Pre orientation

Preview:

Citation preview

8 มกราคม 2558

บอกเล่าภาพรวมภาคจิตตะ

ปีการศึกษา 2557

นำเสนอกรรมการวิชาการ 8 ม.ค. 58

พัฒนาครูภาพรวมจิตตะ-และแผนในภาควิมังสา ปีการศึกษา

Technique

Mindset

ทักษะชีวิต

ทักษะการทำงาน

ทักษะความรู้

Behaviour

Capacity

ดอกผล คือ บุคลิกภาพและผลงาน

ฐานใจ ฐานคิด ฐานกาย

พัฒนาตนเอง

สอนวิชา

สอนคน

เป็นส่วนหนึ่งของทีม

สิ่งแวดล้

อม

พัฒนาตนเอง

สอนวิชาสอนคน

เป็นส่วนหนึ่งของทีม

ความรู้ Knowledge

กระบวนการ Process

เจตคติ Attitude

รู้เรื่องที่สอน

การประเมินผล และ การให้ Feedback

Constructionism —>5 Step’s ระบุคำถาม / แสวงหาคำตอบ / สรุปความรู้ / สื่อสารนำเสนอ / ตอบแทนสังคม

BBL : Brain-Based Learning Left vs Right Brain / Beta - Alpha - Theta - Delta

SMART Plan & GROW ME Coaching Mindset & Techniques

Coaching

Learning Style & Bloom Taxonomy

พัฒนาตนเอง

สอนวิชาสอนคน

เป็นส่วนหนึ่งของทีม

Self Esteem

รู้จักนักเรียน

พัฒนาการตามวัย & เด็กที่มีความต้องการพิเศษ

ปัญญา 3 ฐาน : ใจ กาย ความคิด

Positive Discipline & Change I - You Message & Feedback

MI - Multiple Intelligence : พหุปัญญา Enneagram : นพลักษณ์

เรียนรู้ ปลอดภัย

การสื่อสารกับผู้ปกครอง

พัฒนาตนเอง

สอนวิชาสอนคน

เป็นส่วนหนึ่งของทีม CollaborationShare Vision

รู้จักทีม

D I S C Dominant / Influential / Steady / Conscientious

NVC : Nonviolent Communication Effective Listening : Dialogue

U-theory

6 Thinking Hats

KM : Knowledge Management

Team Learning

Communication Skills

พัฒนาตนเอง

สอนวิชาสอนคน

เป็นส่วนหนึ่งของทีม

ฐานใจ กาย

ความคิด

ทักษะ

ความรู้

การทำงาน

ชีวิต

รู้จักตัวเอง

Who am I Johari Window

R P M Result / Purpose / Massive Action Plan

7C’s 7 Habits

Personal Finance

Media Literacy

System Thinking & Problem Solving

RPM Result Process Mass Active Plans20 ตุลาคม 2557

โดย

คุณทวีสิน ฉัตรเฉลิมวิทย์ (SCG)

คุณโยธิน ละมูล (TT&T)

