28
หนวยที9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา 1.คํานิยามและรายละเอียดระบบปองกันอัคคีภัย ระบบทอน้ําดับเพลิง หมายถึง ระบบดับเพลิงที่มีน้ําอยูภายในทอและจะตองมีความดันน้ําเพียงพอที่จะใชงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ ความดันภายในทอดับเพลิงไดมาจากถังเก็บน้ําสูง เครื่องสูบน้ํา หรือจากถังอัดความดัน มีน้ําสํารองใชในการ ดับเพลิงอยางนอย 30 นาที ความดันไมต่ํากวา 60 ปอนด /ตารางนิ้ว (psi) อัตราน้ําไหล 500 แกลลอนตอนาที (gpm) การ ออกแบบใชมาตรฐาน วสท และ NFPA ระบบดับเพลิงภายในอาคารแบบตางๆ 1) ระบบสายฉีดน้ําดับเพลิง (fire hose reel system) 2) ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง ( sprinkler system) 3) ระบบโฟม (foam system) 4) ระบบกาซ (CO2) 5) ระบบกาซฮาลอน (Halon) 6) ระบบเคมีแหง (dry chemical system) 7) ระบบเคมีเปยก (wet chemical system) คํานิยามมาตรฐานการปองกันอัคคีภัย (มาตรฐาน ... E.I.T. Standard 3002-45) เครื่องสูบนน้ํารักษาความดัน (jockey pump) หมายถึง เครื่องสูบน้ําขนาดเล็ก เพื่อสูบน้ําทดแทนสวนที่รั่ว หรือสวนที่ใชใน การทดสอบ และจะไดไมตองทําใหเดินเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเมื่อไมจําเปน หรือทําใหเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเดินๆหยุดๆ และ ทํางานโดยอัตโนมัติโดยอาศัยแรงดัน (pressure switch) เครื่องสูบน้ําดับเพลิง หมายถึง เครื่องสูบน้ําที่สามารถสูบน้ําไมต่ํากวารอยละ 150 ของปริมาณน้ําที่กําหนด โดยมีแรงดันทาง ดานสงไมต่ํากวารอยละ 65 ของแรงดันที่กําหนดแรงดันน้ํา เมื ่อปดวาลวทางดานสงสนิทจะตองมีแรงดันไมเกินรอยละ 140 ของแรงดันที่กําหนด ประเภทของถังดับเพลิง แบงเปน 4 ประเภท คือ ประเภท . (class A) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากวัสดุติดไฟปกติ เชน ไม ผา กระดาษ ยางและพลาสติก ประเภท . (class B ) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากของเหลวติดไฟ เชน น้ํามันจารบี น้ํามันผสมสี น้ํามันชักเงา น้ํามันดิน และ กาซติดไฟตางๆ ประเภท . (class C) หมายถึง เพลิงที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา เชนไฟฟาลัดวงจร ประเภท . (class D ) หมายถึง เพลิงที่เกิดจากวัตถุที่เผาไหมได เชน แมกนีเซียม ซินโครเมี่ยม โซเดียม ลิเซียม และโปรแต สเซียม พัดลมระบายควัน หมายถึง พัดลมที่ถูกออกแบบมาใหใชกับการระบายอากาศหรือควันไฟที่มีอุณหภูมิสูงไมนอยกวา 200 องศาเซลเซียส พัดลมระบายอากาศ หมายถึง พัดลมที่ใชระบายอากาศออกจากบริเวณที่ตองการ และในบางกรณีสามารถจัดใหเปนพัดลม ระบายควันได ระบบทอน้ําดับเพลิงภายนอกอาคาร หมายถึง ระบบทอน้ําดับเพลิงที่ติดตั้งรอบอาคารสถานประกอบการเพื่อจายน้ําดับเพลิง ใหกับระบบดับเพลิงดวยความมุงหมายที่จะใหดับเพลิงอยางเดียวเทานั้น ระบบทอเปยก หมายถึง ระบบน้ําที่มีอยูในทอดับเพลิงพรอมที่จะใชงานไดทันทีตลอดเวลา ระบบทอยืน หมายถึง ทอสงน้ําและอุปกรณที่ใชสําหรับดับเพลิง

หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

  • Upload
    mao

  • View
    206

  • Download
    4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

หนวยท่ี 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา 1.คํานิยามและรายละเอียดระบบปองกันอัคคีภัย ระบบทอน้ําดบัเพลิง หมายถึง ระบบดับเพลิงที่มีน้ําอยูภายในทอและจะตองมีความดันน้ําเพียงพอที่จะใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ความดันภายในทอดับเพลิงไดมาจากถังเกบ็น้ําสูง เครื่องสูบน้ํา หรือจากถังอัดความดนั มีน้ําสํารองใชในการดับเพลิงอยางนอย 30 นาที ความดันไมต่ํากวา 60 ปอนด/ตารางนิ้ว (psi) อัตราน้ําไหล 500 แกลลอนตอนาที (gpm) การออกแบบใชมาตรฐาน วสท และ NFPA ระบบดับเพลิงภายในอาคารแบบตางๆ 1) ระบบสายฉีดน้ําดับเพลิง (fire hose reel system) 2) ระบบหวักระจายน้ําดับเพลิง ( sprinkler system) 3) ระบบโฟม (foam system) 4) ระบบกาซ (CO2) 5) ระบบกาซฮาลอน (Halon) 6) ระบบเคมแีหง (dry chemical system) 7) ระบบเคมีเปยก (wet chemical system) คํานิยามมาตรฐานการปองกนัอัคคีภัย (มาตรฐาน ว.ส.ท. E.I.T. Standard 3002-45) เคร่ืองสูบนน้าํรักษาความดนั (jockey pump) หมายถึง เครื่องสูบน้ําขนาดเล็ก เพื่อสูบน้ําทดแทนสวนที่ร่ัว หรือสวนที่ใชในการทดสอบ และจะไดไมตองทําใหเดินเครือ่งสูบน้ําดับเพลิงเมื่อไมจําเปน หรือทําใหเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเดินๆหยุดๆ และทํางานโดยอัตโนมัติโดยอาศยัแรงดนั (pressure switch) เคร่ืองสูบน้ําดับเพลิง หมายถึง เครื่องสูบน้ําที่สามารถสูบน้ําไมต่ํากวารอยละ 150 ของปริมาณน้ําที่กําหนด โดยมีแรงดันทางดานสงไมต่ํากวารอยละ 65 ของแรงดันทีก่ําหนดแรงดนัน้ํา เมื่อปดวาลวทางดานสงสนิทจะตองมีแรงดันไมเกนิรอยละ 140 ของแรงดันทีก่ําหนด ประเภทของถงัดับเพลงิ แบงเปน 4 ประเภท คือ ประเภท ก. (class A) หมายถงึ เพลิงที่เกิดขึน้จากวัสดุติดไฟปกติ เชน ไม ผา กระดาษ ยางและพลาสติก ประเภท ข. (class B ) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากของเหลวติดไฟ เชน น้ํามันจารบี น้าํมันผสมสี น้ํามันชักเงา น้ํามนัดิน และกาซติดไฟตางๆ ประเภท ค. (class C) หมายถงึ เพลิงที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา เชนไฟฟาลัดวงจร ประเภท ง. (class D ) หมายถึง เพลิงที่เกิดจากวัตถุที่เผาไหมได เชน แมกนีเซียม ซินโครเมี่ยม โซเดยีม ลิเซียม และโปรแตสเซียม พัดลมระบายควัน หมายถึง พัดลมที่ถูกออกแบบมาใหใชกับการระบายอากาศหรือควันไฟทีม่ีอุณหภูมิสูงไมนอยกวา 200 องศาเซลเซียส พัดลมระบายอากาศ หมายถงึ พัดลมที่ใชระบายอากาศออกจากบริเวณที่ตองการ และในบางกรณสีามารถจัดใหเปนพัดลมระบายควนัได ระบบทอน้ําดบัเพลิงภายนอกอาคาร หมายถึง ระบบทอน้ําดับเพลิงที่ติดตั้งรอบอาคารสถานประกอบการเพื่อจายน้ําดับเพลิงใหกับระบบดบัเพลิงดวยความมุงหมายทีจ่ะใหดับเพลิงอยางเดยีวเทานัน้ ระบบทอเปยก หมายถึง ระบบน้ําที่มีอยูในทอดับเพลิงพรอมที่จะใชงานไดทนัทีตลอดเวลา ระบบทอยืน หมายถึง ทอสงน้ําและอุปกรณที่ใชสําหรับดับเพลิง

