวมๆแล้วสถาณการณ์

ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างไรบ้างและสามารถบ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนในประเทศนั้นๆได้ และเรายังสามารถน าข้อมูลที่ได้มา

วิเคราะห์สถาณการณ์ทางเศรษฐกิจในอนาคตได้อีกด้วย

บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลทีค่าดว่าจะไดร้บั

1.สามารถน าสื่อที่จัดท าขึ้นมานี้ น าไปใช้ประโยชน์ได้จริง

2.รู้ค่า GDP ของประเทศในอาเซียน

3.สามารถน าข้อมูลที่ได้นี้ น าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้จริง

4.สามารถใช้ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ดีขึ้น

5.สามารถน าข้อมูลนี้ไปเป็นสื่อการสอนได้จริง

สถานทีด่ าเนินการ

บ้านของนักเรียน

โรงเรียน

ห้องสมุด

กลุม่สาระการเรยีนรูท้ีเ่กี่ยวขอ้ง

1. การงานอาชีพ และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)

2. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

3. ศิลปะ

บรรณานุกรม

http://www.scbeic.com/THA/document/gdp_18082009/

http://board.postjung.com/630820.htmlhttp://plcs-club.com/asean-corner/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4/

Recommended