AAR การทำงาน (2)21 ตุลาคม 2557

ร่วมสร้างเป้าหมายและวิธีการ

ด้านการสอนวิชา

ด้านการสอนคน

ด้านความเป็นทีม

ด้านการพัฒนาตนเอง

Coaching & Mentoringโดย

ดร.พิมพันธ์ เตชะคุปต์

ดร.พเยาว์ ยินดีสุข

จากแผน สู่กระบวนการ

พัฒนาภาษาไทยฝากตัวเป็นศิษย์กับ

ผศ.ประเทือง คล้ายสุบรรณ์

สาธิตราชภัฎ อยุธยา

วิธีวิเคราะห์ ESL ของนักเรียนรายบุคคลโดย ดร. ราเชน มีศรี

Positive Changeโดย

ศ.คลีนิค พ.ญ.วินัดดา ปิยะศิลป์ และคณะแพทย์

Positive Change สำหรับครูและบุคลากร

22 และ 24 มกราคม 2558

ด้านผู้ปกครองก่อนปฐมนิเทศ ผู้ปกครองข้ามช่วงชั้น ประถมสู่มัธยม

Positive Parenting สำหรับพ่อแม่

22 และ 24 มกราคม 2558

ก่อนปฐมนิเทศผู้ปกครองข้ามช่วงชั้น ประถมสู่มัธยม

ภาคจิตตะ ปีการศึกษา 2557

ด้านนักเรียนกิจกรรม การเรียนรู้ & ภาคสนาม

กิจกรรมกลุ่มโดย ผศ.วิริยาภรณ์ อุดมระติ

บริหารการเงินอย่างยั่งยืนโดย คุณโอฬาร ภัทรกอบกิตติ์

แชมป์สุดยอดแฟนพันธุ์แท้ตลาดหุ้นไทย 2548

จาก“ช่างโยธา” สู่นักเขียนหนังสือ สุดท้ายพลิกผันเป็น “นักเทคนิค” ปัจจุบันกูรูฟิวเจอร์ส

24-28 พฤศจิกายน 2557

ภาคสนาม มัธยมต้นพี่มัธยมปลายเป็นพี่เลี้ยง

ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรม

แห่งอรุณรุ่ง

กำแพงเพชร สุโขทัย

พิษณุโลก ลพบุรี

ได้เรียนรู้ความสัมพันธ์ของแต่ละอาณาจักร ที่อยู่ในยุคสมัยเดียวกันในบริเวณนี้

ซึ่งแต่ละอาณาจักรก็มีห้วงเวลาของความรุ่งโรจน์และล่มสลาย อันเป็นวิถีแห่งอำนาจและความรุ่งเรืองที่ไม่อยู่กับใครได้นาน

แต่ที่ยังคงอยู่ที่นี่ คือ ผู้คนที่สืบทอดภูมิปัญญา ประเพณี และวัฒนธรรม ต่อๆ กันมาจนทุกวันนี้

ภาพการเรียนรู้

เตรียมภาคสนามอยุธยา (ม.ค.58)

เยือนถิ่นอิสาน (ใต้) สัมผัสความหลากหลายทางวัฒนธรรม

นครราชสีมา

สุรินทร์

ศรีสะเกษ

อุบลราชธานี

บุรีรัมย์

สัมผัสวัฒนธรรมที่หลากหลายใน ASEAN ซึ่งติดต่อไปมาหาสู่กันตั้งแต่ครั้งยังเป็นอาณาจักรโบราณ 

ได้ศึกษาศิลปะและความเชื่อโบราณจากร่องรอยสิ่งก่อสร้างที่ยังหลงเหลืออยู่ 

ได้เห็นวัฒนธรรมอันหลากหลายที่เป็นสิ่งยืนยันว่า เส้นแบ่งเขต "ประเทศ" ที่เพิ่งขีดกันในยุคนี้  

ไม่ได้แบ่งแยกความเป็นเชื้อชาติ เผ่าพันธ์ ของผู้คน ในผืนแผ่นดิน "สุวรรณภูมิ"

ภาพการเรียนรู้

บทเรียน..บทรู้ บนเส้นทางสายตะวันออก

ชลบุรี

ระยอง

จันทบุรี

ตราด

เรียนรู้ความสำคัญของเส้นทางตะวันออก บนมิติเวลาที่แตกต่างกัน จากเส้นทางเดินทัพของพระเจ้าตากฯ มาเป็นเส้นทางการค้ายุคเรือสำเภา

จนถึงการเป็น Eastern Seaboard ในปัจจุบัน

ได้เรียนรู้เศรษฐกิจสีเขียว ใน จ.จันทบุรี   ได้เห็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง

และสัมผัสชีวิตในชุมชนเข้มแข็งที่บ้านเปร็ดใน จ.ตราด

ภาพการเรียนรู้

นักเรียนที่ไม่ไปภาคสนามวัดโพธิ์

วัดอรุณ

พิพิธภัณฑ์ศิลปะ

ถนนพระอาทิตย์

สัมภาษณ์นักท่องเที่ยว (ฝึกใช้ภาษาอังกฤษ)

สมุดภาคสนาม

ค่ายลูกเสือ11-12-13 พฤศจิกายน 2557

ทีมสำรวจค่าย

26 ธันวาคม 2557

งานปีใหม่ ครู & นักเรียนใส่บาตร กีฬา การละเล่น

มหกรรมดนตรี และ ศิลปะ นิทรรศการภาพถ่าย & หนังสั้น12-13 กุมภาพันธ์ 2558

พักเบรคPre-Orientation

เป้าหมายการพัฒนานักเรียนของเพลินพัฒนา

เตรียมรับสถานการณ์โลก

ภายใต้...ความมั่นคงภายใน

สิ่งที่ต้องเรียนรู้ และฝึกฝน

ต้องรู้ ต้องเป็น

ดี เก่ง สุข

Technique

Mindset

ทักษะชีวิต

ทักษะการทำงาน

ทักษะความรู้

Behaviour

Capacity

ดอกผล คือ บุคลิกภาพและผลงาน

ฐานใจ ฐานคิด ฐานกาย

ทักษะชีวิตทักษะการทำงานทักษะความรู้

ต้องพัฒนาบนฐานที่มั่นคง

ฐานใจ

ฐานคิด

ฐานกาย

ปัญญา 3

ฐาน

0-1 2-3 3-6 7-11 12-19 20-25 25-45 45 -….

ความแตกต่างรายบุคคล

ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละสาระวิชา และกิจกรรม

ที่มีความหมาย

ต่อการดำเนินชีวิตในอนาคต

สามารถเรียนต่อในสาขาที่ตนสนใจ และมีศักยภาพเหมาะสมได้

สนุกในวัยอนุบาล

สืบค้นในวัยประถม

ท้าทายศักยภาพในวัยมัธยม

ความแตกต่างประถม - มัธยม

สนุก ชอบได้กำลังใจ คำชม

ถูกกระตุ้นต้องบอกขั้นตอน

ประถม

ไม่เกี่ยงว่าต้องสนุกและชอบเท่านั้น

กล้าลอง กล้าก้าวเดินตั้งเป้าหมายได้เอง

หาวิธี/เรียนรู้ได้เอง

มัธยม

การเรียนการสอน 8 สาระวิชา / กิจกรรมอื่นๆ

ภายในเวลา - นอกเวลา และ วิถีชีวิต

ในบรรยากาศของ “ความปลอดภัย” และ “ได้เรียนรู้”

PBL : Problem-Based Learning พื้นที่และโอกาส

นำทักษะต่างๆ มาใช้แก้โจทย์ปัญหาของตัวเอง

โลกจริง

ครู PLC : Professional Learning Community / LS : Lesson Study

บรรยากาศและความเป็นทีมมัธยม

หลักสูตร แนวทาง สื่อ อุปกรณ์ บรรยากาศในโรงเรียน

ค่ายเตรียมความพร้อม ฐานใจ ฐานคิด ฐานกาย

เตรียมพร้อม : มัธยมต้น

ชั้น 7: ตั้งหลัก...เข้าสู่ก้าวใหม่ของชีวิตฝึกฐานใจ : สัปดาห์แรกของปีการศึกษา

เตรียมพร้อม : มัธยมปลาย

ชั้น 10-12 : ค่ายเรือใบ ฝึก 3 ฐาน : ใจ กาย คิด

วิถีชีวิต : วิธีปฏิบัติ กติกา ระเบียบ วิชาการ : เนื้อหา กระบวนการคิดกิจกรรม : ประสบการณ์พิเศษ