Page 2: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

ระบบหัวกระจายน้ําดบัเพลิง หมายถึง ระบบสงน้ํา โครงขายระบบทอน้ําดับเพลิง วาลวควบคุม หวักระจายน้ําดับเพลิงและอุปกรณอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ หวักระจายน้ําดับเพลิงจะทําการดับเพลิงที่เกดิขึ้นทันทีอยางอัตโนมัติ ล้ินกันควัน (smoke damper) หมายถึง อุปกรณที่ติดตั้งไวเพื่อปองกันมิใหควันถูกสงตอไปยังสวนอืน่ๆของระบบสงลม ล้ินกันไฟ (fire damper) เปนอุปกรณที่ติดตัง้ไวเพื่อกันมิใหไฟถูกสงตอไปยังสวนอืน่ๆ ของระบบสงลม ทํางานโดยอัตโนมัติ และทนไฟไดไมนอยกวาโครงสรางที่ติดตั้งอยู เสนทางหนีไฟ (means of egress) หมายถึง ทางที่ตอเนื่องและไมมีอุปสรรคไมวาจากตําแหนงใดๆ อาคารไปยังทางสาธารณะโดยตลอดเสนทาง แบงออกเปน 3 สวน 1) ทางไปสูทางหนีไฟ (exit access) 2) ทางหนีไฟ (exit) 3) ทางปลอยออก (exit discharge) หัวกระจายน้ําอัตโนมัติ (automatic sprinkler) หมายถึง หวักระจายน้ําดบัเพลิงที่จะเปดออกอัตโนมตัิใหน้ําไหลออกมาดับเพลิงทันทีเมื่อความรอนจากเพลิงไหมทาํใหอุณหภูมิบริเวณที่ตดิตั้งสงูกวาอณุหภูมทิํางาน (temperature rating) ของหัวกระจายน้ําดับเพลิงนั้น หัวฉีดน้ําดับเพลิง (fire hose nozzle ) หมายถึง อุปกรณที่ใชฉีดน้ําเพื่อการดับเพลิงทาํจากโลหะที่มนี้ําหนกัเบา ปลายหัวอาจปรับลักษณะการฉีดน้ําได ปลายอีกดานเปนขอตอสวมเรว็ หัวดับเพลิง (hydrant) หมายถึง หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงติดตั้งอยูภายนอกอาคารของสถานประกอบการ หัวรับน้ําดับเพลิง หมายถึงขอตอสําหรับพนักงานดับเพลิงใชตอสายสงน้ํา เพื่อสงน้ําเขาไปในระบบดับเพลิง สปริงเกอรน้ํา (Sprinkler) หมายถึง หัวฉีดน้ําซึ่งจะทําการฉีดน้ําไดเองโดยอัตโนมัติ เมื่ออุณหภูมิในบริเวณนั้นสูงจนถึงจุดที่กําหนด 2. คํานิยามและรายละเอียดระบบสุขาภิบาล ระบบทอภายในอาคาร หมายถึง ระบบทอทุกชนิดที่มอียูในอาคาร ซ่ึงมีไวลําเลียงทัง้น้ําดีและระบายน้ําทิ้ง เพื่อการจายน้ําเขาเครื่องสุขภัณฑตางๆ และระบายน้ําเสีย จะรวมถึง ทอประปา (water piping) หมายถึง ทอทีใ่ชจายน้ําเพื่อการใชและดื่ม ทอน้ําเสีย (waste water piping) หมายถึง ทอที่ใชระบายน้ําทิ้งจาก อางลางมือ อางอาบน้ํา อางซักลาง นิยมใชทอพีวีซี หรือทอเหล็กอาบสังกะสี (galvanized steel pipes) ทอโสโครก หมายถึง ทอทีใ่ชระบายน้ําโสโครกจากโถสวม และโถปสสาวะ นิยมใชทอเหล็กอายยาง หรือทอพวีีซี ทอระบายอากาศ (vent pipe) หมายถึงทอที่ทําหนาที่ใหอากาศมีการไหลถายเทเขา หรือออกจากทอระบายน้ําเพื่อชวยใหน้ําทิ้งไหลไดสะดวก รักษาระดับน้ําในการดกักลิ่นเอาไว และระบายกาซภายในทออกสูบรรยากาศ ทอระบายน้ําฝน หมายถึงทอที่ใชในการระบายน้ําฝนจากหลังคากันสาด รวมทั้งทางเทาออกไปสูทอระบายน้ําสาธารณะ แยกออกจากทอน้ําทิ้งอื่นๆ 3. คํานิยามและรายละเอยีดระบบปรับอากาศและระบายอากาศ กลองลม (plenum) หมายถึง กลองที่มีทางลมเขาหรือออกหลายทาง กับดักเสียง (sound trap) หมายถึง อุปกรณที่ใชลดการสงทอดเสียงไปในระบบทอลมใหนอยลง การบุภายใน (lining) หมายถึง การบุภายในของอุปกรณ หรือทอสงลมเพื่อวัตถุประสงคที่จะใชเปนฉนวนหรือลดระดับเสียง หรือทั้งสองอยาง

