68
รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ รอบปการศึกษา 2553 (ระหวางวันที1 มิถุนายน 2553 ถึงวันที31 พฤษภาคม 2554) 31 พฤษภาคม 2554

รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

Embed Size (px)

DESCRIPTION

รายงานการประเมินตนเองของภาควิชาคณิตศาสตร์ ปี 2553

Citation preview

Page 1: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report)

ภาควิชาคณิตศาสตร

คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

รอบปการศึกษา 2553

(ระหวางวนัที่ 1 มิถุนายน 2553 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554)

31 พฤษภาคม 2554

Page 2: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

คํานํา

ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระ

นครเหนือ มีเปาหมายและความมุงมั่น ท่ีจะผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาบัณฑิตและบณัฑิตศึกษา

ทางดานคณิตศาสตรประยุกตท่ีมีคุณภาพ มีความรูความสามารถทางวิชาการเพียงพอท่ีจะนําไปใชใน

การทํางานในหนวยงานตาง ๆ ของภาครัฐและเอกชนเพื่อพฒันาประเทศชาติ บัณฑิตท่ีจบออกไปจะตอง

มีความรู คูคุณธรรม มีความรับผิดชอบตอสังคม นอกจากน้ีภาควิชาฯ ยังมภีาระงานอื่น ๆ คือ งานบริการ

สอนวิชาคณิตศาสตรใหกับคณะตาง ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ งานวิจัยของบุคลากรในภาควิชาฯ งานบริการ

วิชาการสูสังคม และงานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

เพื่อใหภาระงานทุกดานบรรลุเปาหมาย สวนหน่ึงท่ีตองดําเนินการ คือ การจัดทําระบบประกัน

คุณภาพการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพเปนมาตรฐานสากล ภาควิชาคณิตศาสตร ไดดําเนินการประกัน

คุณภาพโดยใชระบบเดียวกับคณะและมหาวทิยาลัย และไดจัดทํารายงานการประเมินตนเองฉบับน้ีขึ้น

โดยมีวัตถุประสงคของการประเมินดังน้ี

1. เพือ่รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการวิเคราะหการดําเนินงานระหวางวันท่ี 1 มิถุนายน

2553 ถึง 31 พฤษภาคม 2554 ซึ่งประกอบดวย 7 องคประกอบ ดังน้ี

- องคประกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต

- องคประกอบท่ี 3 กจิกรรมการพัฒนาการศึกษา

- องคประกอบท่ี 4 การวจิัย

- องคประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแกสังคม

- องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

- องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไลการประกันคุณภาพการศึกษา

- องคประกอบท่ี 10 อัตลักษณ

2. เพือ่รับการตรวจสอบการดําเนินงานของภาควิชาฯ ตามระบบและกลไกของการประกัน

คุณภาพการศึกษาภายใน

3. เพือ่ใหบุคลากรในภาควิชาฯ ไดทราบถึงผลการดําเนินงานของภาควิชาฯ ในชวงท่ีผานมา

พรอมท้ังไดมีสวนรวมในการปรับปรุงแกไขปญหาและพัฒนา เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายที่ต้ังไว

4. เพือ่ใหคณะไดรับทราบถึงผลการดําเนินงานของภาควิชาฯ ในภาพรวม ตลอดจนถึงปญหา

และอุปสรรค เพื่อรวมกันหาแนวทางแกไขปญหาและสนับสนุนการดําเนินงานของภาควิชาฯ รวมท้ัง

สามารถตรวจสอบคุณภาพการดําเนินงานของภาควิชาฯ ได

(รองศาสตราจารยเสนอ คุณประเสริฐ)

หัวหนาภาควิชาคณิตศาสตร

31 พฤษภาคม 2554

Page 3: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

สารบัญ

หนา

คํานํา ข

สารบัญ ค

สารบัญแผนภูมิ ง

ขอมูลเบื้องตนของสวนงาน 4

ประวัติความเปนมาและสภาพปจจบุัน 5

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถปุระสงค 5

หลักสูตรและสาขาวิชาท่ีเปดสอน 9

คณาจารย/บุคลากร 9

นักศึกษา 10

งบประมาณ 11

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา 11

ผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รอบปการศึกษา 2552 11

จุดแข็ง 15

จุดท่ีควรพัฒนา 15

แนวทางการพัฒนา 15

รายงานผลการดําเนินงานตามองคประกอบ/ตัวบงชี้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 16

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต 17

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 36

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย 42

องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 51

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ 53

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

องคประกอบท่ี 10 อัตลักษณ

56

61

ขอมูลพื้นฐาน 64

Page 4: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

สารบัญแผนภูมิ

หนา

แผนภูมิท่ี 1 แผนภูมิโครงสรางของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 7

แผนภูมิท่ี 2 แผนภูมิการบริหารงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 8

แผนภูมิท่ี 3 โครงสรางการแบงสวนงานภาควิชาคณิตศาสตร 9

Page 5: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

ขอมูลเบื้องตนของภาควิชา

Page 6: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 5 -

ขอมูลเบื้องตนของภาควิชา

ประวัติความเปนมาและสภาพปจจุบนั เดิมภาควิชาคณิตศาสตร สังกัดคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร ต้ังแตป พ.ศ. 2517 และตอมา

ไดเปล่ียนชื่อเปนภาควิชาคณติศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร สังกัดคณะวิทยาศาสตรประยุกต เมื่อ พ.ศ. 2530

โดยภาควิชามภีาระงานในการจัดการศึกษาดานคณิตศาสตรบริการ ใหแกนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรประยุกต คณะ

ครุศาสตรอุตสาหกรรม และคณะวิศวกรรมศาสตร นอกจากน้ียังมีภาระงานในการผลิตบัณฑิตอีก 3 สาขา คือ

สาขาวิชาสถิติประยุกต ซึ่งเร่ิมรับนักศึกษาในป พ.ศ. 2528 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรประยุกตในป พ.ศ. 2530

และคณิตศาสตรประยุกตในป พ.ศ. 2534 ตอมาในแผนพฒันาการศึกษาอุดมศึกษาระยะท่ี 7 สาขาสถิติประยุกตและ

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรประยุกตไดขยายงานไปจัดต้ังเปนภาควิชาสถิติประยุกต และภาควิชาวิทยาการ

คอมพิวเตอรและสารสนเทศตามลําดับ สวนภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอรไดเปล่ียนชื่อเปน

ภาควิชาคณิตศาสตร

ปจจบุันภาควชิาคณิตศาสตรมีภาระงานในการจัดการศึกษาดานคณิตศาสตรบริการใหแกนักศึกษาคณะ

วิทยาศาสตรประยุกต คณะวิศวกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีและจัดการอุตสาหกรรม

และคณะอุตสาหกรรมเกษตร นอกจากน้ียงัมีการผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษาในสาขา

คณิตศาสตรประยุกต

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ปรัชญา

พัฒนาคน พฒันาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ปณิธาน

มุงมั่นท่ีจะพฒันา ทรัพยาการมนุษยใหมีความเปนเลิศทางวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

และวิชาการชั้นสูงท่ีเก่ียวของ ใหมีความรูคูคุณธรรม เพื่อเปนผูพัฒนาคนพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดลอมท่ียั่งยืน

วิสัยทัศน

“เปนเลิศดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิชาการกาวไกล วจิยักาวหนา สูสากล”

พันธกิจ

ดานการผลิตบัณฑิต

ดานการวิจัย

ดานการบริหารจัดการ

ดานบริการวิชาการแกสังคม

ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

Page 7: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 6 -

วัตถุประสงค

ภาควิชาฯ มวีตัถุประสงคท่ีสอดคลองกันพันธกิจของมหาวทิยาลัย ในการผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ

มีคุณธรรมและจริยธรรมท้ังในระดับปริญญาบัณฑิตและบณัฑิตศึกษา ในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตรงตาม

ความตองการของอุตสาหกรรมและการพัฒนาประเทศ การใหบริการวิชาการในรูปแบบตาง ๆ ท่ีเหมาะสม บริการการ

สอนคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปแกนักศึกษาทั้งในคณะและนอกคณะ ดําเนินการวิจัย

พัฒนาองคความรูและประยุกตใชในอุตสาหกรรม พรอมท้ังสงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการทํานุบํารุงศิลประและ

วัฒนธรรมของชาติ

Page 8: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 7 -

แผนภูมิที ่1 แผนภูมิโครงสรางของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 9: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 8 -

แผนภูมิที ่2 แผนภูมิการบริหารงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

สภามหาวิทยาลัย (นายกสภามหาวทิยาลัย)

สภาคณาจารยและพนักงาน

สภาวิชาการ

มหาวิทยาลัย (อธิการบดี)

(รองอธิการบด)ี

กรรมการบริหารงานบุคคล

กรรมการนโยบายและแผน

กรรมการการเงินและทรัพยสิน

สํานักงานคณบดี/

สํานักงานผูอํานวยการ

(หัวหนาสํานักงาน)

คณะ/วท/ บัณฑิตวิทยาลัย

(คณบดี/ผอ.)

คณะกรรมการ

ประจําสํานักงาน

อธิการบดี

สํานักงาน

อธิการบดี (หัวหนาสํานักงาน)

สํานัก (ผูอํานวยการ

สํานัก)

คณะกรรมการ

ประจําสํานัก คณะกรรมการ

ประจําคณะ/วท/ บัณฑิตวิทยาลัย

ภาควิชา/ฝาย/ศูนย

(หัวหนาภาควิชา/หัวหนา

ฝาย/หัวหนาศูนย)

กอง/ศูนย

(ผูอํานวยการกอง/

ผูอํานวยการศูนย)

สํานักงานผูอํานวยการ (หัวหนาสํานักงาน)

ฝาย/ศูนย (หัวหนาฝาย/ หัวหนาศูนย)

Page 10: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 9 -

แผนภูมิที่ 3 โครงสรางการแบงสวนงานภาควิชาคณิตศาสตร

หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน

ภาควิชาคณิตศาสตร จัดการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต และระดับบณัฑิตศึกษา โดยในมีการศึกษา

2553 มีหลักสูตรท่ีเปดสอน 3 หลักสูตร จําแนกตามหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต 2 หลักสูตร และระดับ

บัณฑิตศึกษา 1 หลักสูตร

ระดับ ช่ือหลักสูตร ช่ือปริญญา

ปริญญาบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตรประยุกต)

ปริญญาบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงคอมพิวเตอร วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตรเชิงคอมพิวเตอร)

บัณฑิตศึกษา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (คณิตศาสตรประยุกต)

คณาจารย/บคุลากร

ปการศึกษา 2553 ภาควิชาคณิตศาสตรมีอาจารยประจํารวมท้ังท่ีปฏิบัติงานและลาศึกษาตอจํานวนท้ังหมด

28 คน และมีบคุลากรสายสนับสนุนวิชาการ 3 คน รายละเอียดดังตาราง อาจารย สายสนับสนุนวิชาการ

ปฏิบัติงานจริง ลาศึกษาตอ

เต็มเวลา

รวมทั้งหมด พนักงาน

มหาวิทยาลัย

พนักงาน

พิเศษ

รวม

รวม

22.5 6 28.5 1 2 3 31.5

Page 11: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 10 -

จํานวนอาจารยจําแนกตามวุฒิการศึกษา

จํานวนอาจารย รอยละอาจารย

ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก

1 16 11.5 28.5 3.51 56.14 40.35

จํานวนอาจารยจําแนกตามตําแหนงวิชาการ จํานวนอาจารย(คน) รอยละอาจารย

อ. ผศ. รศ. ศ. รวม อ. ผศ. รศ. ศ.

