58
1 การจัดการวัสดุรีไซเคิล

นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

  • Upload
    -

  • View
    78

  • Download
    3

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการบรรยายการจัดตั้งธนาคารขยะในโรงเรียน

Citation preview

Page 1: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

1

การจัดการวัสดุรีไซเคิล

Page 2: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน ((Global WarmingGlobal Warming))

สาเหตุมาจากก๊าซเรือนกระจก

ทีเพิมขึนเรือยๆ

Page 3: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

3

ก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก ((Greenhouse gases)Greenhouse gases)

Page 4: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

ก๊าซเรือนกระจกมาจากไหนก๊าซเรือนกระจกมาจากไหน

Page 5: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

การแยกขยะลดภาวะโลกร้อนได้อย่างไรการแยกขยะลดภาวะโลกร้อนได้อย่างไร

- ขยะโดยส่วนใหญ่จะนําไปฝังกลบและเผาไหม้ซึงการเผาไหม้จะทําให้เกิดก๊าซ

เรือนกระจกได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซมีเทน

- ถ้ามีการคัดแยกขยะจะทําให้นําขยะบางประเภทมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) และนํา

ขยะบางประเภทไปรีไซเคิลได้ (Recycle) ซึงเป็นการลดปริมาณขยะทีจะนําไปเผา =

ลดก๊าซเรือนกระจกนันเอง

- นอกจากนีขยะพลาสติกทีไม่สามารถนําไปรีไซเคิลได้นันสามารถนําไปผลิต

นํามันได้ โดยผ่านกระบวนการไพโรไลซิส เพราะพลาสติกก็ประกอบไปด้วย

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนนันเอง

Page 6: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

6

ขยะ หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า

เศษวัสดุ ถุงพลาสติก ภาชนะทีใส่อาหาร รวมถึง มูลฝอยอันตราย

และมูลฝอยติดเชือ ขยะมูลฝอยสามารถจําแนกได้เป็น 4 ประเภท

ตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษ

ความหมายขยะมูลฝอย

Page 7: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

7

1. ขยะมูลฝอยทีย่อยสลายได้

เป็นขยะทีมาจากธรรมชาติหรือสิงมีชีวิต สามารถย่อยสลาย

ได้ง่ายโดยกระบวนการทางธรรมชาติ เช่น เศษอาหาร ผักผลไม้

ซากพืช ซากสัตว์ ใบไม้ เป็นต้น คิดเป็น ร้อยละ 46

Page 8: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

8

2. ขยะทัวไป

เ ป็นขยะที ย่อยสลายได้ยาก ไ ม่คุ้ มค่า ในการนําไปใช้

ประโยชน์ใหม่ เช่น ซองบะหมีกึงสําเร็จรูป เปลือกลูกอม ถุงขนม

ถุงพลาสติกปนเปือนอาหาร โฟมเปือนอาหาร ฟอล์ยเปือนอาหาร เป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 9

Page 9: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

9

3. ขยะทีนํากลับมาใช้ใหม่ได้

เป็นขยะของเสียบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้ ซึงสามารถนํา

กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ หรือรีไซเคิลได้ เช่น กระดาษ

พลาสติก แก้ว โลหะและกล่องเครืองดืม เป็นต้น คิดเป็น

ร้อยละ 42

Page 10: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

จุดประสงค์ของการแยกขยะเป็นประเภทต่างๆจุดประสงค์ของการแยกขยะเป็นประเภทต่างๆ

ประเภท จุดประสงค์

1. กระดาษ

2. พลาสติก

3. โลหะและแก้ว

4. ขยะทีไม่จัดอยู่ใน 3 ประเภทข้างต้น

- กระดาษสามารถนําไปย่อยเป็นเยือ

กระดาษแล้วนํากลับมาใช้ใหม่ได้

- นําไปกลับไปผลิตเป็นพลาสติกได้อีก

- นําไปหลอมแล้วนํากลับมาใช้ใหม่

Page 11: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

อะไรบ้างคือขยะประเภท อะไรบ้างคือขยะประเภท ““กระดาษกระดาษ””

แกนกระดาษทิชชู กล่องสบู่ กล่องโอวัลติน กล่องนําผลไม้

กล่องกระดาษ หนังสือพิมพ์ กระดาษสี

Page 12: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

อะไรบ้างคือขยะประเภท อะไรบ้างคือขยะประเภท ““พลาสติกพลาสติก””