Page 3: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

การปรับดุล (balancing) หมายถึง 1) การปรับเพื่อใหสถานะของทั้งสองสิ่งเทากัน 2) การปรับอัตราการไหลของๆไหลใหไดคาตามที่กําหนดไวลวงหนา เชน การปรับอัตราการไหลของน้ําเขาสูคอยลเย็น

การหุมทอลม (duct insulation) หมายถึง การหุมภายนอกทอลม หุมภายนอกตัวถังพดัลม หุมภายนอกกลองลม รวมถึงวัสดุตางๆที่ใช เชนฉนวน ส่ิงรัดทอ วัสดุทาทอ และสิ่งหุมทอ ขอตอออน (flexible connector) หมายถึง ขอตอที่ออนตัวไดสําหรับการติดตั้งในระบบทอ เพื่อชวยลดการสั่นสะเทือนจากเครื่องจักรกล หรือสวนที่ส่ันสะเทือนมิใหสงทอดความสั่นสะเทือนไปยังระบบทอ คอนเดนซิ่งยนูิต (condensing unit) หมายถึงเครื่องควบแนนพรอมคอมเพรสเซอรลัอุปกรณประกอบครบชุด คอนเดนเซอรระบายความรอนดวยน้ํา- ลม (evaporative condenser) หมายถึงเครื่องควบแนนที่ระบายความรอนโดยการผานอากาศ และน้ําลงไปบนผิวระบายความรอนพรอมกัน คอยลทําความเย็น (cooling coil) หมายถึง แผงทอซ่ึงมีน้ําหรือสารทําความเยน็อยูภายในทอและสารที่ตองการถายความรอน เชนอากาศไหลผานอยูภายนอกทอ แผงสวนใหญจะมรคลีบอยูภายนอกทอดวย คูลล่ิงทาวเออร (cooling tower) หมายถึงอุปกรณสําหรับระบายความรอนของน้ําดวยการโปรยน้ําหรือพนน้ําออกมาเปนฝอยเพื่อใหสัมผัสกับอากาศที่ผานเขาไปทําใหความรอนของน้ําระบายออกสูอากาศ บริภัณฑสงลม (air handling equipment) หมายถึงอุปกรณที่เกีย่วของกบัการสงลม เชน พัดลม ชุดแฟนคอยล เคร่ืองสงลม (air handing unit: AHU ) หมายถึง พัดลม คอยลทําความเยน็ แผนกรองอากาศรวมอยูในเครื่องสงลมเย็น ตวัถังเครื่องเดียวกัน ชองผาน (sleeve) หมายถึง