17.5 4 7 0 28.5 61.40 14.04 24.56 0.00

นักศึกษา ปการศึกษา 2553 มีจํานวนนักศึกษาทุกระดับและทุกชั้นป รวมท้ังส้ิน 388 คน โดยจาํแนกเปนนักศึกษา

ระดับปริญญาบัณฑิต จาํนวน 372 คน และระดับบัณฑิตศึกษา จาํนวน 16 คน รายละเอียดดังตาราง

ระดับ รหัสนักศึกษา

ชั้นป ปกต ิ สมทบ ลาพักการศึกษา

รวม

53 1 59 15 74 ปริญญาตรี (MA) 52 2 53 16 69

51 3 53 41 94

50 4 44 14 58

ตกคาง 10 8 18

53 1 42 17 0 59 ปริญญาตรี (MC)

รวม 261 111 372 ปริญญาโท 53 1 8 8

52 2 2 2

ตกคาง 6 6

รวม 16 0 0 16 รวมทั้งหมด 388

Page 12: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 11 -

งบประมาณ ปงบประมาณ 2553 ภาควิชาคณิตศาสตรไดรับการจัดสรรงบประมาณแผนดินจํานวน 1,237,240.00 บาท

และงบประมาณเงินรายไดจํานวน 4,610,200.00 บาท

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภาควิชาคณิตศาสตร ใหความสําคัญกับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายใหบุคลากรมคีวาม

รับผิดชอบรวมกัน มีแผนการดําเนินงานและดําเนินการจัดทําเอกสารเพื่อเตรียมรับการประเมินจากคณะฯ และนําผล

การประเมินมาปรับปรุงงานประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ ในปการศึกษาตอไป โดย มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จดัตัวเองอยูในกลุมสถาบันเฉพาะทางท่ีเนนการผลิตบัณฑิตระดับ

บัณฑิตศึกษา (ค1)

ผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน รอบปการศึกษา 2552 (การ

ดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพเพื่อรองรับผลการประเมิน และขอเสนอแนะของการประเมินคุณภาพภายใน รอบ

ปท่ีผานมา และผลการพัฒนา)

ดานการผลติบัณฑิต ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนส่ิงอํานวยความสะดวกและบุคลากรท่ีเอื้อตอการพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต และ

มีจํานวนอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกและดํารงตําแหนงทางวิชาการเพิ่มมากขึน้กวาปท่ีผานมา

ดานการวิจัย

คณาจารยในภาควิชาฯ สามารถผลิตผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารระดับชาติและนานาชาติในปริมาณท่ี

เพิ่มขึ้น และยังไดรับเงินสนับสนุนงานวิจัยเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง

ดานการบริการวิชาการแกสงัคม

บุคลากรในภาควิชาฯ มีความกระตือรือรนและมีความพรอมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม

โดยเฉพาะการบริการวิชาการดานการเรียนการสอน

ดานการพัฒนานักศึกษา ภาควิชาฯ มีการสงเสริมกิจกรรมของนักศึกษาท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค ท่ี

ครอบคลุมทุก ๆ ดาน และสนับสนุนส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ ท่ีเอื้อตอการเรียนรูของนักศึกษา

ดานการบริหารและจดัการ ภาควิชาฯ มีการบริหารจัดการท่ีโปรงใส เปดโอกาสใหทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะใน

การบริหารงานของภาควิชา

Page 13: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 12 -

ดานระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ภาควิชาฯ สามารถดําเนินงานตามระบบและกลไกของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในไดอยาง

ครบถวน และเปนไปตามเกณฑท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

Page 14: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 13 -

ตารางที ่1 เปาหมายการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553

องคประกอบ/ตัวบงชี ้เกณฑ

มาตรฐาน เปาหมาย

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ขอ 4 2.2 อาจารยประจาํท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก รอยละ 48 2.3 อาจารยประจาํท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละ 24 2.4 ระบบการพฒันาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ขอ 5 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ขอ 6 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของ

บัณฑิต ขอ 4

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูลขาวสาร ขอ 6 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ขอ 5 องคประกอบที่ 4 การวิจัย 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ขอ 6 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวจิยัหรืองานสรางสรรค ขอ 4 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจํา บาท : คน 108,000

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ขอ 4 องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจดัการ 7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวนงานและผูบริหารทุกระดับของ

สวนงาน ขอ 6

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอ 7 9.20.2 ระบบและกลไกการปรับปรุงตามขอเสนอแนะ ขอ 4 องคประกอบที่ 10 อตัลักษณ 10.30.1 ระบบและกลไลการพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณใหเปนบัณฑิตท่ี

คิดเปน เดนประยุกต ขอ 5

Page 15: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 14 -

ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.) จาํแนกตาม

องคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ ปจจัย

นําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 4.5 - 4.5 ดี

รวม 3.08 3.92 - 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี - ดี

Page 16: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 15 -

ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (รวมตัวบงชี้ทุกประเภท) จําแนกตาม

องคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ ปจจัย

นําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 4.5 - 4.5 ดี

10. อัตลักษณ - - 4 4 ดี

รวม 3.08 3.92 4 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี ดี ดี

จุดแข็ง (ภาพรวม)

ภาควิชาฯ มีการพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานในทุก ๆ องคประกอบใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพมาก

ขึ้น โดยเฉพาะการบริหารและการจัดการในภาควิชา การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และกิจกรรม

การพัฒนานักศึกษา จุดที่ควรพัฒนา (ภาพรวม)

การพัฒนางานวิจัย ท่ีจะสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนและการบรูณาการการวิจัยกับการจัดการเรียนการ

สอน รวมถึงการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใหมกีารใชประโยชนจริง แนวทางการพัฒนา (ภาพรวม)

วางแผนการทําวิจัย และสนับสนุนงานวิจัยท่ีเกิดจากความรวมมอืกันระหวางภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ

ชุมชน ใหมากข้ึน

Page 17: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 16 -

รายงานผลการดําเนินงาน

ตามองคประกอบและตัวบงชี้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Page 18: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 17 -

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทาง

ปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบ

ท่ีกําหนด √

2.1-01 2.1-02 2.1-03 2.1-04

2. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดย

คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกาํหนด √

2.1-03 2.1-05 2.1-06

3. ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ

สําหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพตองไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือ

องคกรวิชาชพีท่ีเก่ียวของดวย

√ 2.1-07

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมกีารดําเนินการไดครบถวนท้ัง

ขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีการประเมิน

หลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลา

ท่ีกําหนดในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรท่ีดําเนินงานตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับให

การดําเนินงานตามตัวบงชีใ้นขอ 3 ผานเกณฑ

การประเมิน 5 ขอแรกและอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงชีท่ี้กําหนดในแต

ละป ทุกหลักสูตร

2.1-03 2.1-08

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมกีารดําเนินการไดครบถวนท้ัง

ขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีการพฒันา

หลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในขอ 4 กรณีหลักสูตรท่ีดําเนินงาน

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดม ศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับ

ใหการดําเนินงานตามตัวบงชีใ้นขอ 3 ผานเกณฑการประเมนิครบทุกตัวบงชี้

และทุกหลักสูตร

2.1-03 2.1-08

6. มีความรวมมอืในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหวางสวนงานกับภาครัฐ

หรือภาคเอกชนท่ีเก่ียวของกับวิชาชีพของหลักสูตร มากกวารอยละ 30 ของ

จํานวนหลักสูตรวิชาชพีท้ังหมดทุกระดับการศึกษา* √ 2.1-09

Page 19: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 18 -

7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะ

แผน ก และปริญญาเอก) มีจาํนวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวนหลักสูตร

ท้ังหมดทุกระดับการศึกษา*

8. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน (ปริญญาโท เฉพาะ

แผน ก และปริญญาเอก) มีจาํนวนนักศึกษาท่ีศึกษาอยูในหลักสูตรมากกวา

รอยละ 30 ของจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา*

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

2 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

3 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป และครบถวน

ตามเกณฑมาตรฐานเพิ่มเติม

เฉพาะกลุม

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนหลักสูตรท่ีเปดสอนท้ังหมด หลักสูตร 3

1.1 ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2

1.2 ระดับปริญญาโท หลักสูตร 1

1.3 ระดับปริญญาเอก หลักสูตร -

2. จํานวนหลักสูตรท่ีมีการดําเนินการเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

และกรอบ TQFหรือเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

หลักสูตร 1

2.1 ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2

2.2 ระดับปริญญาโท หลักสูตร 1

2.3 ระดับปริญญาเอก หลักสูตร -

3. จํานวนหลักสูตรท่ีมีการประเมนิหลักสูตรตามกรอบเวลาท่ีกําหนด หลักสูตร -

3.1 จํานวนหลักสูตรท่ีครบรอบระยะเวลาของหลักสูตร หลักสูตร -

3.2 จํานวนหลักสูตรท่ีมีการประเมนิหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กําหนด หลักสูตร -

4. จํานวนหลักสูตรท่ีดําเนินการตามกรอบ TQF (นับเฉพาะหลักสูตร TQF)

4.1 จํานวนหลักสูตรท้ังหมดท่ีดําเนินการตามกรอบ TQF หลักสูตร 1

4.2 จํานวนหลักสูตรท่ีมีการประเมนิตามตัวบงชี้ของกรอบ TQF หลักสูตร -

4.3 จํานวนหลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบ TQF ท่ีผานเกณฑ

การประเมิน 5 ขอแรก และอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงชีท่ี้กําหนด

หลักสูตร -

Page 20: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 19 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

4.4 จํานวนหลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบ TQF ท่ีผานเกณฑ

การประเมินครบทุกตัวบงชี ้

หลักสูตร -

5. จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพ

5.1 จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพท้ังหมด หลักสูตร 3

5.2 จํานวนหลักสูตรสาขาวิชาชีพท่ีไดรับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือ

องคกรวิชาชพี

หลักสูตร 3

5.3 จํานวนหลักสูตรวิชาชพีท่ีมีความรวมมือในการพัฒนาและบริหาร

หลักสูตรกับภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เก่ียวของกับวิชาชีพ

หลักสูตร -

5.3 รอยละของหลักสูตรวิชาชีพท่ีมีความรวมมอืในการพัฒนาและบริหาร

หลักสูตรกับภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เก่ียวของกับวิชาชีพของหลักสูตร

ตอหลักสูตรวิชาชีพท้ังหมด

หลักสูตร -

6. จํานวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอน หลักสูตร 1

6.1 ระดับปริญญาโท (ท่ีมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแผน ก) หลักสูตร 1

6.2 ระดับปริญญาเอก หลักสูตร -

6.3 รอยละของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีเปดสอนตอ

จํานวนหลักสูตรท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

รอยละ 33.33

7. จํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา คน 388

7.1 ระดับปริญญาตรี คน 372

7.2 ระดับปริญญาโท คน 16

- นักศึกษาระดับปริญญาโทท่ีเลือกเรียนแผน ก คน 16

- นักศึกษาระดับปริญญาโทท่ีเลือกเรียนแผน ข คน -

7.3 ระดับปริญญาเอก คน -

7.4 รอยละของนักศึกษาระดับบณัฑิตศึกษาท่ีเนนการวิจัยท่ีอยูใน

หลักสูตรตอจํานวนนักศึกษาท้ังหมดทุกระดับการศึกษา

รอยละ 4.12

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรใหม ผูทรงคุณวุฒิเพื่อพจิารณาหลักสูตรและผูชวยหัวหนา

ภาควิชาฝายวชิาการ เพื่อดําเนินการจัดทําหลักสูตรใหมและปรับปรุงหลักสูตรตามข้ันตอนของทาง

มหาวิทยาลัย (2.1-01, 2.1-02, 2.1-03, 2.1-04)

ขอ 2 ผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวชิาการ จัดทําแบบสอบถามบัณฑิตเพื่อสอบถามความสําคัญเก่ียวกับ

Page 21: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 20 -

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

หลักสูตรและวุฒิการศึกษาท่ีไดรับมีความเพยีงพอและมปีระโยชนตอการทํางาน และดําเนินการ

ตามข้ันตอนการขอปดหลักสูตรของทางมหาวทิยาลัย (2.1-03, 2.1-05, 2.1-06)

ขอ 3 ภาควิชาฯ ไดดําเนินงานตามเกณฑมาตรฐานและกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ

ในทุกหลักสูตรท่ีเปดสอน (2.1-07)

ขอ 4 มีแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร แตงต้ังอาจารยประจาํหลักสูตร และอาจารยท่ีเปนหัวหนา

สาขาวิชาในแตละหลักสูตร มีหนาท่ีรับผิดชอบควบคุมกาํกับใหมีการดําเนินการและมีการประเมิน

หลักสูตรตามกรอบเวลาท่ีกําหนด (2.1-08)

ขอ 5 มีแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร แตงต้ังอาจารยประจาํหลักสูตร และอาจารยท่ีเปนหัวหนา