ขวดพลาสติกครีมเทียม กระป๋องแป้ง ขวดเครืองดืมพลาสติก

กระปุกหมากฝรัง แก้วนําพลาสติก ขวดนําพลาสติก

Page 13: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

อะไรบ้างคือขยะประเภท อะไรบ้างคือขยะประเภท ““แก้วและโลหะแก้วและโลหะ””

แก้ว เช่นขวดชนิดต่างๆ

ขวดนํ าอัดลมเล็ก-ใหญ่

ขวดนํ าปลา

กระป๋องนําผลไม้ กระป๋องนม กระป๋องนําอัดลม

Page 14: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

14

4. ขยะอันตราย

เป็นขยะทีมีการปนเปือนของสารพิษต้องเก็บรวบรวมแล้วนําไป

กําจัดอย่างถูกวิธี เช่น กระป๋องยาฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย กระป๋องบรรจุสี

แบตเตอรี หลอดไฟหมดอายุ นํายาล้างเล็บ นํายาย้อมผม นํามันเครือง นํายาทําความสะอาดสุขภัณฑ์ เป็นต้น ร้อยละ 3

Page 15: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

15

ขยะอันตราย

ขยะทัวไป

ขยะย่อยสลาย

ขยะรีไซเคิล

องค์ประกอบของขยะมูลฝอย

ขยะย่อยสลาย 46%

ขยะทัวไป 9%

ขยะอันตราย 3%

ขยะรีไซเคิล 42%

Page 16: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

16

ประเภท ระยะเวลา

เศษกระดาษ 2-5 เดือน

เปลือกส้ม 6 เดือน

ถ้วยกระดาษเคลือบ 5 ปี

ก้นกรองบุหรี 12 ปี

รองเท้าหนัง 25-40 ปี

กระป๋องอลูมิเนียม 80-100 ปี

ถุงพลาสติก 450 ปี

โฟม ไม่ย่อยสลายควรหลีกเลียงการใช้

ทีมา : เคล็ดลับในการจัดการขยะ กรมส่งเสริมคุณภาพสิงแวดล้อม 2544

ระยะเวลาย่อยสลายของขยะแต่ละประเภทตามธรรมชาติ

Page 17: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

17

การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่าง ๆการจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่าง ๆ

Page 18: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

18

นํามาทําอาหารสัตว์

ปุ ๋ ยหมัก นําปุ ๋ ยชีวภาพ

ก๊าซชีวภาพขยะมูลฝอยทีย่อยสลายได้

การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ

Page 19: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

19

ขยะอันตรายขยะอันตราย คัดแยกนําไปกําจัดให้ถูกวิธี

การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ

Page 20: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

20

ฝากธนาคารวัสดุ รีไซเคิล

ขายร้านรับซือของเก่า

ประดิษฐ์สิงของ

ขยะมูลฝอยนํากลับมาใช้ขยะมูลฝอยนํากลับมาใช้ใหม่ได้ใหม่ได้

การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ

Page 21: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

21

สิงประดิษฐ์จากวัสดุรีไซเคิล

Page 22: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

22

สิงประดิษฐ์จากวัสดุรีไซเคิล

Page 23: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

23

นําไปฝังกลบอย่างถูก

สุขลักษณะขยะทัวไปขยะทัวไป

การจัดการขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ

Page 24: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

24

การรีไซเคิล (Recycle)

