13
ขอสังเกตคําบาลีและสันสกฤต ขอสังเกตคําบาลีและสันสกฤต ๑. สวนมากเปนคําหลายพยางค เชน บิดา อาคาร กุญชร สวรรค ฯลฯ ๒. มีตัวสะกดไมตรงตามมาตรา เชน พยัคฆ รัชกาล สัญญา มัตสยา ฯลฯ ๓. มีตัวการันต เชน สังข นิตย สัตว หลักสังเกตทั่วไป

สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

ขอสังเกตคําบาลีและสันสกฤตขอสังเกตคําบาลีและสันสกฤต

๑. สวนมากเปนคําหลายพยางค เชน บิดา อาคาร กุญชร สวรรค ฯลฯ

๒. มีตัวสะกดไมตรงตามมาตรา เชน พยัคฆ รัชกาล สัญญา มัตสยา ฯลฯ

๓. มีตัวการันต เชน สังข นิตย สัตว

หลักสังเกตทั่วไป

Page 2: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

หลักสังเกตเฉพาะคําบาลีหลักสังเกตเฉพาะคําบาลี๑. มีตัวสะกดและตัวตาม ซึ่งเปนพยัญชนะวรรคเดียวกัน ดังนี้

ตัวสะกด ตัวตาม ตัวอยางพยัญชนะแถวท่ี ๑ พยัญชนะแถวท่ี ๑ , ๒ อุกกาบาต , สักกะ ,

ทุกข , มัจฉา พยัญชนะแถวท่ี ๓ พยัญชนะแถวท่ี ๓ , ๔ อัคคี , พยัคฆ , วัชชี ,

มัชฌิมพยัญชนะแถวท่ี ๕ พยัญชนะแถวท่ี ๑ , ๒ ,

๓ , ๔ , ๕สัมปทาน , สัมผัส , พิมพ ,คัมภีร ,สัมมนา

Page 3: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

๒. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิม แลวใชตัวสะกดตามแทน

รัฏฐ เขียนเปน รัฐทิฏฐิ เขียนเปน ทิฐิ

วัฑฒน เขียนเปน วัฒนวุฑฒิ เขียนเปน วุฒิอัฏฐิ เขียนเปน อัฐิ

อัฑฒจันทร เขียนเปน อัฒจันทร

เชน

Page 4: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

๓. ตัวสะกดและตัวตามที่เปนพยัญชนะเดียวกนั บางทีก็ตดัเสียตัวหนึ่ง เชนเขตต เขียนเปน เขตจิตต เขียนเปน จิตบุญญ เขียนเปน บุญนิสสัย เขียนเปน นิสัยยุตติ เขียนเปน ยุติวิชชา เขียนเปน วิชา

Page 5: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

อัญญประกาศ เขียนเปน อัญประกาศอิสสระ เขียนเปน อิสระ

อนุสสรณ เขียนเปน อนุสรณ๔. นยิมใช ฬ เชน กีฬา , จุฬา , โอฬาร , อาสาฬหบูชา๕. ไมมี ศ , ษ ๖. ไมม ี ฤ , ฤา , ไอ , เอา๗. ไมมี รร ( หัน )๘. ไมนิยมคําควบกล้ํา

Page 6: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

๙. มีสระ ๘ ตัว ไดแก อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๑๐.สังเกตจากการใช “ ริ ” เชน อริยะ, ภริยา, จริยา, อัจฉริยะ ,อิสริยะ

Page 7: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

หลักสังเกตเฉพาะคําสันสกฤตหลักสังเกตเฉพาะคําสันสกฤต๑. มีสระ ๑๔ ตัว ไดแก อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา๒. ใช ร และ รร หัน เชน อารยะ , กรรม , สวรรค , ภรรยา ,จรรยา ,

หรรษา , อัศจรรย , ไอศวรรย ๓. สังเกตจากการใช ส , ศ , ษ

“ส” ใชนําหนาพยัญชนะวรรค ตะ ( ต ถ ท ธ น ) เชนพัสดุ สถาน อัสดง สถิต สถาปนา “ ศ , ษ” มีใชเฉพาะ ภาษาสันสฤตเทานั้น เชน ศีรษะ , อภิเษก๔. สังเกตจากการใช ฑ เชน กรีฑา , ครุฑ , จุฑา ๕. สังเกตจากการใช ณ ตามหลัง ร เชน พราหมณ , นารายณ ,

อรัณย , อรุณ , ปราณี

Page 8: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

หลักสังเกตเฉพาะคําสันสกฤต หลักสังเกตเฉพาะคําสันสกฤต ( ( ตอ ตอ ))๖. สังเกตจากการใช “ เคราะห” (ครุห) เชน วิเคราะห ,

สังเคราะห , อนุเคราะห๗. ไมมีหลักการสะกดตัวแนนอน พยัญชนะตัวหนึ่งสะกด

พยัญชนะตัวใด ในวรรค จะ ตามก็ได หรือไมมีตัวตามก็ได เชน อัคนี , มัตสยา , อาชญา , สัปดาห , พนัส

๘. ใช ฤา ,ฤา ,ไอ ,เอา เชน ฤทธิ์ , ฤาษี ,ไมตรี ,เสาร๙. นิยมใชคําควบกล้ํา เชน จักร, สมัคร, เพชร, มิตร, ยนตร

สมุทร, อินทร, ทรัพย, สัตย, อัศวะ, พิศวาส

Page 9: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

แนวการเทียบคําบาลีสันสกฤตแนวการเทียบคําบาลีสันสกฤตบาลีบาลี สันสกฤตสันสกฤต

กัญญา กันยากัป ( ป ) กัลป

การุญ ( ญ ) การุณยกิตติ กีรติ , เกียรติกีฬา กรีฑาขณะ กษณะ

ขัตติยะ กษัตริย

Page 10: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

บาลีบาลี สันสกฤตสันสกฤตขัย กษัย

ขีระ กษีระ , เกษียรครุฬ ครุฑจักขุ จักษุจุฬา จุฑาฐาน สถานติณ ตฤณ

Page 11: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

บาลีบาลี สันสกฤตสันสกฤตถาวร สถาวร , สถาพร

ธัม ( ม ) ธรรมนักขัต ( ต ) นักษัตร

นิจ ( จ ) นิตยบุคคล บุทคล

บุญ ( ญ ) บุณยบุปผา บุษบา

Page 12: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

บาลีบาลี สันสกฤตสันสกฤตปฐม ประถม

ปจจุบัน ปรัตยุบันปจฉิม ปศจิม ,ปรัศจิมปญญา ปรัชญา

Page 13: สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]

บาลี สันสกฤตอริยะ อารยะอัจฉริยะ อัศจรรยอัจฉรา อัปสรอัต (ต) , อัตตา อาตมัน ,อาตมารัตติ ราตรี