สาขาวิชาในแตละหลักสูตร มีหนาท่ีรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการและการพัฒนา

หลักสูตรตามผลประเมินในขอ 3 (2.1-08)

ขอ 6 มีความรวมมอืกับภาครัฐในพจิารณาและตรวจสอบหลักสูตร (2.1-09)

ขอ 7 -

ขอ 8 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ขอ 4 ขอ 6 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง :

ไมม ี จุดที่ควรพัฒนา : ควรมีการปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบ

มาตรฐานคุณวฒุิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

แนวทางการพัฒนา : ภาควิชาฯ จะเรงดําเนินการจัดทําหลักสูตรปรับปรุงใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา

พ.ศ. 2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ใหเสร็จส้ินภายใน เดือนกันยายน 2554

เพื่อใหทันกับการลงทะเบียนของนักศึกษาใหมในปการศึกษา 2555

Page 22: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 21 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.1–01 - ขั้นตอนการขอเปดหลักสูตรใหม

- หนังสือขอสงหลักการและนโยบายการขอเปดหลักสูตรใหม

- คําส่ังเปล่ียนแปลงและแตงต้ังคณะกรรมการรางหลักสูตรปรัชญาดุษฎบีณัฑิต

สาขาวิชาคณติศาสตรประยุกต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

- หนังสือขอเสนอแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเพื่อพจิารณาหลักสูตรปรัชญาดุษฎบีัณฑิต

สาขาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตรภาษาอังกฤษ)

เอกสารหมายเลข 2.1–02 - ขั้นตอนการขอปรับปรุงหลักสูตร

- บันทึกขอความการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุม

ศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552

เอกสารหมายเลข 2.1–03 คําส่ังแตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิชาการ

เอกสารหมายเลข 2.1–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 2/54

เอกสารหมายเลข 2.1–05 ขั้นตอนการขอปดหลักสูตร

เอกสารหมายเลข 2.1–06 สรุปแบบสอบถามการติดตามภาวะการทํางานของบัณฑิต

เอกสารหมายเลข 2.1–07 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงคอมพิวเตอร

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2552)

เอกสารหมายเลข 2.1–08 - อาจารยประจําหลักสูตร MA, MC, MMA

- คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธรุการ

เอกสารหมายเลข 2.1–09 - คําส่ังแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิภายนอกเพื่อพิจารณาหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตรประยุกต

- คําส่ังแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิภายนอกตรวจสอบหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาคณิตศาสตรประยุกต

Page 23: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 22 -

ตัวบงชี้ที่ 2.2 อาจารยประจาํที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน : สามารถเลือกใชเกณฑการประเมินจาก 2 แนวทางตอไปน้ี

1. แปลงคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปนคะแนนระหวาง 0 – 5 หรือ

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

เปนคะแนนระหวาง 0 – 5 เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง

1. คารอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60

ขึ้นไป หรือ

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 12 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒปิริญญาเอก

รอยละของอาจารยประจําท่ีมคุีณวุฒิปริญญาเอก =

จํานวนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด x 100

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

รอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก คะแนนท่ีได =

60 x 5

หรือ

1. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา =

รอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกในปท่ีประเมิน ลบดวย รอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิ

ปริญญาเอกในปกอนหนาปท่ีประเมิน

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา

ท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปที่ผานมา คะแนนท่ีได =

12 x 5

Page 24: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 23 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด (รวมอาจารยท่ีลาศึกษาตอ) คน 28.5

1.1 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทา คน 1

1.2 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา คน 16

1.3 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา คน 11.5

2. จํานวนอาจารยประจําท่ีมีวุฒปิริญญาเอกในรอบปกอนหนาท่ีผานมา คน 2.5

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

1. รอยละของอาจารยประจําท่ีมีวฒุิปริญญาเอก รอยละ รอยละ 48 รอยละ 40.35 3.36

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒิ

ปริญญาเอกเทียบกับปท่ีผานมา รอยละ รอยละ 9.6 รอยละ 5.73 2.39

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : รอยละของอาจารยประจําท่ีมีวฒุิปริญญาเอกสูงขึ้นกวาปท่ีแลว เน่ืองจากมีอาจารยท่ีลาศึกษาตอ นักเรียน

ทุนบางสวน และอาจารยใหมเขามาปฏบิัติงาน จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มจํานวนอาจารยท่ีมีวฒุิปริญญาเอกใหมากข้ึน แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนและผลักดันใหอาจารยท่ีมีวุฒิปริญญาตรีและโท ไปศึกษาตอในระดับปริญญาเอกใหมากข้ึน รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 2.2–01 รายชื่ออาจารยประจํา ภาควิชาคณิตศาสตร ณ วันท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.2–02 สรุปจํานวนอาจารยประจํา ณ วนัท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.2–03 คําส่ังพนักงานมหาวิทยาลัยลาศึกษาตอ กลับเขาปฏิบัติงาน

เอกสารหมายเลข 2.2–04 คําส่ังบรรจุและแตงต้ังพนักงานมหาวิทยาลัย

Page 25: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 24 -

ตัวบงชี้ที่ 2.3 อาจารยประจาํที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน : สามารถเลือกใชเกณฑการประเมินจาก 2 แนวทางตอไปน้ี

1. แปลงคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนคะแนนระหวาง 0-5 หรือ

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปรียบเทียบกับ

ปท่ีผานมาเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง 1. คารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกัน

ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ขึ้นไป หรือ

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รวมกัน เปรียบเทียบกับปท่ีผานมา ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 6 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ =

จํานวนอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางรองศาตราจารยและศาสตราจารย

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด x 100

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ คะแนนท่ีได =

30 x 5

หรือ 1. คาการเพ่ิมขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปรียบเทียบกับปท่ีผานมา =

รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกันในปท่ีประเมิน ลบดวย รอยละ

ของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยและศาสตราจารยรวมกันในปกอนหนาปท่ีประเมิน

2. แปลงคาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปรียบเทียบกับ

ปท่ีผานมา ท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ

เปรียบเทียบกับปที่ผานมา คะแนนที่ได =

6

x 5

Page 26: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 25 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด (รวมอาจารยประจําท่ีลาศึกษาตอ) คน 28.5

1.1 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีไมมีตําแหนงทางวิชาการ คน 17.5

1.2 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงผูชวยศาสตราจารย คน 4

1.3 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย คน 7

1.4 จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงศาสตราจารย คน -

2. จํานวนอาจารยประจําท้ังหมดท่ีมีตําแหนงรองศาสตราจารย และ

ศาสตราจารยรวมกันในรอบปการศึกษาท่ีผานมา

คน 1

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

1. รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนง

รองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รอยละ รอยละ 24 รอยละ

24.56

2. คาการเพิ่มขึ้นของรอยละของอาจารยประจําท่ีดํารง

ตําแหนงรองศาสตราจารย และศาสตราจารยรวมกัน

เทียบกับปท่ีผานมา

รอยละ รอยละ 4.8 รอยละ 0.86

4.09

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : สัดสวนของอาจารยประจําท่ีมีตําแหนงทางวิชาการเพิ่มสูงขึ้น จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มจํานวนอาจารยท่ีดํารงตําแหนง รศ. และ ศ. ใหมากข้ึน เน่ืองจากจะมีอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนง รศ.

เกษียณอายุในปการศึกษา 2554 แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนและผลักดันใหอาจารยขอตําแหนงทางวิชาการใหมากขึ้นและตอเน่ือง โดยการสนับสนุนดานขอมูล

ขั้นตอน เทคนิคในการขอตําแหนงทางวิชาการ

Page 27: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 26 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.3–01 รายชื่ออาจารยประจํา ภาควิชาคณิตศาสตร ณ วันท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.3–02 สรุปจํานวนอาจารยประจํา ณ วนัท่ี 31 พ.ค. 2554

เอกสารหมายเลข 2.3–03 คําส่ังแตงต้ังใหพนักงานมหาวิทยาลัยดํารงตําแหนง ผศ. และ รศ.

Page 28: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 27 -

ตัวบงชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารยท้ังดานวิชาการ เทคนิคการสอน

และการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนท่ีมี

การวิเคราะหขอมูลเชิงประจกัษ √

2.4-01 2.4-02

2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารยและบคุลากรสายสนับสนุนใหเปนไป

ตามแผนท่ีกําหนด √ 2.4-03

3. มีสวัสดิการเสริมสรางสุขภาพท่ีดี และสรางขวัญและกําลังใจใหคณาจารย

และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทํางานไดอยางมปีระสิทธิภาพ √ 2.4-04

4. มีระบบการติดตามใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนนําความรูและ

ทักษะท่ีไดจากการพัฒนามาใชในการจัดการเรียน

การสอนและการวัดผลการเรียนรูของนักศึกษา ตลอดจน

การปฏิบัติงานที่เก่ียวของ

√ 2.4-05

5. มีการใหความรูดานจรรยาบรรณอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน และ

ดูแลควบคุมใหคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏบิัติ √ 2.4-06 2.4-07

6. มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย

และบุคลากรสายสนับสนุน √ 2.4-08

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการ

พัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน √ 2.4-09

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 จัดทําแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (2.4-01, 2.4-02)

ขอ 2 ดําเนินการตามแผนการบริหารและพัฒนาฯ ในขอ 1 (2.4-03)

ขอ 3 สรางบรรยากาศภายในท่ีทํางานใหนาอยู จดัสวัสดิการและการเอาใจใสดูแลบุคลากรทุกคนอยาง

Page 29: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 28 -

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

เสมอภาค มีการยกยองใหเกียรติผูท่ีไดรับรางวัล และสนับสนุนใหบุคลากรดําเนินการตรวจ

สุขภาพประจาํป (2.4-04)

ขอ 4 มีการกําหนดแนวทางการติดตามผลสัมฤทธิ์ของการอบรม หรือการพฒันา โดยการทําสรุปผล

ความรูและทักษะท่ีไดรับจากการเขารวมอบรม หรือการพฒันาน้ัน ๆ (2.4-05)

ขอ 5 ประชาสัมพันธและเผยแพร คูมือจรรยาบรรณบุคลากร และแนะนําบุคลากรใหปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณท่ีกําหนดอยางเหมาะสม (2.4-06, 2.4-07)

ขอ 6 มีการสรุปประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและพัฒนาฯ ในขอ 1 โดยคณะทํางาน

ภาควิชาฯ (2.4-08)

ขอ 7 นําผลการประเมินมาวิเคราะหและหาแนวทางการปรับปรุงการบริหารและพัฒนาฯ สําหรับป

การศึกษา 2554 ตอไป (2.4-09)

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบการพฒันาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ขอ 5 ขอ 7 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : บุคลากรมีความกระตือรือรนและเห็นความสําคัญของการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ตามแผนท่ีภาควิชาฯ

กําหนดไว

จุดที่ควรพัฒนา : การจัดทําแผนการบริหารและพัฒนาฯ ท่ีสอดคลองกับการปฏิบัติงานในสายงาน และ ควรมีการแลกเปล่ียน

ความรูและทักษะท่ีไดรับจากเขารวมประชุมฯ หรืออบรม

แนวทางการพัฒนา :

ทําการสํารวจความตองการและสนใจของบุคลากร วิเคราะห และจัดทําแผนการบริหารและพัฒนาฯ และจัด

กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับ การนําความรูและทักษะที่ไดรับจากการเขารวมประชมุฯ หรืออบรม ทุก ๆ 3 – 4

เดือน พรอมท้ังเผยแพรตอภาควิชาฯ

Page 30: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 29 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.4–01 แผนพัฒนาคณาจารย ภาควิชาคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 2.4–02 แผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

ภาควิชาคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 2.4–03 ผลการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน

- หนังสือขออนุมัติตัวบุคคลเขารวมประชุมทางวิชาการ

- หนังสือขอเสนอผลงานเพื่อขอดํารงตําแหนงทางวิชาการ

- หนังสือขออนุมัติจัดบรรยายพิเศษทางวิชาการ

- หนังสือขอสงชื่อบุคลากรเขารวมอบรม

เอกสารหมายเลข 2.4–04 - ขาววิทยาศาสตรประยุกต มจพ. ปท่ี 8 ฉบบัท่ี 1

- รูปหองทํางาน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร และหองธุรการภาควิชาฯ