หมายถึง การนําวัสดุทีใช้แล้วหรือวัสดุเสียทีเกิดขึน

ระหว่างการผลิตกลับมาผ่านกระบวนการแปรรูปเพือผลิตเป็น

ผลิตภัณฑ์ใหม่เช่นนําขวดแก้วเก่ามาบดแล้วหลอมเพือนํากลับ

มาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตขวดแก้วใหม่

Page 25: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

25

วัสดุทีสามารถรีไซเคิลได้

กระดาษ ได้แก่

กระดาษสมุด

กระดาษหนังสือ

หนังสือพิมพ์

นิตยสาร

จดหมาย

กล่องกระดาษแข็งทุกชนิด

ถุงกระดาษ

พลาสติก ได้แก่

ขวด

กล่อง

ภาชนะต่าง ๆ

กล่องเครืองดืม ได้แก่ กล่องนม กล่องนําผลไม้ กล่องนํากะทิ

Page 26: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

26

โลหะได้แก่

อุปกรณ์และเครืองมือโลหะ

กระป๋องอาหาร ผลไม้ เครืองดืม

แก้วได้แก่

ขวดแก้วทุกชนิดทั งทีใส สีนํ าตาล

สีเขียว

เสือผ้าได้แก่

ผ้าฝ้าย ไนลอน นํามาผลิตกระดาษ

Page 27: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

27

สีเขียว รองรับขยะทัวไป ได้แก่ เศษ

อาหาร ถุงพลาสติกเปือนอาหาร

กล่องโฟม แก้วนํากระดาษ ซอง

บะหมี ซองขนม

Page 28: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

28

สีเหลือง รองรับวัสดุทีสามารถ

รีไซเคิลได้คือพลาสติก แก้ว โลหะ กล่องเครืองดืม

Page 29: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

29

สีนําเงิน รองรับขยะพวกกระดาษ

ใช้แล้ว 2 หน้า กระดาษทัวไป

วารสาร นิตยสาร กล่องขนม กระดาษหนังสือพิมพ์

Page 30: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

30

เป็นการรับฝากวัสดุรีไซเคิลจากสมาชิก โดยธนาคารจะมีรายได้

จากส่วนต่างจากราคาทีรับฝากจากสมาชิกและรายได้จากการจําหน่าย

ให้กับร้านรับซือของเก่า

ธนาคารวัสดุรีไซเคิล

2. การจัดตังธนาคารวัสดุรีไซเคิล

Page 31: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

31

วิธีดําเนินงานจัดตังธนาคารขยะรีไซเคิล

ประชุมผู ้ทีเกียวข้อง

จัดทําแผนงานดําเนินการ

กําหนดคณะทํางานธนาคารและจัดหาวัสดุอุปกรณ์

ทีเกียวข้อง เช่น เครืองชังนําหนัก เครืองคิดเลข

จัดทําแบบฟอร์มธนาคาร

ฝึกอบรมและประชาสัมพันธ์โครงการ

เปิดดําเนินการและรับสมาชิก

ประเมินผลโครงการและสรุปแนวทางแก้ไขปัญหา

Page 32: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

32

ผู้จัดการ

ธนาคารขยะรีไซเคิล

โครงสร้างเจ้าหน้าที

ธนาคารขยะรีไซเคิล

เจ้าหน้าทีฝ่ายสมาชิก

และประชาสัมพันธ์

เจ้าหน้าที

ฝ่ายบัญชีและการเงิน

เจ้าหน้าที

ขนถ่ายขยะ

เจ้าหน้าที

คัดแยกขยะ

Page 33: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

33

กํากับดูแลงานเกียวกับการรับฝาก การคัดแยกทีโรงคัดแยกขยะ

การติดต่อกับร้านรับซือขยะ

การกําหนดราคาขายรายเดือน

การรายงานยอดฝาก-ถอน

การดําเนินงานภายในธนาคารให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

เจ้าหน้าทีฝ่ายสมาชิกและประชาสัมพันธ์

รับสมัครสมาชิก เก็บรวบรวมข้อมูลของสมาชิก เสนอตังราคาซือขายขยะประจําเดือนโดยอ้างอิงตามราคาตลาด

การติดต่อร้านซือขายขยะในแต่ละเดือน

ประชาสัมพันธ์โครงการ

ผู้จัดการธนาคารขยะรีไซเคิล

Page 34: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

34

เจ้าหน้าทีฝ่ายบัญชีและการเงิน

บริการแก่สมาชิกธนาคารในการรับฝากขยะหรือถอนเงินจากบัญชี

ตรวจสอบคุณลักษณะขยะ ชังนําหนักทีสมาชิกนํามาฝาก

สรุปผลประกอบการของธนาคารประจําวันและประจําเดือนส่งให้

ผู้จัดการธนาคารขยะพิจารณา

เจ้าหน้าทีขนถ่ายขยะ

ขนถ่ายขยะทีเกิดขึนไปยังโรงคัดแยกขยะ ดูแลความเรียบร้อยของถังขยะภายนอกอาคาร

ขนถ่ายและชังนําหนักขยะรีไซเคิลจากสมาชิกทีเป็นหน่วยงานใหญ่

Page 35: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

35

เป็นกําลังสําคัญ

คัดแยกขยะรีไซเคิลจากขยะประเภทอืน

เจ้าหน้าทีคัดแยกขยะ

Page 36: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

36

สิงทีต้องทําก่อนเปิดธนาคาร

เปรียบเทียบราคารับซือจากร้านรับซือของเก่าในพืนที ทําการเปรียบเทียบราคาร้านรับซือฯ ทุกเดือน เดือนละ 1 ครัง