7.45-15.30 น.- กิจกรรมเช้า - วิชาพื้นฐาน- วิชาเพิ่มเติม

หลัง 15.30 น.- ซ่อมเสริม/ส่งเสริม- ชมรม- โครงการต่างๆ - กิจกรรมพิเศษ

จำนวนหน่วยกิต รวม 3 ปี

พื้นฐาน เพิ่มเติม รวม

มัธยมต้น 66 11ไม่น้อยกว่า

77มัธยมปลาย 41 36

วิชาพื้นฐานทุกคนเรียนเหมือนกัน

กลุ่มวิชาเพิ่มเติม

• เกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 และเป็นสิ่งที่ควรรู้

• เพื่อเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย

• เพื่อให้ค้นพบตัวเองมากขึ้น

กลุ่มวิชาเพิ่มเติม• วิทย์ - คณิต

• ศิลปะ - ดนตรี

• สังคม - เศรษฐศาสตร์ - ธุรกิจ

• ภาษาอังกฤษ - ภาษาไทย

• การงานอาชีพ - กีฬา

วิชาเพิ่มเติมเลือกคละวิชาได้ ไม่ต้องเลือกทั้งกลุ่มวิชา

ตัวอย่างวิชาเพิ่มเติม

• ศาสนาเปรียบเทียบ Religions

• จิตวิทยาทั่วไป General Psychology

• การตลาดและโฆษณา Marketing and Advertising

• บัญชีและงบการเงิน

• วิทยาศาสตร์การอาหาร

• กฎหมาย

• วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ โลกและดาราศาสตร์)

• ฯลฯ

วิชาเพิ่มเติม-วิชาเลือกที่มีวิทยากรจากภายนอกอาจจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

ระดับชั้น ชั้น 10 ชั้น 11 ชั้น 12 รวม

ภาคฉันทะ-วิริยะ

จิตตะ-วิมังสา

ฉันทะ-วิริยะ

จิตตะ-วิมังสา

ฉันทะ-วิริยะ

จิตตะ-วิมังสา

วิชาพื้นฐาน 7.5 8.5 7.5 8.5 4.5 4.5 41

วิชาเพิ่มเติม 7-7.5 7.7.5 7-7.5 7.-7.5 6-9ไม่น้อย

กว่า 36

ตารางหน่วยกิตในแต่ละภาค

สำหรับมัธยมปลายมุ่งเรียนวิชาพื้นฐานในชั้น 10

และชั้น 12 จะเก็บทุกวิชาให้เสร็จภายในสิ้นเดือนมกราคม

เพื่อเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย

ทางเลือกสำหรับชั้น 12หลังมกราคม-ปิดเทอม

ทางเลือกของนักเรียนชั้น 12

ลงเรียนวิชาเลือกของนักเรียนมัธยมปลาย

ทบทวนการเรียนตามตารางสอนปกติ

เข้ากิจกรรมเสริม (ตามวาระ)

Self Study

ไปเรียนพิเศษข้างนอก (ต้องมีหนังสือยินยอมจากผู้ปกครอง)

กิจกรรมเสริม

On Demand (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ โลกและดาราศาสตร์)

O-NET คณิตศาสตร์

เชิญวิทยากรมาติววิชาต่างๆ

Land2Learn

English Mate

• เก็บคะแนน • ชิ้นงาน/โครงงาน • การนำเสนอ

สอบกลางภาค

สอบปลายภาค

ซ่อมเสริม

ต้นภาค

ปลายภาค

• เก็บคะแนน • ชิ้นงาน/โครงงาน • การนำเสนอ

ด้านวิชาการ

สัปดาห์ที่ 1

สัปดาห์ที่ 20

สัปดาห์ที่ 21

ชมรมโครงการพิเศษหลัง 15.30 น.

อยู่นอกตารางสอนปกติเลือกตามความสนใจ

ESL

The CEFR is the Common

European Framework of Reference for Languages.

The CEFR is used by organizations all over the world

as a reliable benchmark of language ability.

What is the CEFR?

http://www.cambridgeenglishteacher.org/what_is_this

http://toeic.com.vn/images/CEFR.jpg

PBL : Problem-Based Learning ประถมวางฐาน มัธยมต่อยอด

เชื่อมสู่โลกการงานจริง

PBL : Problem-Based Learning

ให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนรู้ และหาคำตอบ

การบริหารเวลาความรับผิดชอบในการทำงาน

การนำเสนอ

PBL เป็นกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการเรียนรู้

การหาคำตอบ หรือหาทางออกด้วยตนเองในประเด็นปัญหาที่สนใจ หรือได้รับมอบหมาย

ซึ่งจะทำให้มีความเชื่อมั่นตนเองมากขึ้นในการหาคำตอบด้วยตนเองในประเด็นที่อาจจะไม่เคยเรียนมาก่อน และได้มีโอกาสค้นพบตนเองมากขึ้นจากการได้ลงมือทำด้วยตนเอง

ในประเด็นที่หลากหลาย

โดยได้ฝึกฝนพร้อมกันทั้งทักษะการเรียนรู้ ทักษะชีวิต และทักษะการทำงาน

เพื่อนำไปสู่การบ่มเพาะให้มีขีดความสามารถที่จำเป็นสำหรับศควรรษที่ 21

ประถมวางฐาน มัธยมต่อยอด

การเรียนรู้ในประถม

การบ้าน 1

การบ้าน 2

การบ้าน 3

1

เชิงชั้นเรียน

ชช.1 มานุษย์กับโลก, ภูมิฯไทย, จินตทัศน์ ชช.2 มานุษฯ + ธรรมชาติ, จินตทัศน์

2

3

4

5

Pre-Field Trip 6ภาคสนาม

การบ้าน + ภาคสนาม7

8 ประมวลสรุปความรู้ทั้งหมด (เชิงชั้นเรียน)เผยตน /

Symposium เชิงวิชาการ

9 โครงงานสังเคราะห์ต่อยอด

10 โครงงานชื่นใจได้เรียนรู้

มัธยม...จำลอง “โลกของชีวิตจริง” คู่ขนานไปกับ

“โลกของนักเรียน”

เป็นพื้นที่กิจกรรมที่จำลองสถานการณ์

ในโลกแห่งความเป็นจริง

วิชาพื้นฐาน & เพิ่มเติม | ชมรม | กิจกรรมฯ

Week 0 - 1

Week 17-18

มัธยม ปีการศึกษา 2557

การประดิษฐ์ à การงาน / ช่าง

การค้นคว้า à เข้าถึงข้อมูล

การหาทางออก à Critical Thinking

Coaching

เปิดโอกาสเปิดพื้นที่

เปิดโอกาสที่หลากหลายให้นักเรียนได้ค้นพบความชอบ ความถนัด

และความสนใจของตนเองมากขึ้น

ความสนใจของนักเรียนในแต่ละช่วงเวลา

อาจคงที่หรือเปลี่ยนแปลงได้

ตั้งเป้าหมายที่อยากไปให้ถึงด้วยตัวเอง

ได้มีโอกาสคิดและลงมือทำในสิ่งที่ตนเอง

อาจจะไม่มีความรู้มาก่อนเลย

กล้าคิด กล้าทำในการลองผิดถูก

และตัดสินใจทางเลือกต่างๆด้วยตนเอง

มีอิสระในการแก้ไขผลงานตัวเอง

เพื่อให้ออกมาดีที่สุดตามความคิดของตัวเอง

เด็กจะได้ดูผลงานของเพื่อนได้ติชมงานเพื่อน

ให้เพื่อนได้ติชมงานตัวเองเพื่อนำมาแก้ไข

ให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบ

ฝึกทักษะการจัดการชีวิต

และ เวลา

กิจกรรม และ การใช้เวลาของแต่ละคนแต่ละบ้านแตกต่างกัน

การทำโครงงาน PBL : Problem-Based Learning

การศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่

ด้วยตัวของนักเรียนเอง

ทั้งนักเรียนและครูไม่เคยรู้หรือมีประสบการณ์มาก่อน(unknown by all)

วิธีการทางวิทยาศาสตร์มีขั้นตอนดังนี้

• ระบุปัญหา

• ออกแบบการรวบรวมข้อมูล

• ปฏิบัติการรวบรวมข้อมูล

• วิเคราะห์ผลและสื่อความหมายข้อมูล

ประเภทของโครงงาน

• โครงงานสำรวจ (What it is)

• โครงการทดลอง (What it will be)

• โครงงานประดิษฐ์

ระดับการให้คำปรึกษาของครู

1. Guided project

2. Less-guided project

3. Unguided project

ระดับการให้คำปรึกษาสำหรับ PBL ของมัธยม จะมีทั้งระดับ Less-guided project และ Unguided project

เป้าหมายที่ต้องการจากการทำ PBL

• เป็นเจ้าของการเรียนรู้เอง

• พลิกปัญหาเป็นโอกาส

• กล้าทำโจทย์ยาก

• I can do

• เรียนรู้ด้วยตัวเอง ลงมือทำด้วยตนเองมากขึ้น

• พบ ความถนัด ความชอบ และศักยภาพของตนเอง

4 C’s : ทักษะการทำงานที่สำคัญ

• Critical Thinking : การใช้วิจารณญาณ แก้ไขปัญหา

และลงมือทำงานจนจบ

• Collaboration : การทำงานร่วมกับผู้อื่น

• Communication : การสื่อสารและการนำเสนอ

• Creative Thinking : ความคิดสร้างสรรค์

จำนวนโครงงานในแต่ละช่วงชั้น

• มัธยมต้น : ปีละ 2 ชิ้น

• มัธยมปลาย : ปีละ 1 ชิ้น

Coaching แบบ GROW ME

นักเรียนเห็นจุดแข็ง และ จุดอ่อนของตัวเอง

ครูให้กำลังใจ

มุ่งให้ผู้เรียนไปสู่จุดหมายที่วางไว้

และทำให้ดีขึ้นกว่าเมื่อวานนี้

GROW ME 3 ขั้นตอน

ก่อนเริ่ม Goal Reality

Option

What’s Next or Willระหว่างทำ Monitoring

เมื่องานเสร็จ Evaluation

Goal (G) ตั้งเป้าหมาย

• อยากทำอะไรให้สำเร็จ

• นักเรียนให้คุณค่ากับสิ่งใดบ้าง

• ความสำเร็จที่ว่ามีรายละเอียดอย่างไร

• จะรู้ได้อย่างไรว่าประสบความสำเร็จแล้ว

Reality (R) ประเมินสถานการณ์

• อยู่ไหน เมื่อเทียบกับเป้าหมาย

• ทรัพยากร จุดแข็ง ตัวช่วย หรืองบประมาณ

• อะไรเป็นอุปสรรคที่ทำให้ไม่ได้เรียนรู้ หรือไปไม่ถึงระดับที่ต้องการ

• ประสบการณ์ ความลำบาก มีอะไรมาบ้าง

Options(O) ค้นหาทางเลือก

• ตัวเชื่อมความจริงและเป้าหมาย

• มีทางเลือกอะไรอีก

• ประโยชน์และอันตรายที่ต้องระวัง

• ถ้าไม่มีข้อจำกัดจะเลือกทางเลือกไหน เพราะอะไร

Will (W) จากความตั้งใจมาสู่แผนงาน

• จะทำอะไรได้บ้าง เพื่อให้เป้าหมายเป็นจริง

• จะก้าวข้ามอุปสรรคไปได้อย่างไร

• ต้องการการสนับสนุนอะไรบ้าง

• เป้าหมายย่อย และกรอบเวลา เป็นอย่างไร

ขั้นตอนการทำโครงงาน

• การกำหนดหรือเลือกปัญหา

• การออกบูธ

• การบันทึกวิดีโอ

• บทคัดย่อ

การกำหนด หรือ เลือกปัญหา

• ทำตามประเด็นหลักที่กำหนดให้ในแต่ละภาคเรียน

• เลือกปัญหาอิสระที่นักเรียนกำหนดเอง

ประเด็นปัญหาหลัก 4 แบบ

•ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของนักเรียน และเกี่ยวกับปัญหาสถานการณ์โลก

•การสัมภาษณ์อาชีพ

•ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ให้ได้รับความนิยมและมีโอกาสประสบความสำเร็จ

•ผลิตภัณฑ์ที่จะทำให้คุณภาพชีวิตของผู้อื่นให้ดีขึ้น

การออกบูธ และการเยี่ยมชมบูธอื่น

• นำเสนอในรูปแบบการทำงานจริง

• ประสบการณ์จากการตอบคำถามจากผู้เยี่ยมชมบูธ

• ได้เห็นงานที่หลากหลาย

การบันทึกวิดีโอ

• ฝึกการนำเสนอ

• ได้ Portfolio

บทคัดย่อ

• สรุปการเรียนรู้

• วิดีโอแนะนำโครงการฉบับสั้น • นำเสนอในห้องประชุมใหญ่

(โรงเรียนทำฉากและบันทึกวิดีโอให้)

Ann Makosinski อายุ 15 ชนะเลิศปี 2013

Monitoring (M) ติดตามความก้าวหน้า

• หลุดออกจากเป้าหมายทีวางไว้หรือไม่

• งานไปถึงไหน พอใจในความคืบหน้าหรือไม่

• ถึงตรงนี้แล้วได้เรียนรู้อะไรบ้างที่จะทำให้งานดีขึ้น พัฒนาขึ้น หรือมีความสุขมากขึ้น

• แผนขั้นตอนต่อไปคืออะไร อยากปรับเปลี่ยนอะไรหรือไม่

• กรอบเวลาและเป้าหมายย่อยๆที่วางอยู่เหมาะสมหรือไม่

Monitoring (M) ติดตามความก้าวหน้า

บันทึกนักเรียน (ลงสมุดบันทึก) – ได้ทำอะไรไปบ้าง – ความสำเร็จ และอุปสรรคที่พบระหว่างทาง – รู้สึกกับตัวเองอย่างไร – หากเป็นงานกลุ่ม ให้บันทึกเพิ่มเติมดังนี้

•ทีมงานคาดหวังให้นักเรียนทำอะไรตอนนี้ • นักเรียนทำอะไรที่จะช่วยให้งานของทีมสำเร็จ • ปฏิบัติต่อคนอื่นในทีมอย่างไร

การประเมินผล

กระบวนการทำงาน และความรับผิดชอบ 60 %

การใช้ทักษะหลักของศตวรรษที่ 21 => 4 C’s Critical Thinking Collaboration Communication Creative Thinking

30 %

รายงานสรุป 10 %

Critical Thinking

• การวิเคราะห์คำถาม

• การรวบรวมและประมวลข้อมูล

• การใช้หลักฐานและหลักเกณฑ์

Communication

• การอธิบาย ชัดเจน รัดกุม

• ท่าทางในการนำเสนอ

• น้ำเสียง

• ตัวช่วยการนำเสนอ (สื่อ อุปกรณ์ ฯ)

Collaboration

• รับผิดชอบต่อตนเอง

• การช่วยเหลือทีม

• เคารพผู้อื่น (รับฟัง สุภาพ เป็นมิตร ฯ)

• การปฏิบัติตามข้อตกลง

• จัดระเบียบการทำงาน

Creative Thinking

• มองเห็นความต้องการ ใครต้องการ? ทำไม?