- รายงานการประชุมภาควชิาฯ คร้ังท่ี 4/53 คร้ังท่ี 5/53 และคร้ังท่ี 2/54

- บันทึกขอความ โครงการตรวจสุขภาพประจาํป 2554

เอกสารหมายเลข 2.4–05 สรุปผลการเขารวมประชมุทางวชิาการ อบรม ของคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุน

เอกสารหมายเลข 2.4–06 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/53

เอกสารหมายเลข 2.4–07 คูมือจรรยาบรรณบุคลากร มจพ. พ.ศ. 2550

( http://www.hrd.kmutnb.ac.th/?name=page&file=page&op=janyaban )

เอกสารหมายเลข 2.4–08 ประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุน

เอกสารหมายเลข 2.4–09 แนวทางการปรับปรุงแผนการบริหารและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรสาย

สนับสนุน ประจําปการศึกษา 2554

Page 31: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 30 -

ตัวบงชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียน

เปนสําคัญทุกหลักสูตร √ 2.6-01 2.6-02

2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ

ภาคสนาม (ถามี) กอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษา ตามท่ีกําหนดใน

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และ

การใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอกหองเรียนหรือจากการทํา

วิจัย √ 2.6-01

4. มีการใหผูมปีระสบการณทางวิชาการหรือวชิาชีพจากหนวยงานหรือชุมชน

ภายนอกเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร √ 2.6-03

5. มีการจัดการเรียนรูท่ีพัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู

เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน √ 2.6-04 2.6-05

6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอคุณภาพการจัดการเรียนการ

สอนและส่ิงสนับสนุนการเรียนรูทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการ

ประเมินความพึงพอใจแตละรายวิชาตอง

ไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

√ 2.6-06

7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจดัการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการ

ประเมินผลการเรียนรูทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา √ 2.6-07 2.6-08

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4

หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนหลักสูตรท้ังหมดทุกระดับท่ีเปดสอน หลักสูตร 3

2. จํานวนหลักสูตรท่ีมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียน หลักสูตร 3

Page 32: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 31 -

การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

3. จํานวนหลักสูตรท่ีมีรายวิชาท่ีสงเสริมทักษะการเรียนรูดวยตนเอง และ

การใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอกหองเรียนหรือจาก

การทําวิจัย

หลักสูตร 3

4. จํานวนหลักสูตรท่ีมีการใหผูมปีระสบการณทางวิชาการหรือวิชาชีพจาก

หนวยงานหรือชุมชนภายนอกเขามามีสวนรวมในกระบวนการเรียน

การสอน

หลักสูตร 3

5. จํานวนรายวิชาท่ีเปดสอนท้ังหมด รายวิชา 26

6. จํานวนรายวิชาท่ีมีรายละเอียดของรายวิชาตามท่ีกําหนดในกรอบ TQF รายวิชา 15

7. จํานวนรายวิชาท่ีมีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียน รายวิชา 26

8. จํานวนรายวิชาท่ีมีผลประเมินความพึงพอใจของผูเรียน 3.51 ขึ้นไป รายวิชา 26

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 มีการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญทุกหลักสูตรท่ีเปดสอน (2.6-01, 2.6-02)

ขอ 2 -

ขอ 3 หลักสูตรท่ีเปดสอนทุกหลักสูตรกําหนดใหมีวิชาสัมมนา และโครงงานพิเศษหรือวิทยานิพนธ

(2.6-01)

ขอ 4 มีการเชิญบุคลากรภายนอกมาเปนอาจารยพเิศษสอนท้ังรายวิชาในภาคการศึกษาท่ี 2/2553

(2.6-03)

ขอ 5 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับประสบการณการจัดการเรียนการสอนระหวางคณาจารยใน

ภาควิชาฯ เพื่อปรับปรุงและพฒันาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น (2.6-04, 2.6-05)

ขอ 6 มีการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและส่ิงสนับสนุนบาง

รายวิชา ทุกภาคการศึกษา เน่ืองจากความขัดของของระบบการเขาถึงของคณะฯ (2.6-06)

ขอ 7 วิเคราะหผลการประเมินจากภาคเรียนท่ี 1/2553 และทําการปรับปรุงการจดัการเรียนการสอนและ

การวัดผลในภาคเรียน 2/2553 (2.6-07, 2.6-08)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ขอ 6 ขอ 6 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

Page 33: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 32 -

จุดแข็ง : มีระบบและกลการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนไปตามเกณฑมาตรฐานทุกหลักสูตร มีรายวิชาท่ีสงเสริมให

นักศึกษาเรียนรูดวยตนเอง และจากการทําวจิัย จุดที่ควรพัฒนา :

ระบบการติดตามแผนการสอนรายวิชาตาง ๆ ท่ีเปดสอน แนวทางการพัฒนา :

ภาควิชาฯ จะติดตามและกําหนดสง แผนการสอนทุกรายวิชาท่ีเปดสอนในชวง 2 สัปดาหแรกของการเปด

ภาคการศึกษา ท่ีธุรการของภาควิชาฯ

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.6–01 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2551)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงวิทยาการคอมพิวเตอร

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2552)

เอกสารหมายเลข 2.6–02 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/53 คร้ังท่ี 5/53 และคร้ังท่ี 6/53

เอกสารหมายเลข 2.6–03 หนังสือขออนุมัติจางอาจารยพิเศษในภาคเรียนการศึกษาท่ี 2/2553

เอกสารหมายเลข 2.6–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 1/54

เอกสารหมายเลข 2.6–05 สรุปองคความรูจากกิจกรรมแลกเปล่ียนความรูเก่ียวกับการจดัการเรียนการสอน

ใหมีประสิทธิภาพ

เอกสารหมายเลข 2.6–06 สรุปผลการประเมนิการสอนของคณาจารยโดยนักศึกษา ภาคการศึกษา 2/2553

เอกสารหมายเลข 2.6–07 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 6/53

เอกสารหมายเลข 2.6–08 แผนการสอนรายวิชา General Mathematics สําหรับภาคการศึกษา 1/2553 และ

2/2553

Page 34: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 33 -

ตัวบงชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคณุลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใช

บัณฑิตอยางนอยสําหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลา

ตามแผนกําหนดการศึกษาของหลักสูตร

2. มีการนําผลจากขอ 1 มาใชในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการ

สอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนท่ีสงเสริมทักษะอาชพี

และคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค ตามความตองการของผูใชบัณฑิต

3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรท้ังดานบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ

และงบประมาณท่ีเอื้อตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต √ 2.7-01 2.7-02

4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับปริญญาตรีและ

บัณฑิตศึกษาเขารวมกิจกรรมการประชมุวิชาการหรือนําเสนอผลงานทาง

วิชาการในที่ประชุมระหวางสถาบัน หรือท่ีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ √

2.7-03 2.7-04

5. มีกิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยมหาวิทยาลัยหรือสวนงาน √ 2.7-05

6. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกตใชผลงานจากวิทยานิพนธของ

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใชประโยชนจริงจาก

หนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือหนวยงานวิชาชีพ*

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

2 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

3 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอตาม

เกณฑท่ัวไป และครบถวนตามเกณฑ

มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุม

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนผลงานจากวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีม ี

การรับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือ

หนวยงานวิชาชีพ

โครงการ/

กิจกรรม -

Page 35: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 34 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 -

ขอ 2 -

ขอ 3 ภาควิชาฯ มกีารจัดสรรงบประมาณดานการพัฒนาบุคลากรและกิจการนักศึกษา เพื่อสนับสนุน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสนับสนุนบุคลากรท่ีมีคุณภาพ (2.7-01, 2.7-02)

ขอ 4 มีการเผยแพรโปรแกรมการประชุมวิชาการผานบอรดประชาสัมพันธและสนับสนุนใหนักศึกษาเขา

รวมประชุมวชิาการ (2.7-03, 2.7-04)

ขอ 5 ภาควิชาฯ จดัโครงการธรรมมะกับนักศึกษา เพื่อเปนการเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรมแก

นักศึกษา (2.7-05)

ขอ 6 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตาม

คุณลักษณะของบัณฑิต

ขอ 4 ขอ 3 ขอ 3

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนทรัพยากรท้ังดานบุคลากรท่ีมีคุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณ ท่ี

สงผลตอการพัฒนาคุณภาพของบัณฑิต

จุดที่ควรพัฒนา :

ระบบการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิต และการประยุกตใช

ผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษา

แนวทางการพัฒนา :

จัดทําแบบสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพงึประสงค และสงแบบสํารวจใหกับผูใชบณัฑิตสําหรับบัณฑิตท่ี

สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2552 และ 2553

สนับสนุนใหมีการประยุกตใชผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษา และการมีการรับรองการใชประโยชนจริงจาก

หนวยงานภายนอก

Page 36: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 35 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 2.7–01 งบประมาณภาควชิาฯ ประจําปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 2.7–02 - เอกสารขออนุมติัจางอาจารยพเิศษ ภาคเรียนท่ี 2/2553

- คําส่ังใหพนักงานมหาวิทยาลัยลาศึกษาตอ กลับเขาปฏิบติังาน

- คําส่ังใหขาราชการขยายเวลาศึกษาตอภายในประเทศและตางประเทศ

- คําส่ังขยายการจางพนักงานพิเศษ ประจาํปงบประมาณ 2554

- คําส่ังบรรจุและแตงต้ังพนักงานมหาวิทยาลัย

เอกสารหมายเลข 2.7-03 รูปบอรดประชาสัมพันธภาควชิาฯ

เอกสารหมายเลข 2.7–04 ผลงานของนักศึกษาท่ีเขารวมประชุมวิชาการ ประจําป 2553

เอกสารหมายเลข 2.7–05 คําส่ังขออนุมัติโครงการธรรมะกับนักศึกษา

Page 37: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 36 -

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบงชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการใหคาํปรึกษาและบรกิารดานขอมูลขาวสาร ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิตแก

นักศึกษา √ 3.1-01 3.1-02

2. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอนักศึกษา √ 3.1-03 3.1-04

3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันาประสบการณทางวิชาการและวชิาชีพแก

นักศึกษา √ 3.1-05

4. มีการจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอศิษยเกา √ 3.1-03 3.1-06

5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันาความรูและประสบการณใหศิษยเกา √

6. มีผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการในขอ 1 – 3 ทุกขอ

ไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 √ 3.1-07

7. มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาใชเปนขอมูลในการ

พัฒนาการจัดบริการท่ีสนองความตองการของนักศึกษา √ 3.1-08 3.1-09

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4

หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. ผลการประเมินคุณภาพของการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการและ

แนะแนวการใชชีวิตแกนักศึกษา

คาเฉล่ีย 4.09

2. ผลการประเมินคุณภาพของการจัดบริการขอมูลขาสารท่ีเปนประโยชนตอ

นักศึกษา

คาเฉล่ีย 4.06

3. ผลการประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันาประสบการณทาง

วิชาการและวชิาชีพแกนักศึกษา

คาเฉล่ีย 4.13

Page 38: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 37 -

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาประจาํชั้นปและกรรมการกิจการนักศึกษา (3.1-01, 3.1-02)

ขอ 2 มีเว็บไซดและบอรดประชาสัมพันธของภาควชิาฯ (3.1-03, 3.1-04)

ขอ 3 จัดโครงการ “Are U Ready to Get a Job?” เตรียมความพรอมเต็มท่ีสูศักยภาพเต็มรอย (3.1-05)

ขอ 4 จัดโครงการกิจกรรมกีฬาสัมพนัธ MA ประจาํป 2554 (3.1-03, 3.1-06)

ขอ 5 -

ขอ 6 ทําแบบสอบถามเพื่อประเมินคุณภาพของการใหบริการท้ัง 3 เร่ือง (3.1-07)

ขอ 7 ใชผลประเมินคุณภาพเพื่อพฒันาการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกาสําหรับการจัดกจิกรรมใน

ปถัดไป (3.1-08, 3.1-09)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและบริการดานขอมูล

ขาวสาร

ขอ 6 ขอ 6 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ ตระหนักถึงการบริการดานส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีเอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษาจึง

ใหมีการปรับปรุงและดูแลหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและหองเรียนใหมีความทันสมัย และสะอาดอยูเสมอ เพือ่ใหมี

บรรยากาศท่ีดี นอกจากน้ันภาควิชาฯ ยังจัดซื้อส่ือการเรียนการสอนและส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีเอื้อตอการ

พัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา มีระบบอาจารยท่ีปรึกษาท่ีปฏิบัติงานอยางเขมแข็งคอยใหคําปรึกษาทางดานกิจกรรม

นักศึกษาอีก 2 ทาน นักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาสามารถรับขอมูลขาวสารของภาควิชาฯ ไดจากสํานักงานภาควิชา

ฯ บอรดติดประกาศ เว็บไซดของภาควิชาฯ (http://www.ma.kmutnb.ac.th) และมีบริการเครือขายทางสังคม

(http://www.facebook.com) ซึ่งเปนกลุมกจิกรรมหลายกลุม พรอมท้ังยังมีแบบสอบถามความพึงพอใจและนําผล

การประเมินน้ันมาปรับปรุงกิจกรรมสําหรับปถัดไป

จุดที่ควรพัฒนา : ศิษยเกาของภาควิชาฯ ท่ีจบไปแลวน้ัน สวนใหญจะไมสะดวกมารวมกิจกรรมกับภาควชิาฯ ได เน่ืองจากติด

ภาระงานหรือขาดการติดตอ ท่ีผานมาภาควิชาฯ สามารถติดตอกับศิษยเกาไดจํานวนนอย ดังน้ันภาควิชาฯ ควรจัดทํา

Page 39: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 38 -

ระบบฐานขอมลูของศิษยเกาผานทางเว็บไซดและจัดใหมีผูประสานงานกับศิษยเกาโดยตรง และควรจัดหากิจกรรม

เพื่อพัฒนาความรูใหศิษยเกา

แนวทางการพัฒนา : จัดใหมีการพฒันาเว็บไซดของภาควิชาฯ ในสวนการประชาสัมพันธกจิกรรมนักศึกษาและระบบขอมูลศิษย

เกา และจัดกิจกรรมพัฒนาความรูและประสบการณใหศิษยเกา รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 3.1–01 หนังสือแตงต้ังอาจารยท่ีปรึกษาประจําชั้นป

เอกสารหมายเลข 3.1–02 คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธุรการ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควิชาฝาย

กิจการนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.1–03 รูปภาพบอรดประชาสัมพันธของภาควิชาฯ และ http://www.ma.kmutnb.ac.th

เอกสารหมายเลข 3.1–04 โครงการ“Are U Ready to Get a Job?” เตรียมความพรอมเต็มท่ีสูศักยภาพ

เต็มรอย

เอกสารหมายเลข 3.1–05 โครงการเตรียมความพรอมในการทํางานและศึกษาตอของนักศึกษาชั้นปท่ี 4

เอกสารหมายเลข 3.1–06 โครงการกิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ MA ประจาํป 2554

เอกสารหมายเลข 3.1–07 รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพใหบริการแกนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.1–08 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/54

เอกสารหมายเลข 3.1–09 แผนการดําเนินงานของภาควิชาฯ

Page 40: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 39 -

ตัวบงชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. สวนงานจัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมผลการเรียนรู

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติทุกดาน √ 3.2-01

2. มีกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา √ 3.2-02 3.2-03

3. มีการสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชในการจดั

กิจกรรมท่ีดําเนินการโดยนักศึกษาอยางนอย 5 ประเภทสําหรับระดับ

ปริญญาตรี และอยางนอย 2 ประเภทสําหรับระดับบัณฑิตศึกษา ไดแก

- กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

- กิจกรรมกฬีาหรือการสงเสริมสุขภาพ

- กิจกรรมบําเพญ็ประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวฒันธรรม

3.2-04

4. มีการสนับสนุนใหนักศึกษาสรางเครือขายพัฒนาคุณภาพภายใน

มหาวิทยาลัยหรือระหวางมหาวิทยาลัย และมกีิจกรรมรวมกนั √ 3.2-05

5. มีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา

นักศึกษา √ 3.2-06

6. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจดักิจกรรมเพื่อ

พัฒนานักศึกษา √ 3.2-07

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

หรือ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 มีการประชุมวางแผนในการดําเนินกิจกรรม (3.2-01)

ขอ 2 จัดโครงการปฐมนิเทศและคายสัมมนารวมกบัคณะวิทยาศาสตร (3.2-02, 3.2-03)

ขอ 3 สงเสริมใหจัดกิจกรรมนักศึกษาครบ 5 ประเภท (3.2-04)

Page 41: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 40 -

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 4 จัดโครงการกีฬาเชื่อมความสัมพันธภาควชิาคณิตศาสตร (Union Games) คร้ังท่ี 7 (3.2-05)

ขอ 5 กําหนดใหทุกโครงการมีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม (3.2-06)

ขอ 6 วิเคราะหผลการประเมินและอปุสรรคในขอ 5 และนําไปปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมในปตอไป

(3.2-07)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา ขอ 5 ขอ 6 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีการสงเสริมกิจกรรมของนักศึกษาท่ีสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค กิจกรรม

นักศึกษาท่ีภาควิชาฯ ใหการสนับสนุนครอบคลุมทุกดานดังน้ี

1. กจิกรรมทางวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

2. กจิกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ

3. กจิกรรมบาํเพ็ญประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม

4. กจิกรรมเสริมเสรางคุณธรรมและจริยธรรม

5. กจิกรรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

โดยภาควิชาฯ มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการทุกโครงการเปนประจําทุกปและไดนําผลการ

ประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเน่ือง

จุดที่ควรพัฒนา : ภาควิชาฯ ควรจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาความรูความเขาใจแกนักศึกษาดานการประกันคุณภาพ

การศึกษาใหมากข้ึน

แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนใหนักศึกษาจัดกิจกรรมเก่ียวกับการพัฒนาความรูความเขาใจแกนักศึกษาดานการประกันคุณภาพ

การศึกษา

Page 42: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 41 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 3.2–01 คําส่ังแตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายกิจการนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.2–02 โครงการปฐมนิเทศของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

เอกสารหมายเลข 3.2–03 โครงการคายสัมมนาของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

เอกสารหมายเลข 3.2–04 แผนการดําเนินงานและกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

- กิจกรรมกฬีาหรือการสงเสริมสุขภาพ คือ โครงการกิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ MA

- กิจกรรมทางวิชาการที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค คือ โครงการปฐมนิเทศภาควิชาฯ

- กิจกรรมสงเสริมศิลปะและวฒันธรรม คือ โครงการทําบุญภาควิชาฯ

- กิจกรรมบําเพญ็ประโยชนหรือรักษาส่ิงแวดลอม คือ โครงการปลูกปาชายเลน

- กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม คือ โครงการธรรมะกับนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.2–05 โครงการกีฬาเชื่อมความสัมพันธภาควิชาคณิตศาสตร (Union Games) คร้ังท่ี 7

เอกสารหมายเลข 3.2–06 รายงานผลการประเมินโครงการตาง ๆ

- โครงการกิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ MA

- โครงการปฐมนิเทศภาควิชาฯ

- โครงการทําบญุภาควิชาฯ

- โครงการปลูกปาชายเลน

- โครงการธรรมะกับนักศึกษา

เอกสารหมายเลข 3.2–07 แผนการจัดกิจกรรมเพื่อพฒันานักศึกษา ประจําปการศึกษา 2554

Page 43: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 42 -

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

ตัวบงชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมาย

ตามแผนดานการวิจัยของสวนงาน และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด √

4.1-01 4.1-02

2. มีการบูรณาการกระบวนการวจิัยหรืองานสรางสรรคกับการจัด

การเรียนการสอน √

4.1-03

3. มีการพัฒนาศักยภาพดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและใหความรูดาน

จรรยาบรรณการวิจัยแกอาจารยประจําและนักวิจัย √

4.1-04 4.1-05 4.1-06 4.1-07

4. มีการจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัย หรือสวนงาน เพื่อเปน

ทุนวิจัยหรืองานสรางสรรค √

4.1-08

5. มีการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคตาม

อัตลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนงาน อยางนอยในประเด็นตอไปน้ี

- หองปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหนวยวิจัยฯ หรือศูนยเคร่ืองมือ หรือศูนย ให

คําปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยฯ

- หองสมุดหรือแหลงคนควาขอมูลสนับสนุนการวิจัยฯ

- ส่ิงอํานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัย เชน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยใน

หองปฏิบัติการวิจัย

- กิจกรรมวิชาการท่ีสงเสริมงานวิจัยฯ เชน การจัดประชมุวิชาการ การจัด

แสดงงานสรางสรรค การจัดใหมีศาสตราจารยอาคันตุกะ หรือศาสตราจารย

รับเชิญ (visiting professor)

4.1-10

4.1-10 4.1-11

4.1-03

6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในขอ 4 และขอ 5

อยางครบถวนทุกประเด็น √

4.1-12

7. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรือ

งานสรางสรรคของมหาวิทยาลัย หรือสวนงาน √

4.1-04 4.1-13

Page 44: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 43 -

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ รับผิดชอบในการวางแผน ติดตาม

ประเมินและปรับปรุงแผนการวิจัยของภาควชิาฯ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย (4.1-01, 4.1-02)

ขอ 2 กําหนดใหนักศึกษาบัณฑิตศึกษาเขารวมฟงบรรยายพิเศษโดยศาสตราจารยรับเชิญจาก

ตางประเทศ (4.1-03)

ขอ 3 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูดานการวิจัยเก่ียวกับเทคนิคการเขียนผลงานวิจัยเพื่อเผยแพรใน

วารสารระดับนานาชาติ (4.1-04, 4.1-05) ใหความรูดานจรรยาบรรณของนักวิจัยแกคณาจารย

(4.1-06) และ จัดบอรดแสดงผลงานวิจัยของคณาจารยท่ีไดรับการเผยแพร (4.1-07)

ขอ 4 ประชาสัมพันธและสนับสนุนการเสนอขอทุนวิจัยท้ังแหลงทุนจากภายในและภายนอก

มหาวิทยาลัย (4.1-08)

ขอ 5 จัดเตรียมหองทํางานและหองปฏิบัติงาน (4.1-09) แหลงคนควาทางวิชาการ (4.1-10) และส่ิง

อํานวยความสะดวก (4.1-11) ตลอดถึงการสนับสนุนการบรรยายพิเศษโดยศาสตรจารยรับเชิญ

(4.1-03)

ขอ 6 จัดทําแบบประเมินผลสําเร็จของการสนับสนุนทุก ๆ ดานโดยคณาจารยภาควิชาฯ (4.1-12)

ขอ 7 จัดทําแผนการปรับปรุงจากผลการประเมินในขอ 6 (4.1-04, 4.1-13)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค ขอ 6 ขอ 7 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีระบบและกลไกการบริหารงานวิจัย เพื่อใหบรรลุตามแผนดานการวิจัย รวมท้ังมีการสนับสนุน

สงเสริม และประชาสัมพันธ เก่ียวกับแหลงทุนวิจัยท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย หรือแหลงคนควาท่ีสนับสนุน

งานวิจัย

Page 45: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 44 -

จุดที่ควรพัฒนา : การประชาสัมพันธแหลงทุนวิจัยตาง ๆ ท้ังภายในประเทศและตางประเทศ

แนวทางการพัฒนา : จัดใหมีอาจารยหรือพี่เล้ียงท่ีมีความเชี่ยวชาญตรวจสอบขอเสนอโครงการวิจัยของคณาจารยท่ีเสนอขอทุน

วิจัยไปยังแหลงทุนตาง ๆ และชวยปรับปรุงโครงการใหเหมาะสม เพื่อเพิม่โอกาสในการไดรับทุน

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 4.1–01 คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธุรการ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควชิาฝายวจิัย

และวิเทศสัมพันธ

เอกสารหมายเลข 4.1–02 แผนการดําเนินงานวิจัย ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 4.1–03 โครงการบรรยายพิเศษทางวิชาการโดยศาสตราจารยรับเชิญจากตางประเทศ

และรายชื่อผูเขารวมฟงบรรยาย

เอกสารหมายเลข 4.1–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 1/54 และคร้ังท่ี 3/54

เอกสารหมายเลข 4.1–05 สรุปองคความรูท่ีไดจากกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู ดานการวิจยั

เอกสารหมายเลข 4.1–06 จรรยาบรรณนักวิจัยและแนวทางปฏิบัติ

เอกสารหมายเลข 4.1–07 รูปบอรดแสดงผลงานวิจัยของคณาจารย

เอกสารหมายเลข 4.1–08 - งบประมาณของภาควิชาฯ ประจําปงบประมาณ 2554

- ประกาศรับสมัครทุนวิจัยท่ัวไปและนักวิจัยรุนใหมของ มจพ.