ประกาศราคารับซือให้สมาชิกทราบล่วงหน้า 3 วันก่อนเปิดธนาคาร

Page 37: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

37

วันเปิดธนาคารขยะรีไซเคิลวันแรก(Kick-Off)

จะมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่นประกวดชุด

แฟนซีรีไซเคิล สิงประดิษฐ์จากขยะ เป็นต้น มี gift set แจกคนทีเปิดบัญชีวันแรกจนกว่าของ

จะหมด

Page 38: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

38

การดําเนินงานของสมาชิก

1. การสมัครสมาชิก

2. การฝากเงิน

3. การถอนเงิน

Page 39: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

39

การดําเนินงานของสมาชิก

สมาชิก

นักเรียนและคณะครูในโรงเรียน

กรอกใบสมัคร

รับสมุดคู่ฝาก

การสมัครสมาชิก

Page 40: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

40

สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล

สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล

(Recyclable Waste Bank)

ชือบัญชี Account Name

เลขทีบัญชี Account No. ลายมือชือ Signature

ว.ด.ป. รายการ จํานวน

(กก.)

ฝาก

(บาท)

ถอน

(บาท)

คงเหลือ

(บาท)ลงชือจนท.

Page 41: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

41

การฝากเงิน

สมาชิกนําวัสดุรีไซเคิลอย่างน้อย 1 กก.มาพร้อมสมุดคู่ฝาก

กรอกใบนําฝาก จนท.ตรวจสอบวัสดุรีไซเคิลและชั งนํ าหนัก

พร้อมคํานวณเงินบันทึกในสมุดคู่ฝาก

*** ผู ้จัดการธนาคารตรวจสอบความถูกต้องของใบนําฝากและบันทึกการรับฝากวัสดุรีไซเคิลให้สอดคล้องกัน

Page 42: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

42

เงือนไขการฝาก

นําสมุดคู่ฝากไปทุกครัง

ยอดคงเหลือในสมุดคู่ฝาก ต้องตรงกับยอดบัญชีของธนาคาร

สิทธิตามบัญชีเงินฝากไม่สามารถโอนหรือนําไปเป็นหลักประกันแก่

ผู้อืน เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากธนาคาร

ยอดคงเหลือในสมุดคู่ฝากต้องไม่ตํากว่า 20 บาท

การฝากทุกครังวัสดุรีไซเคิลทีนํามาฝากต้องไม่ตํากว่า 1.0 กิโลกรัม

เปิดบัญชีครังแรก ต้องมียอดฝากไม่ตํากว่า 1.0 กิโลกรัม และจะถอนเงินได้

ในครังถัดไป

ธนาคารขอสงวนสิทธิในการปิดบัญชีภายใน 1 ปี หากบัญชีไม่มีการ

เคลือนไหวและยอดคงเหลือตํากว่า 20 บาท และถือว่าเจ้าของบัญชีประสงค์ทีจะ

มอบเงินทีคงเหลือทังหมดให้กับโครงการฯ

Page 43: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

43

ใบนําฝาก

เลขทีบัญชี ....001/52.........................ว ันที......29.....กรกฎาคม......2552.........................

ชือบัญชี ...นายรักชาติ......ยอดประหยัด........................................

รายการ จํานวน

(กิโลกรัม)

ราคา /หน่วย

(บาท)

รวมเงิน (บาท)

ขวดนําพลาสติก 1

กระป๋องนําอัดลม 1

รวมเป็นเงิน

ยอดเงินเป็นตัวอักษร

ลงชือผู ้ฝาก...นายรักชาติ......ยอดประหยัด......ลงชือผู ้ร ับฝาก..................................................

Page 44: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

44

ใบนําฝาก

เลขทีบัญชี ....001/52.........................ว ันที......29.....กรกฎาคม......2552.........................

ชือบัญชี ...นายรักชาติ......ยอดประหยัด........................................

รายการ จํานวน

(กิโลกรัม)

ราคา /หน่วย

(บาท)

รวมเงิน (บาท)

ขวดนําพลาสติก 1 16 16

กระป๋องนําอัดลม 1 36 36

รวมเป็นเงิน

ยอดเงินเป็นตัวอักษร ห้าสิบสองบาทถ้วน

ลงชือผู ้ฝาก...นายรักชาติ......ยอดประหยัด......ลงชือผู ้ร ับฝาก.....นส.มัธยัสถ์...อดออม....................