• ตั้งคำถามใหม่ หรือใช้มุมมองที่ต่างกันในการอธิบาย

การสร้างแรงจูงใจ

จะมีรางวัลให้กับโครงงานที่ดีเด่นในประเภทต่างๆ โดยแต่ละประเภทมีโครงงานที่ได้รับรางวัลได้หลายชิ้น

ประถมวางฐาน มัธยมต่อยอดเชื่อมสู่โลกการงานจริง

Plearnpattana School

PBL : Problem-Based Learningช่วงชั้นมัธยม ภาคฉันทะ-วิริยะ ปีการศึกษา 2556

ความคิด ความจริงAdversity Quotient : ทักษะความอึดในการรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ

กำลังใจและความเข้าใจของผู้ปกครอง

เป็นปัจจัยสำคัญที่สุด

ความเข้าใจà ความเชื่อมั่นความคาดหวัง à กดดัน

เมื่อนักเรียนก้าวข้ามความกลัวที่จะล้มเหลว

เมื่อเขามี “อิสระ”

“การสร้างสรรค์” จะตามมาครูต้องดูแล “ความเสี่ยง” ด้วย

ภาคสนาม

สอดคล้องกับการเรียนรู้ในชั้นเรียน

ภาคสนามใหญ่ 4 คืน 5 วัน

ปีละ 1 ครั้ง ในเดือนพฤศจิกายน

ภาคสนามเล็ก 1 คืน 2 วัน

ปีละ 1 ครั้ง

ภาคสนามเช้าไป-เย็นกลับ

ตามความเหมาะสม

ภาคสนาม

อัตราส่วนครู : นักเรียน

ประมาณ 1 : 8

โครงการคาราวานครอบครัว

ผจญภัยสู่ดินแดนสุดขอบโลก : แชงกรีลากรุงเทพ-เชียงราย-จีน

เมษายน 2558

ย้อนอดีตเมืองโบราณ มรดกโลกทางวัฒนธรรม

บนเส้นทาง อนาคตการลงทุนไทย-จีน

การดูแลนักเรียนด้านวิถีชีวิต

สื่อสารถึงผู้ปกครองทุก 2 สัปดาห์

ให้ความสำคัญกับความปลอดภัย และ การเรียนรู้

ครู พ่อแม่ที่ปรึกษาด้านพัฒนาการ

ร่วมมือกันพัฒนานักเรียน

เมื่อพบพฤติกรรมน่าเป็นห่วงพูดคุยกับนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง

รับผลตามกติกา

+กิจกรรมพัฒนา

ร่วมกันวางแนวทางความร่วมมือและประชุมติดตามผลเป็นระยะ

คุณครูจัด กิจกรรมเสริม

ครู และ พ่อแม่ร่วมกันพัฒนา

ครู หมอ พ่อแม่ ให้ความช่วยเหลือ

คำถาม

• วิชาบังคับ - วิชาเลือก

• แนวทางการศึกษาระดับมัธยม

• แนวทางการสอน - หลักสูตร

• รูปแบบ PBL และการนำเสนอ

• ประเภทโครงงาน และวิธีปฎิบัติ

คำถาม (ต่อ)

• ESL วิทย์ และ ภาษาที่ 3

• ลูกจะเรียนรู้อะไรบ้าง

• ความปลอดภัยของกิจกรรมนอกสถานที่

• จำนวนครั้งในการออกภาคสนาม

• วิชาการ และ กิจกรรม

โอกาสและพื้นที่ปลอดภัย และ ได้เรียนรู้

โอกาสและพื้นที่ปลอดภัย และ ได้เรียนรู้

“ทุกคนเป็นสิ่งแวดล้อมของกันและกัน”

จัดส่งเอกสารและข้อมูลข่าวสาร เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับปีการศึกษาหน้า

ให้ผู้ปกครองทาง Email ที่แจ้งไว้วันนี้

Recommended