- ประกาศรับสมัครทุนนักวิจัยและนักวิจัยรุนใหม ของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

- ประกาศหลักเกณฑทุนวิจัย จากศูนยความเปนเลิศดานคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 4.1–09 รูปหองทํางานของคณาจารยและหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

เอกสารหมายเลข 4.1–10 www.library.kmutnb.ac.th

เอกสารหมายเลข 4.1–11 คําส่ังสงซีดีโปรแกรม Maple และโปรแกรม Matlab

เอกสารหมายเลข 4.1–12 ผลการประเมินการพัฒนางานวจิัย ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 4.1–13 สรุปแนวทางการปรับปรุงการพฒันางานวิจัย ประจําป 2554

Page 46: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 45 -

ตัวบงชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการ

ประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการ

เผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ

ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

4.2-01 4.2-02 4.2-03 4.2-04

2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจาก

งานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อใหเปนองคความรูท่ี

คนท่ัวไปเขาใจได และดําเนินการตามระบบที่กําหนด √

4.2-01 4.2-04 4.2-05

3. มีการประชาสัมพันธและเผยแพรองคความรูจากงานวิจัยหรืองานสรางสรรค

ท่ีไดจากขอ 2 สูสาธารณชนและผูเก่ียวของ √ 4.2-06 4.2-07

4. มีการนําผลงานงานวิจัยหรืองานสรางสรรคไปใชใหเกิดประโยชน และมีการ

รับรองการใชประโยชนจริงจากหนวยงานภายนอกหรือชุมชน √

5. มีระบบและกลไกเพื่อชวยในการคุมครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน และดําเนินการตามระบบท่ีกาํหนด √ 4.2-08

6. มีระบบและกลไกสงเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และม ี

การยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร* √ 4.2-08

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

2 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

3 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

ตามเกณฑท่ัวไป

มีการดําเนินการ ครบ 5 ขอตาม

เกณฑท่ัวไป และครบถวนตามเกณฑ

มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุม

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ :

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีมีการรับรองการใชประโยชนจริง

จากหนวยงานภายนอกหรือชมุชน

ผลงาน -

2. จํานวนการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร เร่ือง -

Page 47: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 46 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ (4.2-01) ควบคุมดูแล แหลงสนับสนุนดาน

งบประมาณเพื่อการเขารวมประชุมทางวชิาการและการตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารตาง ๆ (4.2-

02, 4.2-03, 4.2-04)

ขอ 2 ผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวจิยัฯ ติดตามและรวบรวมผลงานวิจัยของคณาจารยประจําป 2553

(4.2-05) และคัดสรรผลงานท่ีเปนท่ีนาสนใจท่ีบุคคลท่ัวไปสามารถเขาได รวมท้ังวิเคราะหและ

สังเคราะหผลงานวิจัยรวมกบัอาจารยเจาของผลงานน้ัน (4.2-05)

ขอ 3 นําองคความรูท่ีไดจากขอ 2 (4.2-06) เผยแพรใหคณาจารยผานการประชุมภาควิชาฯ และติด

บอรดผลงานวิจัยของคณาจารย เพื่อเผยแพรใหผูท่ีสนใจท่ัวไป (4.2-07)

ขอ 4 -

ขอ 5 ภาควิชาฯ ดําเนินตามระเบียบของทางมหาวิทยาลัย วาดวยการบริหารผลประโยชนอนัเกิดจาก

ทรัพยสินทางปญญา พ.ศ. 2550 (4.2-08)

ขอ 6 ภาควิชาฯ ดําเนินตามระเบียบของทางมหาวิทยาลัย วาดวยการบริหารผลประโยชนอนัเกิดจาก

ทรัพยสินทางปญญา พ.ศ. 2550 (4.2-08)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการจัดการความรูจากงานวจิยัหรืองาน

สรางสรรค

ขอ 4 ขอ 5 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : คณาจารยในภาควิชาฯ สามารถผลิตผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารระดับชาติและนานาชาติในปริมาณท่ี

เพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง

จุดที่ควรพัฒนา : การเชื่อมโยงผลงานวิจัยท่ีสามารถนําไปใชประโยชนจากหนวยงานภายนอกหรือชุมชน แนวทางการพัฒนา : สนับสนุนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน โดยผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวิจัยฯ จะเปนผูประสานงาน

ระหวางอาจารยในภาควิชาฯ ท่ีเปนเจาของผลงานวิจัยกับหนวยงานภายนอก

Page 48: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 47 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 4.2–01 คําส่ังแตงต้ังคณาจารยทําหนาท่ีธุรการ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายวจิัย

และวิเทศสัมพันธ

เอกสารหมายเลข 4.2–02 งบประมาณของภาควิชาฯ ประจาํปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 4.2–03 - รายงานการประชุมภาควชิาฯ คร้ังท่ี 1/54 และ 2/54

- ประกาศหลักเกณฑและอัตราการจายเงินสมนาคุณการเขียนบทความวจิยัท่ีได

รับการตีพิมพ

- ขอกาํหนดในการขอรับการสนับสนุนเงินสมนาคุณตีพิมพในวารสารระดับชาติ

และนานาชาติ

เอกสารหมายเลข 4.2–04 - สรุปผลงานวิจัยของคณาจารยภาควิชาฯ ประจําปการศึกษา 2553

- บทคัดยอผลงานวิจัยคณาจารยภาควิชาฯ ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 4.2–05 ผลงานวิจัยท่ีไดรับการคัดสรร

เอกสารหมายเลข 4.2–06 สรุปองคความรูท่ีไดจากผลงานวิจัยท่ีไดการคัดสรร

เอกสารหมายเลข 4.2–07 รูปบอรด ผลงานวจิัยของคณาจารย

เอกสารหมายเลข 4.2–08 ระเบียบวาดวย การบริหารผลประโยชนอันเกิดจากทรัพยสินทางปญญา

พ.ศ. 2550

Page 49: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 48 -

ตัวบงชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา ชนิดของตัวบงชี้ : ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน : โดยการแปลงจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัยประจําเปนคะแนน ระหวาง 0 – 5

เกณฑประเมนิเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ ง จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวิชา 1. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาทขึ้นไปตอคน 2. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 150,000 บาทขึ้นไปตอคน 3. กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทขึ้นไปตอคน

สูตรการคํานวณ :

1. คํานวณจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวน

อาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา =

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอก

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

2. แปลงจํานวนเงินท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ตออาจารยประจําและนักวิจัยประจํา คะแนนท่ีได =

180,000 (=จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5) x 5

หมายเหต ุ: กรณีท่ีสวนงานประกอบดวยภาควิชา/สาขาวิชาหลายกลุมสาขาวิชา คะแนนท่ีไดในระดับ

คณะวิชา เทากับ คาเฉล่ียของคะแนนท่ีไดของทุกกลุมสาขาวิชาในคณะวิชา

Page 50: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 49 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี้ หนวยวัด ผลการดําเนินงาน

1. จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจาํที่ปฏิบัติงานจริง คน

1.1 จํานวนอาจารยประจํา คน 22.5

1.2 จํานวนนักวิจัยประจํา คน -

2. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรค บาท

2.1 จากภายในมหาวิทยาลัย/สวนงาน บาท 781,100

2.2 จากภายนอกมหาวิทยาลัย บาท 660,000

3. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจาํนวนอาจารยประจําและนกัวิจัยประจํา

บาท : คน 64,048.89

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

คะแนนท่ีไดในระดับคณะวิชา คาเฉล่ีย คาเฉล่ีย

108,000

คาเฉล่ีย

64,048.89 1.78

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยของภาควิชาฯ เพิ่มมากขึ้นกวาปท่ีผานมา

จุดที่ควรพัฒนา : เพิ่มจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยตออาจารยประจําใหมากข้ึน

แนวทางการพัฒนา : สนับสนุน กระตุน และใหคําแนะนํา ในการเขียนขอเสนอโครงการวิจยัใหมีคุณภาพและไดรับทุนอุดหนุนการ

วิจัยท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

Page 51: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 50 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 4.3–01 รายชื่ออาจารยประจํา ภาควิชาคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 4.3–02 ตารางทุนวิจัยเงินรายไดคณะวิทยาศาสตรประยุกต ประจาํปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 4.3–03 ประกาศทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตรประยุกต คร้ังท่ี 1 คร้ังท่ี 2 และ คร้ังท่ี 3

เอกสารหมายเลข 4.3–04 สัญญารับทุนสนับสนุนนักวิจัยท่ัวไป สํานักวจิยัฯ มจพ. ปงบประมาณ 2553

เอกสารหมายเลข 4.3–05 สัญญารับทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการสงเสริมการวิจัยในอดุมศึกษา

ประจาํปงบประมาณ 2554

เอกสารหมายเลข 4.3–06 สัญญารับทุนอุดหนุนเพื่อสงเสริมงานวิจัยในลักษณะกลุมวจิยั

เอกสารหมายเลข 4.3–07 ประกาศผูท่ีไดรับทุนวิจัยจากศูนยความเปนเลิศดานคณิตศาสตร ประจําป 2554

เอกสารหมายเลข 4.3–08 ประกาศผูท่ีไดรับทุนวิจัยกลุมจากศูนยความเปนเลิศดานคณิตศาสตร

Page 52: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 51 -

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม และดําเนินการตามระบบ

ท่ีกําหนด √

5.1-01 5.1-02 5.1-03

2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการเรียน

การสอน √ 5.1-04

3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแกสังคมกับการวจิัย √

4. มีการประเมินผลความสําเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก

สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย √ 5.1-05

5. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก

สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย √ 5.1-06

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังคณะกรรมการใหบริการทางวิชาการแกสังคม (5.1-01) และจัดทําแผนการดําเนินงานของ

การใหบริการวชิาการแกสังคม ประจําป 2553 (5.1-02, 5.1-03)

ขอ 2 จัดโครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงานคณิตศาสตร สําหรับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษา (5.1-04)

ขอ 3 ประเมินผลการจัดกิจกรรมในขอ 2 (5.1-05)

ขอ 4 สรุปผลการประเมินการจัดกิจกรรม เพื่อนําไปปรับปรุงการใหบริการทางวิชาการแกสังคมในครั้ง

ตอไป (5.1-06)

Page 53: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 52 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคม ขอ 4 ขอ 4 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : บุคลากรในภาควิชาฯ มีความพรอมในการใหบริการวิชาการที่ตอบสนองความตองการและสรางความ

เขมแข็งของสังคม

จุดที่ควรพัฒนา : ควรมีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบรูณาการการใหบริการวิชาการแกสังคมกับการจัดการเรียนการสอน

และการวิจัยใหชัดเจน

แนวทางการพัฒนา : จัดต้ังทีมคณะทํางาน ทําการสํารวจและวิเคราะหความตองการของชมุชนหรือภาครัฐหรือภาคเอกชน เพื่อ

ประกอบการกาํหนดทิศทางและจัดทําแผนการใหบริการทางวิชาการแกสังคมในปตอไป

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 5.1–01 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการการบริการวิชาการแกสังคม

เอกสารหมายเลข 5.1–02 แผนและผลการดําเนินงานการใหบริการวิชาการแกสังคม

ประจําปการศึกษา 53

เอกสารหมายเลข 5.1–03 - โครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงานทางคณิตศาสตรสําหรับนักเรียนระดับ

มธัยมศึกษา

- โครงการศึกษาดูงานภาควิชาคณิตศาสตร โดยมหาวิทยาลัยราชภัฎเลย

- โครงการอบรมครูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร คอมพวิเตอร โลก ดาราศาสตร

และอวกาศ

เอกสารหมายเลข 5.1–04 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินการจัดโครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงาน

ทางคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 5.1–05 ผลประเมินการจัดโครงการกิจกรรมนําไปสูโครงงานทางคณิตศาสตร

เอกสารหมายเลข 5.1–06 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 2/54

Page 54: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 53 -

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจดัการ ตัวบงชี้ที่ 7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวนงานและผูบริหารทุกระดับของสวนงาน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. คณะกรรมการบริหารภาควิชาปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีกําหนดครบถวนและมีการ

ประเมินตนเองตามหลักเกณฑท่ีกําหนดลวงหนา

7.1-01 7.1-02 7.1-03

2. ผูบริหารมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไป

ยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผน

กลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา

ภาควิชา

√ 7.1-04

3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตาม

ท่ีมอบหมาย รวมท้ังสามารถส่ือสารแผนและผลการดําเนินงานของภาควิชา

ไปยังบุคลากรในภาควิชา √

7.1-05 7.1-06

4. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในภาควิชามีสวนรวมในการบริหารจัดการ ให

อํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม √

7.1-01 7.1-07 7.1-08

5. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพื่อใหสามารถ

ทํางานบรรลุวัตถุประสงคของสวนงานเต็มตามศักยภาพ √ 7.1-09

6. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของ

มหาวิทยาลัยหรือสวนงานหรือภาควิชาและผูมีสวนไดสวนเสีย √ 7.1-10

7. คณะกรรมการบริหารภาควิชาประเมินผลการบริหารงานของ

ภาควิชา และผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปน

รูปธรรม √ 7.1-06

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

Page 55: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 54 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังคณะกรรมการบริหารภาควิชาคณิตศาสตร (7.1-01) โดยกําหนดหนาท่ีรับผิดชอบในแตละ

ตําแหนง และมีการประเมินตนเองพรอมท้ังเปดเผยตอภาควิชาฯ (7.1-02, 7.1-03)

ขอ 2 หัวหนาภาควิชาฯ แสดงวิสัยทัศน กําหนดนโยบายและแผนพัฒนาภาควชิาฯ ในท่ีประชุมภาควิชาฯ

(7.1-04)

ขอ 3 มีการประชุมภาควิชาฯ และประชมุยอยคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ เพื่อติดตามและ

ประเมินผลการดําเนินงานอยางสม่ําเสมอ (7.1-05, 7.1-06)

ขอ 4 หัวหนาภาควิชาฯ มอบอํานาจในการตัดสินใจใหแก คณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ และบุคลากร

ตามความเหมาะสม พรอมท้ังกํากับ ติดตามและตรวจสอบผลการดําเนินงานนั้น ๆ (7.1-07,

7.1-08)

ขอ 5 หัวหนาภาควิชาฯ เปนวิทยากรบรรยายเรื่องกลยุทธการขอตําแหนงทางวิชาการ ผศ. รศ. และ ศ.

ใหกับคณาจารย (7.1-09)

ขอ 6 มีการประเมินผลงาน แสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะในการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล

ของหัวหนาภาควิชาฯ พรอมท้ังเปดเผยตอภาควิชาฯ (7.1-10, 7.1-03)

ขอ 7 คณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ และหัวหนาภาควิชาฯ ประเมินผลการบริหารภาควิชาฯ และนําผล

การประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานตอไป (7.1-06)

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวนงานและผูบริหาร

ทุกระดับของสวนงาน

ขอ 6 ขอ 7 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ มีการดําเนินงานตามแผนฯ พรอมท้ังสนับสนุนใหบุคลากรมีสวนรวมในการบริหารจัดการ และ

พัฒนาภาควชิาฯ อยางตอเน่ือง

จุดที่ควรพัฒนา :

ไมม ี

Page 56: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 55 -

แนวทางการพัฒนา : ไมม ี

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 7.1–01 คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการบริหารภาควิชาคณิตศาสตร ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 7.1–02 ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–03 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/54

เอกสารหมายเลข 7.1–04 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 7/53

เอกสารหมายเลข 7.1–05 รายงานการประชมุภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/53 คร้ังท่ี 4/53 คร้ังท่ี 5/53 และคร้ังท่ี 6/53

เอกสารหมายเลข 7.1–06 รายงานการประชมุคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–07 คําส่ังรักษาการแทนหัวหนาภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–08 จดหมายเชิญประชุมภาควชิาฯ

เอกสารหมายเลข 7.1–09 กิจกรรมบรรยายกลยุทธการขอตําแหนงทางวิชาการ

เอกสารหมายเลข 7.1–10 ผลการประเมินการปฏิบัติงานของหัวหนาภาควิชาฯ ประจําปการศึกษา 2553

Page 57: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 56 -

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีเหมาะสมและ

สอดคลองกับพนัธกิจและพัฒนาการของสวนงานหรือภาควิชา และ

ดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด √

9.1-01 9.1-02 9.1-03

2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเร่ืองการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน โดยคณะกรรมการบริหารภาควิชาและผูบริหารสูงสุดของภาควิชา √ 9.1-03

3. มีการกําหนดตัวบงชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณของสวนงานหรือภาควิชา √ 9.1-04

4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีครบถวน

ประกอบดวย 1) การควบคุม ติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพ

2) การจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพเสนอตอ

มหาวิทยาลัยตามกําหนดเวลา โดยเปนรายงานท่ีมีขอมูลครบถวนตามท่ี

สํานักงานคณะกรรมการการอดุม

ศึกษากําหนดใน CHE QA Online และ 3) การนําผลการประเมินคุณภาพ

ไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของภาควิชา

9.1-05 9.1-06 9.1-07

5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุง

การทํางาน และสงผลใหมีการพัฒนาผลการดําเนินงานของตัวบงชี้ตามแผน

กลยุทธทุกตัวบงชี้ √ 9.1-08

6. มีระบบสารสนเทศท่ีใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ครบท้ัง 9 องคประกอบคุณภาพ √ 9.1-09

7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา

โดยเฉพาะนักศึกษา ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตามพันธกิจของภาควิชา √ 9.1-10

8. มีเครือขายการแลกเปล่ียนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

มหาวิทยาลัยหรือระหวางมหาวิทยาลัยและมกีิจกรรมรวมกนั √ 9.1-11

9. มีแนวปฏบิัติท่ีดีหรืองานวิจัยดานการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีหนวยงาน

พัฒนาข้ึน และเผยแพรใหหนวยงานอื่นนําไปใชประโยชน √

Page 58: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 57 -

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 หรือ 5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 หรือ 8 ขอ

มีการดําเนินการ

9 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 แตงต้ังกรรมการบริหารภาควิชาฯ ตําแหนงผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายประกันคุณภาพการศึกษา

(9.1-01) และดําเนินการตามมาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑคุณภาพท่ีสํานักคณะกรรมการ

อุดมศึกษากําหนด (9.1-02)

ขอ 2 กําหนดหนาท่ีและแบงความรับผิดชอบใหแกคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ ตามความเหมาะสม

(9.1-03)

ขอ 3 มีการกําหนดตัวบงชี้และเกณฑมาตรฐานเพิม่เติมตามอัตลักษณของคณะวิทยาศาสตรประยุกต

“คิดเปน เดนประยุกต” (9.1-04)

ขอ 4 มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและจัดทํารายงานการประเมินตนเอง

ประจําป 2552 ท่ีครบถวน ท้ังการควบคุม ติดตามการดําเนินงาน การประเมินคุณภาพการศึกษา

(9.1-05) และจดัทําแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ ประจาํป 2553 (9.1-06) โดย

พิจารณาจากผลการประเมินคุณภารการศึกษาของภาควิชาฯ ปท่ีผานมา (9.1-07)

ขอ 5 นําผลการประกันคุณภาพการศึกษาฯ มาปรับปรุงแผนปฏิบติัการประจําปงบประมาณ 2553

(9.1-08)

ขอ 6 จัดทําระบบฐานขอมูล ท่ีสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา (9.1-09)

ขอ 7 จัดทําแบบประเมินใหนักศึกษาและผูมีสวนไดเสีย มีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาฯ

(9.1-10)

ขอ 8 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการศึกษา ระหวางภาควิชาคณิตศาสตร

ภาควิชาสถิติประยุกต และภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอรและสารสนเทศในประเด็น “การบริหาร

จัดการการประกันคุณภาพการศึกษาภายในภาควิชา” (9.1-11)

ขอ 9 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอ 7 ขอ 8 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

Page 59: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 58 -

จุดแข็ง : ภาควิชาฯ ไดดําเนินการตามระบบและกลไกของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยางครบถวน รวมท้ัง

ยังไดนําผลการประเมินในรอบปกอนหนามาปรับปรุงเพื่อจดัทําแผนการพัฒนาคุณภาพ ประจาํป 2553 และ

ดําเนินการตามแผนพัฒนาฯ น้ัน ๆ

จุดที่ควรพัฒนา : ระบบและกลไลของการประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ และการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียในการ

ประกันคุณภาพการศึกษาฯ

แนวทางการพัฒนา :

1. แบงหนาท่ีความรับผิดชอบใหกับอาจารยท่ีเปนเจาหนาท่ีธุรการอยางนอยคนละ 1 ตัวบงชี้ จัดบรรยาย

ใหความรูเก่ียวกับเกณฑมาตรฐานของการประกันคุณภาพการศึกษาฯ ใหกับบุคลากรในภาควิชา

2. การจัดทําแบบประเมินและกลองรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน หลักสูตร โดยนักศึกษา

ผูใชบัณฑิตและผูใชบริการตามพันธกิจของภาควิชาฯ

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 9.1–01 คําส่ังแตงต้ังผูชวยหัวหนาภาควิชาฝายประกันคุณภาพการศึกษา

เอกสารหมายเลข 9.1–02 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําป 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–03 เปาหมายและผูรับผิดชอบในแตละองคประกอบของภาควชิาฯ

เอกสารหมายเลข 9.1–04 เกณฑมาตรฐานเพิ่มเติมตามอัตลักษณ

เอกสารหมายเลข 9.1–05 รายงานการประเมินตนเอง รอบปการศึกษา 2552

เอกสารหมายเลข 9.1–06 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รอบปการศึกษา 2552

เอกสารหมายเลข 9.1–07 แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจําปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–08 - แผนปฏิบัติการภาควิชาฯ ประจาํปงบประมาณ 2552

- แผนปฏิบัติการภาควิชาฯ ประจําปงบประมาณ 2553

- ผลปฏิบัติการภาควิชาฯ ประจําปงบประมาณ 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–09 - รายชื่อบุคลากรของภาควิชาฯ ณ วันท่ี 31 พ.ค. 53

- ขอมูลจํานวนนักศึกษาทุกหลักสูตร

- สรุปขอมูลผลงานวิจัยของคณาจารย ภาควิชาฯ ประจําป 2553

เอกสารหมายเลข 9.1–10 - ผลการประเมินการเรียนการสอนโดยนักศึกษา

- ผลประเมินนักศึกษาฝกงาน

เอกสารหมายเลข 9.1–11 รายงานสรุปองคความรูจากเครือขายแลกเปล่ียนเรียนรูเก่ียวกับ การประกัน

คุณภาพภายใน

Page 60: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 59 -

ตัวบงชี ้9.20.2 มีระบบและกลไกการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการนําผลการประเมินคุณภาพภายในของรอบปการศึกษา

ท่ีผานมา ไปจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ และคณะกรรมการบริหารภาควิชา

ใหความเห็นชอบ √ 9.20.2-01

2. มีการดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ √ 9.20.2-01

3. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพอยางนอย

ปละ 2 คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหารเพื่อพิจารณา √ 9.20.2-02

4. มีการประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานตอผูบริหาร √ 9.20.2-03

5. มีรายงานผลการดําเนินงาน และผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงานตอคณะ

กรรมการบริหารภาควิชาเพื่อพิจารณา และรายงานตอสวนงาน √

9.20.2-04 9.20.2-05 9.20.2-06

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3

ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

ขอมูลการดําเนินงาน :

เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพประจําป 2553 โดยพิจารณาจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

ภายในของรอบปท่ีผานไป (9.20.2-01)

ขอ 2 ดําเนินงานตามแผนฯ ในขอ 1(9.20.2-01)