Page 45: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

45

สมุดคู ่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล

(Recyclable Waste Bank)

ชือบัญชี Account Name

นายรักชาติ ยอดประหยัด

เลขทีบัญชี Account No. ..001/52.. ลายมือชือ Signature .นายรักชาติ ยอดประหยัด..

ว.ด.ป. รายการ จํานวน (กก.) ฝาก (บาท) ถอน (บาท) คงเหลือ (บาท) ลงชือ

จนท.

29 ก.ค. 52 2 2 52 - 52 น.ส.มัธยัสถ์

Page 46: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

46

การถอนเงิน

สมาชิกมาพร้อม

สมุดคู่ฝาก

บัตรประจําตัวนักศึกษา

หรือบัตรประจําตัวประชาชน

กรอกใบถอนเงิน จนท.ตรวจสอบความถูกต้อง

กับเอกสารของธนาคารและ

มอบเงินให้สมาชิก

Page 47: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

47

ใบถอนเงิน

เลขทีบัญชี .... 001/52......................วันที......7.....ธันวาคม......2552.........................

ชือบัญชี ...นายรักชาต.ิ........ยอดประหยัด............................................

จํานวนเงินทีถอนเป็นตัวเลข 20

ตัวอักษร ยีสิบบาทถ้วน

.....นายรักชาติ...ยอดประหยัด... .....นายรักชาต.ิ..ยอดประหยัด...

ลงชือผู้ถอน/ผู้ รับมอบอํานาจ ลงชือเจ้าของบัญชี

...นางสาวมัธยัสถ์...อดออม..........

ลงชือผู้รับถอน

Page 48: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

48

สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล

(Recyclable Waste Bank)

ชือบัญชี Account Name

นายรักชาติ ยอดประหยัด

เลขทีบัญชี Account No. ..001/52.. ลายมือชือ Signature .นายรักชาติ ยอดประหยัด..

ว.ด.ป. รายการ จํานวน (กก.) ฝาก (บาท) ถอน (บาท) คงเหลือ (บาท) ลงชือ

จนท.

29 ก.ค. 52 2 2 52 - 52 น.ส.มัธยัสถ์

7 ธ.ค.52 - - - 20 32 น.ส.มัธยัสถ์

Page 49: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

49

จะเป็นของหน่วยงานหรือของมหาวิทยาลัย

กรณีทีวัสดุรีไซเคิลเป็นทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย รายได้

จะเป็นของหน่วยงานหรือของมหาวิทยาลัย

หน่วยงานอาคาร

การฝากเงินของ

หน่วยงานอาคาร

สมาชิกมาพร้อม

วัสดุรีไซเคิล

สมุดคู่ฝาก

ใบแสดงปริมาณ

ขยะภายในอาคาร

กรอกใบนําฝาก จนท.ตรวจสอบวัสดุรีไซเคิล

และชังนําหนัก

พร้อมคํานวณเงินบันทึกใน

สมุดคู่ฝาก

Page 50: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

50

สมุดคู่ฝากธนาคารขยะรีไซเคิล

(Recyclable Waste Bank)

ชือบัญชี Account Name

อาคารวิทยาศาสตร์

เลขทีบัญชี Account No. ..001/52.. ลายมือชือ Signature .นายวินัย รักการฝาก...........

ว.ด.ป. รายการ จํานวน (กก.) ฝาก (บาท) ถอน (บาท) คงเหลือ (บาท) ลงชือ

จนท.

29 ก.ค. 52 2 2 52 - 52 น.ส.มัธยัสถ์

7 ธ.ค.52 - - - 20 32 น.ส.มัธยัสถ์

Page 51: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

51

หลังปิดทําการ

ธนาคารขยะรีไซเคิล

ขันตอนของเจ้าหน้าที

ธนาคารขยะรีไซเคิล

1. ในแต่ละวันเจ้าหน้าทีธนาคารจะทําการ 1.1 เก็บใบฝาก-ถอนเข้าแฟ้มเป็นหลักฐาน

1.2 ลงบันทึกในทะเบียนคุมสมาชิก

1.3 ลงบันทึกสรุปการฝาก-ถอนของสมาชิก

1.4 สรุปบันทึกการรับฝากวัสดุรีไซเคิลของสมาชิก

1.5 สรุปการคัดแยกวัสดุรีไซเคิลหลังจากแยกประเภทก่อนจําหน่าย

ให้ร้านรับซือของเก่า2. ในแต่ละเดือน จะสรุปการฝาก – ถอน บันทึกการขายวัสดุรีไซเคิลและสรุปบัญชี

รายรับ-จ่าย ทําให้ทราบกําไร-ขาดทุนให้แจ้งแก่ผู้บริหารของโรงเรียน

Page 52: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

52

ทะเบียนคุมสมาชิก

ธนาคารขยะรีไซเคิล

เลขทีบัญชี ชือ-สกุล วันแรกที

เปิดบัญชี

วันทีปิด

บัญชี

หมายเหตุ

001/52 นายรักชาติ

ยอดประหยัด

29 ก.ค. 52

002/52 น.ส.สุขใจ

รีไซเคิล

30 ก.ค. 52

Page 53: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

53

สรุปการฝาก-ถอน

เลขทีบัญชีสมาชิก..... 001/52..............................................................

นักศึกษา.นายรักชาต.ิ.ยอดประหยัด.. กลุ่มนักศึกษา หน่วยงาน ..................

ลําดับ วดป. ฝาก (บาท) ถอน (บาท) คงเหลือ

(บาท)

หมายเหตุ

1 29 ก.ค. 52 52.00 - 52.00

2 7 ธ.ค. 52 - 20.00 32.00

Page 54: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

54

บันทึกการรับฝากวัสดุรีไซเคิล (สําหรับเจ้าหน้าทีธนาคาร)

ประจําเดือน.........กรกฎาคม................พ.ศ....2552.........................

ลําดับ วันที

ประเภท/นําหนัก วัสดุทีร ับฝาก (กก.)

กระ

ดาษ

พลาสติก อลูมิ

เนียม

แก้ว กล่อง

เครืองดืม

อืน ๆ รวม

(กก.)

รวมเป็น

เงิน (บาท)

1 29 ก.ค.52 - 1 1 - - - 2 52

Page 55: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

55

บันทึกการคัดแยกวัสดุรีไซเคิล (สําหรับโรงคัดแยกขยะ)

ลําดับ ว.ด.ป.

ประเภท/นําหนัก วัสดุทีร ับฝาก (กิโลกรัม)

พลาสติก

แก้ว กระป๋องกล่อง

เครืองดืม

กระดาษ อืน

รวม

ก.ก.

หมาย

เหตุใส ขาว

ขุ่น

ขาว-

ดํา

สี หนังสือ

พิมพ์

1 31 ก.ค.52 2.0 3.0 - 3.5 2.0 1.5 1.0 0.5 - 13.5

2 31 ส.ค.52 1.0 1.0 2.2 - 3.0 2.0 1.0 1.0 0.5 11.7 เศษ

อาหาร

ถุงขนม

ฟอยล์

Page 56: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

56

สรุปรายรับ-จ่ายของธนาคาร

ประจําเดือน.........กรกฎาคม................พ.ศ....2556.........................

ลําดับ วันที รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ

1 30 ก.ค.56 ขายขยะ 500 - 500

2 5 ส.ค. 56 จ่ายเงินให้

สมาชิก

- 100 400

Page 57: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

57

ลําดับ รายการ ราคา/กิโลกรัม หมายเหตุ

1 กระดาษเศษ 1

2 กระดาษแข็ง 2

3 กระดาษขาว ดํา 4

4 หนังสือพิมพ ์ 4

5 พลาสติกรวม 7

6 พลาสติกใส 11

7 พลาสติกขุ ่ น 14

8 พลาสติกแข็ง 4

9 กระป๋ อง 3

10 ขวดแก้ ว 1

11 เหล็ก 6

12 กล่ องเครื่องดื่ม 1

13 แผ่ น cd 9

14 สายยาง 4

15 รองเท้ าบู ๊ ท 4

16 วิทยุเครื่องละ 20

17 ทีวีเครื่องละ 30

18 พลาสติกแข็ง 3

Page 58: นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]

58

ประโยชน์จากการจัดโครงการ

1. เกิดระบบการจัดการขยะทีดีและมี

ประสิทธิภาพในโรงเรียน

2. นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมี

ส่วนร่วมในการคัดแยกขยะและลดปัญหา

ด้านสิงแวดล้อมของโรงเรียน

3. สร้างรายได้และฝึกนิสัยการออมให้กับ

ผู้ทีเข้าร่วมโครงการ