ชองที่เตรียมไวลวงหนาเพื่อใหทอตางๆทะลุผาน ชองลม หมายถึง ชองเกล็ดสําหรับจายลมหรือรับลมใหผานเขาหองปรับอากาศ ชุดแผนรับปรมิาณลม (damper) หมายถึงล้ิน หรือแผนที่ใชสําหรับควบคุมปริมาณการไหลของลมหรือของของไหลอื่นๆ ชุดแฟนคอยลยูนิต (fan-coil unit) หมายถึง เครื่องสงลม ประกอบดวยอุปกรณ พัดลม มอเตอรขับพัดลม ชุดคอยลเย็น ท่ีกรองฝุนผง หรือแผงกรองอากาศ ชุดแฟนคอยลจะมีอัตราการสงลมนอยกวาเครื่องสงลม (AHU) มาก แดมเปอรกันควัน (smoke damper) หมายถึง แดมเปอรทีต่ิดตั้งไวเพื่อมใิหลมและควนัไฟถูกสงตอไปยังสวนอืน่ๆ ของทอลม ทํางานโดยอัตโนมัติ แดมเปอรกันไฟลาม (fire damper) หมายถึงแดมเปอรที่อยูในระบบทอลมเพื่อปองกันไมใหควันหรือเปลวไฟแพรกระจาย จากบริเวณหนึง่ไปสูบริเวณอืน่ได ถังพัก (accumulator) หมายถงึ ถังพักสําหรับสารทําความเย็นที่อยูในสถานะของเหลวทางดานความดันต่ํา ทอออน (ลม) (flexible duct) หมายถึง ทอลมที่มีโครงสรางซึ่งสามารถวางใหคดเคีย้วไปมาไดโดยไมตองใชทองอ เทอรโมสตัส (thermostat) ฃอุปกรณควบคมุไฟฟาชนดิหนึ่งซึ่งทํางานโดยการตอยสนองตออุณหภูม ิผนงักันไฟ (fire wall) หมายถึง ผนังที่มีคุณสมบัติทนไฟแข็งแรงเพยีงพอเมื่อเกิดไฟไหม มีหนาที่กันไฟไมใหลามไปยังสวนอ่ืนๆของอาคาร แผงกรองอากาศ (air filter) หมายถึงอุปกรณสําหรับกรองฝุน ผง ในอากาศ พัดลม (fan) หมายถึง อุปกรณที่ทําใหลมเคลื่อนที่ไป พัดลมดูดท้ิง (exhaust fan) หมายถึง พัดลมที่ใชสําหรับดูดอากาศออกจากบริเวณที่ตองการเปลี่ยนอากาศใหม เชน พัดลมดูดอากาศทิ้งจากโรงครัว พัดลมดูดอากาศทิ้งจากบริเวณหองน้ํา ระดับชั้นพดัลม (fan class of construction) หมายถึงการกาํหนดระดับชัน้ของพัดลมหอยโขง แบงตามความดัน

Page 4: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

ระบบทอลม (duct system) หมายถึง ทอสงลม ทอลมกลับ ทอลมภายนอก หัวกระจายลม เกล็ดลมสงลมกลับ แดมเปอร ระบบทําความเย็น (refrigerating system) หมายถึง ระบบการทําความเย็นที่ประกอบดวยอุปกรณทางกล ไฟฟา อ่ืนๆ ลมกลับ (return air) หมายถึง ลมชึ่งหมุนเวยีนกลับจากหองปรับอากาศ และจะผานเขาไปในเครื่องสง ลมเย็น เพือ่ทําใหเย็นลงกอนที่จะจายกลับไปในหองปรับอากาศใหม อากาศใหม (fresh air; outdoor air) หมายถงึ อากาศภายนอกที่ยังไมผานกระบวนการปรับมากอน อุปกรณตรวจจับควัน หมายถึง เครื่องมือที่ใชวงจรอิเลคทรอนิคส ในการตรวจความเขมขนของควันไฟ (smoke detector) แลวสงสัญญาณใหระบบควบคุม เพื่อควบคุมอุปกรณตางๆ ที่ใชกับระบบระบายควนั อุปกรณลดการสั่นสะเทือน (vibration isolator) หมายถึง อุปกรณที่ใชลดการสั่นสะเทอืนจากเครื่องจักร เชนชุดสปริงใชรองฐานปมน้ํา นิยามตามมาตรฐานระบบเครื่องทําความเยน็และอุปกรณและมาตรฐานการติดตั้งระบบการปรับภาวะอากาศ ( มาตรฐาน ว.ส.ท. E.I.T Standard 3003-18) มีดังนี ้เช็ควาลว (check valve) วาลวที่ยอมใหสารความเยน็ไหลในทิศทางเดยีว เคร่ืองอัด (compressor) หมายถึง อุปกรณที่เพิ่มความดนัของสารความเย็นที่อยูในสภาวะที่เปนไอ ระดับทําความเย็นโดยตรงหรือระบบโดยตรง หมายถึง ระบบการทําความเย็นซึ่งติดตัง้อีแวพพอเรเทอรไวในบริเวณที่ตองการความเยน็จากระบบนี้อากาศที่ไหลหมุนเวยีนในบริเวญนั้นถูกพัดผานคอยลของอีแวพพอเรเตอรนี ้ระบบทําความเย็นโดยออม หมายถึง ระบบการทําความเย็นซึ่งทําใหของเหลว เชนน้าํเกลือหรือน้ําธรรมดา ใหเยน็ดวยสารทําความเยน็แลวทําใหของเหลวนั้นไหลหมนุเวียนไปยังบริเวณที่ตองการใหเยน็ หรือไปทําความเยน็กบัอากาศที่ไหลหมุนเวยีนอยูในบริเวณนัน้ อุปกรณรับสารความเย็นเหลว ( liquid receiver ) หมายถึงอุปกรณในระบบทําความเย็นอยูทางดานความดันสูงของระบบ สําหรับเก็บความเย็น สารความเย็น (refrigerant) หมายถึง สารที่ทําใหเกิดการทําความเย็นโดยดูดความรอนเมื่อขยายตวั หรือเปลี่ยนสภาพจากของเหลวเปนไอ สารนี้ในสภาพเปนไอถาไดระบายความรอนออกจะคืนสภาพเปนของเหลวอกี ระบบทําความเย็น (refrigeration system) หมายถึง ระบบที่มีอุปกรณหลายอยางมาประกอบกันและมีสารความเย็นไหลวนเวียนเพื่อดดูความรอน และระบายความรอน ระบบแยกสวน (split system) หมายถึง ระบบทําความเย็น ซ่ึงเครื่องอัดหรือเครื่องควบแนนแยกตางหากจากอีแวพพอเรเทอร อุปกรณแบบเชลล (shell type apparatus) หมายถึงอุปกรณความดันที่บรรจุสารทําความเย็น ภายในมีทอเล็กจํานวนหนึ่งสําหรับเปนทางไหลของสารทําความเยน็ หรือของไหลชนิดอื่น วาลว (valve) หมายถึง อุปกรณปดกัน้สารไหล สารทาํความเยน็มีความดันสูงกวาบรรยากาศและมีสถานะแปรเปลี่ยนตามวัฏกรรม มาตรฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล มาตรฐานที่นิยมใชกัน

- British Standard (BS) คือมาตรฐานของประเทศอังกฤษ - German Industrial Standard (DIN) คือมาตรฐานของประเทศเยอรมัน - Japanese Industrial Standard (JIS) คือมาตรฐานของประเทศญี่ปุน - American National Standard Institute (ANSI) คือมาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา - Thailand Industrial Standard (TIS) คือมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) ของประเทศไทย

Page 5: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

มาตรฐานทางเครื่องกลมีหลายมาตรฐานแตที่นิยมใชกันมากคือ มาตรฐาน ANSI ของประเทศไทย คือ มอก. หนวยงานทีจ่ดัทํามาตรฐานงานวิศวกรรมเครื่องกลคือ สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (ว.ส.ท.)

สัญลักษณของแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล สัญลักษณที่ใชงานกับแบบของงานระบบทางเครื่องกลสําหรับอาคาร แบงเปน 2 ระบบหลักๆ คือ

1. ระบบปองกันอัคคีภัยและระบบสุขาภิบาล

Page 6: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 7: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 8: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 9: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 10: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 11: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 12: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 13: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 14: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับไฟฟา และแบบวิศวกรรมไฟฟา คํานิยามทางไฟฟา กระแส ( ampere) หมายถึง อัตราการไหลของกระแสไฟฟาผานตัวนํา มีหนวยเปน Ampere หรือ A โวลต (volt) หมายถึง แรงดนัไฟฟาที่ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนซึ่งจะสงใหมีกระแสไฟฟาไหลขึ้น มหีนวยเปน Volt หรือ V

Page 15: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

เคร่ืองใชไฟฟา (appliance) หมายถึง บริภัณฑไฟฟาเพื่อใชประโยชนในการใชสอยท่ัวไป โดยบริภณัฑเหลานี้ถูกสรางขึ้นมาตามมาตรฐานสากล เชน เครื่องปรับอากาศ เครื่องซักผา ตูเย็น วงจรยอย ( branch circuit) หมายถึง ตัวนาํวงจรในวงจรระหวางอุปกรณปองกันกระแสเกินตวัสุดทายกับบริภณัฑไฟฟา เซอรกิตเบรกเกอร (circuit breaker: CB) หมายถึง อุปกรณที่ถูกออกแบบเพื่อใหเปดและปดวงจรโดยไมอนุมัติ หากกระแสไหลผานเกินกวาทีก่ําหนดไว เซอรกิตเบรกเกอรจะเปดวงจรโดยอัตโนมัติ หมอแปลงกระแส (current transformer: CT) หมายถึง หมอแปลงที่ทําหนาที่ลดปริมาณกระแสไฟฟา หมอแปลงแรงดัน (voltage transformer: VT) หมายถึง หมอแปลงที่ทําหนาที่ลดระดบัแรงดันไฟฟา หมอแปลงจําหนาย (distribution transformer) หมายถึง หมอแปลงที่ทาํหนาที่ลดระดับแรงดันจากระดับแรงดนัปานกลาง เปนระดับแรงดันต่ํา เคร่ืองปลดวงจร (disconnecting switch) หมายถึง บริภัณฑที่ใชในการตัดวงจรในขณะที่ไมมีโหลด รางเคเบลิ (cable trays) หมายถึง รางเปดซึ่งทําดวยวัสดุไมติดไฟ ใชสําหรับรองรับและจับยึดสายเคเบลิ สายปอน (feeder) หมายถึง ตัวนําของวงจร ระหวางบรภิณัฑประธานและบริภัณฑปองกันกระแสเกินของวงจรยอย แผงยอย (panel board) หมายถึง แผงเดีย่วหรือกลุมของแผงเดี่ยวที่ประกอบรวมกันเปนแผงเดยีว เตารับ (receptacle) หมายถึง อุปกรณที่ติดตัง้เพื่อเปนจดุจายไฟใหกับเครื่องใชไฟฟา วงจรประธาน (service) หมายถึง บริภัณฑและตัวนําสําหรับจายไฟฟาจากระบบของการไฟฟามายังระบบสายปอน ตัวนําประธาน (service conductor ) หมายถึงตัวนํา(สายไฟฟา) ที่ทําหนาที่นําพลังงานไฟฟาจากระบบของการไฟฟา มายังบริภณัฑประธาน บริภัณฑประธาน (service equipment) หมายถึง บริภัณฑที่ทําหนาที่ตัดกระแสทั้งหมดของระบบไฟฟา โดยทัว่ไปประกอบดวยเซอรกิตเบรกเกอร หรือสวิทช และฟวส สวิทชตอลงดนิ

กับดกัฟาผา ฟวสแรงสูง ใชที่ หมอแปลงไฟฟา แปลงแรงดัน สวิทชเกียร (switchgear) หมายถึงอุปกรณที่ทําหนาทีรั่บและจายกระแสไฟฟา ตัดกระแสที่ลัดวงจรหรือโหลดเกิน บริภัณฑเคร่ืองวัด หมายถึง บริภัณฑที่ใชวัดคาตางๆ กระแส แรงดัน กําลังไฟฟา ความถี่ พลังงานไฟฟา บัสเวย (Busways) หมายถึงอุปกรณไฟฟาที่ทําหนาที่นาํกระแสไฟฟาปริมาณมากจากจุดแหลงจายไฟฟาไปยังโหลด หนาที่จะคลายกับสายไฟ

Page 16: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

มาตรฐานทางไฟฟาและระบบไฟฟาในประเทศไทย 1. มาตรฐานทางไฟฟา

Page 17: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

2. ระบบไฟฟาในประเทศไทย โดยทั่วไปประกอบดวย 4 สวน 1) ระบบการผลิต ( generating system) 2) ระบบการสงกาํลังไฟฟา (transmission system) 3) ระบบจําหนาย (distribution system) 4) ระบบการใชกาํลังไฟฟา (utilization system)

Page 18: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

1. สัญลักษณทางไฟฟาตามมาตรฐานสากล สัญลักษณสวนใหญจะใชมาตรฐานอเมริกา หรือตามมาตรฐาน IEC ตามมาตรฐาน IEC

Page 19: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

2. ลักษณะแบบทางวิศวกรรมไฟฟา ที่สําคัญไดแก ไดอะแกรมเสนเดี่ยว (single line diagram)

Page 20: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

ไดอะแกรมแนวดิ่งและแบบวศิวกรรมไฟฟา ของระบบไฟฟาแรงดันปานกลาง 1. ไดอะแกรมแนวดิ่ง (Riser Diagram) ไดอะแกรมเสนเดี่ยวอาจมีขอจํากัดในกรณีอาคารที่มีหลายช้ันอาจจะทําใหไมสามารถทราบได

วาแผงจายไฟตัง้อยูที่ช้ันใด การออกแบบอาคารสูงจะจายไฟจากชั้นลางไปยังชั้นตางๆ ดวย เพื่อใหเกดิความเขาใจ จึงตองมีการเขียนไดอะแกรมแนวดิ่ง

Page 21: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

2. แบบทางวิศวกรรมไฟฟาของระบบไฟฟาแรงดันปานกลาง 2.1 ผูใชไฟฟารับไฟฟาดวยสายปอนอากาศ จากสายปอนอากาศของการไฟฟา

Page 22: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

2.2 ผูใชไฟฟารับไฟฟาดวยสายปอนใตดิน จากสายปอนอากาศของการไฟฟา

Page 23: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

2.3 ผูใชไฟฟารับไฟฟาดวยสายปอนใตดิน จากสายปอนใตดนิของการไฟฟา

Page 24: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 25: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 26: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 27: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา
Page 28: หนวยที่ 9 แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟา

manasu