ขอ 3 ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานตอหัวหนาภาควิชาฯ ปละ 2 คร้ัง (9.20.2-02)

ขอ 4 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนฯ และรายงานตอหัวหนาภาควิชา (9.20.2-03)

ขอ 5 มีการรายงานผลการดําเนินงานและผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน รอบปการศึกษา 2553 ตอคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ และภาควิชาฯ (9.20.2-04,

9.20.2-05, 9.20.2-06)

Page 61: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 60 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

มีระบบและกลไกการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของ

คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ขอ 4 ขอ 5 ขอ 5

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : มีระบบและกลไกการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฯ ซึ่งพิจารณาจากผลการประเมินของคณะกรรมการ

ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในรอบปท่ีผานไป

จุดที่ควรพัฒนา : ควรกําหนดชวงเวลาของการติดตามและรายงานผลการดําเนินงานอยางชัดเจน

แนวทางการพัฒนา : กําหนดชวงของการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฯ คร้ังท่ี 1 (1 มิ.ย. 54 – 31 ต.ค. 54) และคร้ังท่ี

2 (1 พ.ย. 54 – 31 พ.ค. 55) เพื่อประเมินผลการดําเนินงานและปรับปรุงแผนพัฒนาฯ ตอไป

รายการเอกสารอางอิง :

เอกสารหมายเลข 9.20.2-01 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 9.20.2-02 - รายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ คร้ังท่ี 1

- รายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ คร้ังท่ี 2

เอกสารหมายเลข 9.20.2-03 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ

เอกสารหมายเลข 9.20.2-04 รายงานการประเมินตนเอง รอบปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 9.20.2-05 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารภาควิชาฯ

เอกสารหมายเลข 9.20.2-06 รายงานการประชุมภาควิชาฯ คร้ังท่ี 3/54

Page 62: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 61 -

องคประกอบที่ 10 อัตลักษณ ตัวบงชี้ที่ 10.30.1 ระบบและกลไกการพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณใหเปนบัณฑิตที่ คิดเปน เดนประยุกต ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต

เกณฑมาตรฐาน : ขอ

การดําเนินงาน เกณฑมาตรฐาน มีการ

ดําเนินงาน ครบถวน

ไมไดดําเนินงาน

เอกสาร อางอิง

หมายเลข

1. มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนานักศึกษาใหเปนบัณฑิตท่ี คิด

เปน √ 10.30.1-01

2. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาท่ีใหนักศึกษาไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอก

หองเรียน หรือจากการวิจัย √ 10.30.1-02

3. ทุกหลักสูตรมีการใหนักศึกษาจัดทําโครงงาน หรือปญหาพิเศษ หรือสาร

นิพนธ หรือวิทยานิพนธ √ 10.30.1-02

4. มีกจิกรรมสงเสริมการพัฒนาใหนักศึกษาคิดเปน เดนประยุกต √ 10..30.1-03 10..30.1-04

5. มีการประเมนิผลความพึงพอใจดานระบบและกลไกในการสงเสริมหรือ

พัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณโดยบุคลากรหรือนักศึกษา และมีผลการ

ประเมินไมตํ่ากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

6. มีนักศึกษา หรือผลงานของนักศึกษาไดรับการยอมรับ หรือเผยแพร หรือ

ได รับการยกยอง หรือได รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ หรือนําไป

ประยุกตใชใหเกิดประโยชนแกสังคม √ 10.30.1-05

7. ผลประเมินจากผูใชบัณฑิตวาบัณฑิตมีคุณลักษณะคิดเปน เดนประยุกต

ต้ังแตรอยละ 50 ขึ้นไป ของผูใชบัณฑิตท่ีตอบแบบสอบถาม √

เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ดําเนนิการ 1 ขอ

ดําเนนิการ 2 ขอ

ดําเนนิการ 3 หรือ 4 ขอ

ดําเนนิการ 5 หรือ 6 ขอ

ดําเนนิการ 7 ขอ

Page 63: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 62 -

ขอมูลการดําเนินงาน : เกณฑ ผลการดําเนินงาน

ขอ 1 ภาควิชาฯ มีการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิทยาศาสตรประยุกต โดยมุงเนน

พัฒนานักศึกษาใหเปนบัณฑิตท่ีคิดเปน เดนประยุกต (10.30.1-01)

ขอ 2 ทุกหลักสูตร มรีายวิชาท่ีใหนักศึกษาไดเรียนรูจากการปฏิบัติท้ังในและนอกหองเรียน (10.30.1-02)

ขอ 3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต กําหนดใหนักศึกษาตองสอบผานวิชาโครงงานพิเศษ และ หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต กําหนดใหนักศึกษาตองสอบผานวิชาวิทยานิพนธ กอนท่ีจะสําเร็จ

การศึกษา (10.30.1-02)

ขอ 4 สนับสนุนใหนักศึกษามีโอกาสเขาฝกงานกับองคกรหรือหนวยงานภายนอกในชวงปดภาค

การศึกษา (10.30.1-03, 10.30.1-04)

ขอ 5 -

ขอ 6 สนับสนุนและสงเสริมใหนักศึกษาเขารวมประชุมและเสนอผลงานทางวิชาการ (10.30.1-05)

ขอ 7 -

การประเมนิตนเองจากผลการดําเนินงาน :

ตัวบงชี/้ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวบงชี ้ หนวยวัด เปาหมาย ผลการ

ดําเนนิงาน คะแนน ที่ได

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ขอ 5 ขอ 5 ขอ 4

การประเมนิผลเทียบกับเปาหมาย : สูงกวาเปาหมาย เปนไปตามเปาหมาย ตํ่ากวาเปาหมาย

จุดแข็ง : ทุกหลักสูตรของภาควิชาฯ มีการเนนใหบัณฑิตเปนบัณฑิตท่ี “คิดเปน เดนประยุกต” มีรายวิชาท่ีใหนักศึกษา

เรียนรูท้ังในและนอกหองเรียน และกําหนดใหนักศึกษามีการจัดทําโครงงานพิเศษและวิทยานิพนธ จุดที่ควรพัฒนา :

ควรสงเสริมกิจกรรมท่ีเปนการพัฒนาใหนักศึกษาคิดเปน และสามารถนําความรูไปประยุกตใชจริง

แนวทางการพัฒนา :

วางแผนจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมใหนักศึกษาฝกคิด วางแผน และนําความรูไปประยุกตใชจริง

Page 64: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 63 -

รายการเอกสารอางอิง : เอกสารหมายเลข 10.30.1–01 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิทยาศาสตรประยุกต มจพ.

(พ.ศ.2553-2562)

เอกสารหมายเลข 2.6–01 - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2551)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรเชิงวิทยาการคอมพิวเตอร

(หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553)

- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2552)

เอกสารหมายเลข 10.30.1–03 หนังสือสงตัวนักศึกษาฝกงาน ปการศึกษา 2553

เอกสารหมายเลข 10.30.1–04 รายงานผลการฝกงานของนักศึกษา ปการศึกษา 2552

เอกสารหมายเลข 10.30.1–05 - บทคัดยอของนักศึกษาท่ีเขารวมเสนอผลงานในการประชุมทางวชิาการ

Page 65: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 64 -

ตารางที่ 4 แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 รายตัวบงชี้

ภาควิชาคณิตศาสตร

ผลการดําเนินงาน องคประกอบ/ตัวบงช้ี เปาหมาย

ขอมูล ผลลัพธ

การบรรลุเปาหมาย

คะแนนประเมิน

องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร

หลักสูตร 4 - 6 บรรลุ 4

2.2 อาจารยประจําทั้งหมดวุฒิปริญญาเอก 11.5 x 100

อาจารยประจําทั้งหมด 48

28.5 40.35 ไมบรรลุ 3.36

2.3 อาจารยประจําทั้งหมดที่มีตําแหนงรอง

ศาสตราจารยและศาสตราจารย 7 x 100

อาจารยประจําทั้งหมด

24

28.5

24.56 บรรลุ 4.09

2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารยและบุคลากร

สายสนับสนุน 5 - 7 บรรลุ 5

2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 6 - 6 บรรลุ 4

2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการ

เรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 4 - 3 ไมบรรลุ 3

คาเฉล่ีย 4

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนา นักศึกษา

3.1 ระบบและกลไกการใหคําปรึกษาและ

บริการดานขอมูลขาวสาร 6 - 6 บรรลุ 4

3.2 ระบบและกลไกการสงเสริมกิจกรรม

นักศึกษา 5 - 6 บรรลุ 5

คาเฉล่ีย 4.5

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรือ

งานสรางสรรค 6 - 7 บรรลุ 5

4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรูจาก

งานวิจัยหรืองานสรางสรรค 4 - 5 บรรลุ 4

4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย 1,441,100

จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยประจํา

ที่ปฏิบัติงานจริง

108,000 22.5

64,048.89 ไมบรรลุ 1.78

คาเฉล่ีย 3.59

Page 66: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 65 -

ผลการดําเนินงาน องคประกอบ/ตัวบงช้ี เปาหมาย

ขอมูล ผลลัพธ

การบรรลุเปาหมาย

คะแนนประเมิน

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก

สังคม 4 - 4 บรรลุ 4

คาเฉล่ีย 4

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการประจําสวน

งานและผูบริหารทุกระดับของสวนงาน 6 - 7 บรรลุ 5

คาเฉล่ีย 5

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายใน 7 - 8 บรรลุ 4

9.20.2 ระบบและกลไกการปรับปรุงตาม

ขอเสนอแนะ 4 - 5 บรรลุ 5

คาเฉล่ีย 4.5

องคประกอบที่ 10 อัตลักษณ

10.30.1 ระบบและกลไกการพัฒนานักศึกษา

ตามอัตลักษณใหเปนบัณฑิตที่ คิดเปน

เดนประยุกต

5 - 5 บรรลุ 4

คาเฉล่ีย 4

คาเฉล่ีย 10 องคประกอบ 4.08

Page 67: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 66 -

ตารางที่ 5 (ส. 2) แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.)

จําแนกตามองคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ

ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน - 4.5 - 4.5 ดี

รวม 3.08 3.92 - 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี - ดี

ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ 9 องคประกอบ (เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.) อยูในระดับดี

(คาเฉล่ีย 4.08)

โดยมีองคประกอบท่ีอยูในระดับดีมาก จํานวน 1 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการ

จัดการ

องคประกอบท่ีอยูในระดับดี จํานวน 6 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบ

ท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องคประกอบท่ี 4 การวิจัย องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม และ

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หมายเหตุ : เกณฑการประเมิน คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน

คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุง

คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับพอใช

คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับดี

คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดําเนินงานระดับดีมาก

Page 68: รายงานการประเมินตนเอง ปี 2553

- 67 -

ตารางที่ 6 (ตวับงชี้รวม) แสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2553 (รวมตัวบงชี้ทุก

ประเภท) จําแนกตามองคประกอบ และมิติของระบบประกันคุณภาพ

มิติของระบบประกันคุณภาพ องคประกอบ

ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต รวม

ผลการประเมิน

2. การผลิตบัณฑิต 3.73 4 - 3.91 ดี

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา - 4.5 - 4.5 ดี

4. การวิจัย 1.78 4.5 - 3.59 ดี

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม - 4 - 4 ดี

7. การบริหารและการจัดการ - 5 - 5 ดีมาก

8. การเงินและงบประมาณ - - - - -

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายใน - 4.5 - 4.5 ดี

10. อัตลักษณ - - 4 4 ดี

รวม 3.08 3.92 4 4.08 ดี

ผลการประเมิน พอใช ดี ดี ดี

ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ 10 องคประกอบ (รวมตัวบงชี้ของ สมศ., มจพ.) อยูในระดับดี

(คาเฉล่ีย 4.08)

โดยมีองคประกอบท่ีอยูในระดับดีมาก จํานวน 1 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการ

จัดการ

องคประกอบท่ีอยูในระดับดี จํานวน 6 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบ

ท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องคประกอบท่ี 4 การวิจัย องคประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และองคประกอบท่ี 10 อัตลักษณ

หมายเหตุ : เกณฑการประเมิน คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน

คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดําเนินงานตองปรับปรุง

คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับพอใช

คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดําเนินงานระดับดี

คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดําเนินงานระดับดีมาก