12
บทที1 องคประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) มี เปาหมายในการรวมตัวเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (Single Market and Single Production Base) โดยมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝมืออยางเสรี เพื่อมุงใหอาเซียนเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน โดยมีการเรงรัดใหเกิดขึ้นภายในปพ . .2558 ( ..2015) ภายใตแผนการ ดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซึ่ง ประเทศสมาชิกตองปฏิบัติตามพันธกรณีซึ่งมีผลผูกพัน ดังนี1.1 การเปดเสรีการคาสินคา พันธกรณีดานการเปดเสรีการคาสินคาประกอบดวยการเปดเสรี 2 ประเภท มีรายละเอียดดังนี(1) การยกเลิกภาษีสินคา การยกเลิกภาษีสินคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน เปนขอตกลงตาม กรอบความรวมมือ AFTA (ASEAN Free Trade Area) ที่มีขอกําหนดดังนี(ตาราง ที1)

องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

  • Upload
    -

  • View
    456

  • Download
    3

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

บทที่ 1 องคประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(ASEAN Economic Community: AEC)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) มี

เปาหมายในการรวมตัวเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (Single Market and

Single Production Base) โดยมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน

และแรงงานมีฝมืออยางเสรี เพื่อมุงใหอาเซียนเปนตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน

โดยมีการเรงรัดใหเกิดขึ้นภายในปพ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) ภายใตแผนการ

ดําเนินงานเพื่อนําไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซ่ึง

ประเทศสมาชิกตองปฏิบัติตามพันธกรณีซ่ึงมีผลผูกพัน ดังนี้

1.1 การเปดเสรีการคาสินคา พันธกรณีดานการเปดเสรีการคาสินคาประกอบดวยการเปดเสรี 2 ประเภท

มีรายละเอียดดังนี้

(1) การยกเลิกภาษีสินคา การยกเลิกภาษีสินคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน เปนขอตกลงตาม

กรอบความรวมมือ AFTA (ASEAN Free Trade Area) ที่มีขอกําหนดดังนี้ (ตาราง

ที่ 1)

Page 2: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

AEC Prompt

2

ตารางที่ 1 กรอบระยะเวลาการลดอัตราภาษีสินคาของประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศ พ.ศ.2553 พ.ศ.2558

สมาชิกอาเซียนเดิม1 0%

สมาชิกอาเซียนใหม (CLMV)2 0% ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2552

ทั้งนี้การลดภาษีดังกลาวไดมีการยกเวนสําหรับสินคา 2 ประเภท คือ

1) สินคาออนไหว (Sensitive List : SL) สินคาในประเภทนี้ไมตองลดภาษี

เปน 0% แตตองลดภาษีใหเหลือนอยกวา 5% ซึ่งไทยนั้นมีสินคาออนไหว

4 รายการ คือ กาแฟ มันฝรั่ง มะพราวแหง และไมตัดดอก

2) สินคาออนไหวสูง (Highly Sensitive List : HSL) สินคาในประเภทนี้ไม

ตองลดภาษีเปน 0% คือ สินคาขาวของอินโดนีเซีย มาเลเซีย และ

ฟลิปปนส สินคาน้ําตาล ของอินโดนีเซีย

(2) การขจัดมาตรการที่มิใชภาษี (NTBs) การขจัดมาตรการที่มิใชภาษีของประเทศสมาชิกอาเซียนมีแนวทางการ

ยกเลิกหรือขจัด 3 ระยะ (ตารางที่ 2) ซ่ึงในสวนของประเทศไทยนั้นมีรายการสินคา

ที่ตองขจัดมาตรการที่มิใชภาษี ดังนี้

NTBs ชุดที่ 1 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2551 ครอบคลุมสินคา 5

รายการ คือ ลําไย พริกไทย น้ํามันถั่วเหลือง ใบยาสบู และน้ําตาล

NTBs ชุดที่ 2 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2552 มีสนิคา 3 รายการ คือ

ปอกระเจา ปาน มันฝร่ัง

1 สมาชิกอาเซียนเดิมประกอบดวย ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและ ไทย 2 สมาชิกอาเซียนใหม (CLMV) ประกอบดวย ประเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม

Page 3: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

3

NTBs ชุดที่ 3 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2553 ไดแก ขาว เนื้อมะพราว

แหง มะพราว น้ํามันมะพราว ชา ถั่วเหลือง เมล็ดกาแฟ กาแฟสําเร็จรูป น้ํานมดิบ/

นมปรุงแตง และนมผงขาดมันเนย ตารางที่ 2 กรอบระยะเวลาการขจัดมาตรการที่มิใชภาษี (NTBs) พ.ศ.2551 พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 พ.ศ.2555 พ.ศ.2558 NTBs ชุดที่ 1 สมาชิกทั้งหมด NTBs ชุดที่ 2 สมาชิกทั้งหมด

อาเซียน 5 ฟลิปปนส NTBs ชุดที่ 3 CLMV

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2552

1.2 การเปดเสรีการคาบริการ การเปดเสรีการคาบริการ เปนกรอบความตกลงดานการคาบริการอาเซียน

(ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) เร่ิมมีตั้งแตป 2538 ที่มี

เปาหมายเพื่อลดอุปสรรคในการเขาสูตลาดในดานตางๆลง และเพิ่มสัดสวนการถือ

หุนใหกับบุคคล/นิติบุคคลที่มีสัญชาติอาเซียน ซ่ึงความตกลงระบุใหสมาชิกตอง

เปดตลาดการคาบริการตามสาขาที่กําหนดจนถึงป พ.ศ.2558 ดังนี้ (ตารางที่ 3)

(1) สาขาบริการที่เรงรัด (Priority Sectors) ธุรกิจทองเที่ยว คอมพิวเตอร

โทรคมนาคม และสขุภาพ มีขอกําหนดวา ตองอนญุาตใหนักลงทุนอาเซียนเขามา

ถือหุนไดในนิติบุคคลที่ใหบริการไมนอยกวา 51% ภายในป พ.ศ.2551 และเพิ่ม

สัดสวนการถือหุนเปน 70% ภายในป พ.ศ.2553

(2) สาขาบริการเรงรัด (Priority Sectors) โลจิสติกส มีขอกําหนดวา ตอง

อนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนเขามาถือหุนไดไมนอยกวา 49% ในป พ.ศ.2551 และ

51% ในป พ.ศ.2553 และ 70% ในป พ.ศ.2556

Page 4: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

AEC Prompt

4

(3) สาขาบริการอื่นๆ ที่เหลือ มีขอกําหนดวา ตองอนุญาตใหนักลงทุน

อาเซียนเขามาถือหุนไดไมนอยกวา 49% ในป พ.ศ.2551 และ 51% ในป พ.ศ.

2553 และ 70% ในป พ.ศ.2558 ตารางที่ 3 กรอบระยะเวลาของการอนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนเขามาถือหุนในสาขาบริการ

สาขาบริการ พ.ศ.2551-2552 พ.ศ.2553-2554 พ.ศ.2555-2556 พ.ศ.2557-2558

สาขาบริการที่เรงรัด อยางนอย 51% อยางนอย 70%

สาขาโลจิสติกส อยางนอย 49% อยางนอย 51% อยางนอย 70%

สาขาบริการอื่นๆ ที่เหลือ อยางนอย 49% อยางนอย 51% อยางนอย 70%

ที่มา: ปรังปรุงจาก Roadmap for an ASEAN Community 2009-2015 (2009)

เม่ือกลาวถึงการคาบริการ ไดมีการจําแนกสาขาบริการตามความตกลงแมบท

ที่กํากับการคาบริการโลก (General Agreement on Trade in Services: GATS)

โดยอางอิงจากเอกสาร W120 ซึ่งจัดทําโดย WTO ไดจําแนกประเภทของบริการไว

12 สาขา โดยอิงจากการจําแนกประเภทของ UN Central Product Classification

(CPC) บริการทั้ง 12 สาขา ไดแก

1) บริการดานธุรกิจ (Business Services) ภายใตสาขานี้จะครอบคลุม

บริการวิชาชีพคอมพิวเตอร โฆษณา คนควาวิจัย และอื่นๆ

2) บริการดานสื่อสารคมนาคม (Communication Services) ภายใตสาขา

นี้จะครอบคลุมบริการไปรษณีย พัสดุภัณฑ โทรคมนาคม และโสตทัศน

3) บริการดานการกอสรางและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการกอสราง

(Construction and Related Engineering Services) ครอบคลุมทั้ง

การกอสรางและงานติดตั้ง

4) บริการดานการจัดจําหนาย (Distribution Services) ครอบคลุมบริการ

คาสงคาปลีก ตัวแทนจําหนาย และธุรกิจแฟรนไชส

Page 5: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

5

5) บริการดานการศึกษา (Education Services) ครอบคลุมตั้งแตการศึกษา

ระดับอนุบาลประถม อาชีวะ มัธยม จนถึงมหาวิทยาลัย การศึกษาผูใหญ

รวมทั้งหลักสูตรระยะสั้น

6) บริการดานสิ่งแวดลอม (Environmental Services) ครอบคลุมบริการ

กําจัดมลภาวะประเภทตาง ๆ รวมทั้งดานสุขาภิบาล

7) บริการดานการเงิน (Financial Services) ครอบคลุมบริการดาน

ประกันภัย การธนาคาร ธุรกิจหลักทรัพย และการเงนิอื่นๆ

8) บริการที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพและบริการทางสังคม (Health Related

and Social Services) ครอบคลุมโรงพยาบาล และธุรกิจที่เกี่ยวกับ

สุขภาพของมนุษย

9) บริการดานการทองเที่ยวและการเดินทางที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว

(Tourism and Travel Related Services) ครอบคลุมโรงแรม ภัตตาคาร

บริษัทตัวแทนทองเที่ยวและมัคคุเทศก

10) บริการดานนันทนาการ วัฒนธรรมและการกีฬา (Recreational, Cultural

and Sporting Services) ครอบคลุมธุรกิจบันเทิง หองสมุด พิพิธภัณฑ

11) บริการดานการขนสง (Transport Services) ครอบคลุมดานการขนสง

ทางบก เรือ อากาศ ทางทอ

12) บริการดานอื่นๆ (Other Services not Included Elsewhere) เชน เสริม

สวย จัดงานศพ เปนตน

Page 6: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

AEC Prompt

6

การเปดเสรีการคาบริการในอาเซียนภายใตกรอบความตกลงดานการคา

บริการอาเซียน (AFAS) เปนการลดและยกเลิกกฎระเบียบที่เปนอุปสรรคตอการคา

บริการในอาเซียน ในการการเขาสูตลาด (Market Access: MA) และการใหการ

ประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT) นอกจากนี้ การเปดเสรีการคา

บริการภายใตความตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการ (The General Agreement

Trade in Services: GATS) ไดแบงชองทางการใหบริการเปน 4 ชองทาง ดังนี้

1) การคาขามพรมแดน (Cross-Border Trade) หรือ MODE 1 เปนการ

สงผานบริการโดยผูใหบริการและผูรับบริการไมจําเปนที่จะตองเดินทาง

ไปหาอีกฝายเชนเดียวกับกรณีสินคา บริการลักษณะนี้ ไดแก การขนสง

ระหวางประเทศ หรือบริการทางดานขอมูลขาวสารผานเครือขาย

โทรคมนาคม เปนตน

2) การเคลื่ อนยายของผู รับบ ริการไปยั งประเทศของผู ใหบ ริการ

(Consumption Aboard) หรือ MODE 2 คือ การที่ผูรับบริการตอง

เดินทาง เพื่อไปรับบริการยังประเทศของผูใหบริการ เนื่องจากบริการ

บางชนิดไมสามารถที่จะสงขามพรมแดนได เชน การทองเที่ยว

การศึกษา เปนตน

3) การคาผานหนวยธุรกิจ (Commercial Presence) หรือ MODE 3 คือ ผู

ใหบริการที่มาตั้งประกอบธุรกิจในประเทศของผูรับบริการ โดยบริการ

ประเภทนี้ จําเปนที่ผูประกอบการจะตองทําการลงทุนตั้ งสถาน

ประกอบการ โดยการลงทุนนี้ มักผานทางการลงทุนโดยตรงจาก

ตางประเทศ เชน การใหบริการคาปลีก การใหบริการทางดานการเงิน

การประกันภัย เปนตน

Page 7: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

7

4) การเคลื่อนยายของบุคคลผูใหบริการเพื่อไปใหบริการยังประเทศของ

ผูรับบริการ (Movement of Natural Person) หรือ MODE 4 การ

เคลื่อนยายบุคคลผูใหบริการ เชน การกอสราง การเคลื่อนยายบุคลากร

ในองคกรหรือหนวยงานเอกชนการใหคําปรึกษาตางๆ เปนตน

สําหรับเปาหมายการเปดเสรีหรือขอผูกพันสาขาบริการในแตละรอบนั้น

(Package) อาเซียนไดมีขอตกลงรวมกันวาตองมีการเจรจารวมกันทุก 2 ป โดยมี

รายละเอียด ดังนี้

1. ป 2553 ตองทําเปดเสรีใน 15 สาขาบริการยอย รวมจากเดิมที่มีการเปด

เสรีแลวเปน 80 สาขา ซ่ึงจะได 8th Package

2. ป 2555 ตองทําเปดเสรีใน 20 สาขาบริการยอย รวมจากเดิมที่มีการเปด

เสรีแลวเปน 100 สาขา ซ่ึงจะได 9th Package

3. ป 2557 ตองทําเปดเสรีใน 20 สาขาบริการยอย รวมจากเดิมที่มีการเปด

เสรีแลวเปน 120 สาขา ซ่ึงจะได 10th Package

4. ป 2558 (ปสุดทาย) ตองทําเปดเสรีใน 8 สาขาบริการยอย รวมจากเดิม

ที่มีการเปดเสรีแลวเปน 128 สาขา ซ่ึงจะได 11th Package

1.3 การเปดเสรีการลงทุน การเปดเสรีการลงทุนภายใตกรอบความตกลงดานการลงทุนแบบเต็ม

รูปแบบ (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) เปนความ

ตกลงที่ ไดป รับปรุงโดยรวมความตกลงดานการลงทุนอาเซียน (ASEAN

Investment Area: AIA) และความตกลงสงเสริมและคุมครองการลงทุนอาเซียน

(ASEAN Investment Guarantee Agreement: ASEAN IGA) เพื่อใหมีขอบเขต

Page 8: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

AEC Prompt

8

ครอบคลุมภายใตความตกลงฉบับเดียว เพื่อเปดเสรีการลงทุน ใหความคุมครอง

การลงทุน สงเสริมการลงทุน และอํานวยความสะดวกดานการลงทุน โดย

ครอบคลุมการลงทุนดังนี้

(1) สาขาการลงทุน 5 สาขาและบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขาดังกลาว

ประกอบดวย

- เกษตรกรรม

- ประมง - ปาไม - เหมืองแร - อุตสาหกรรมการผลิต

(2) ประเภทของการลงทุนนั้น สามารถลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI)

และลงทุนในตลาดหลักทรัพย (Portfolio)

ในการเปดเสรี รัฐผูกพันที่จะลด/เลิกขอจํากัดหรือเงื่อนไขที่เปนอุปสรรคตอ

การลงทุน หรือไมออกกฎระเบียบใหมๆ ที่เขมงวดกวาระดับท่ีผูกพันไว ตาม

พันธกรณีวาดวยการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT) และการ

ปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง (Most-Favored-Nation Treatment:

MFN) โดยการเปดเสรีใหเปนไปตามความสมัครใจ เลือกเปดในสาขา/เวลาที่พรอม

สําหรับสาขาที่ไทยผอนปรนเงื่อนไขใหนักลงทุนอาเซียนนั้นมีสาขาเดียว คือ

เหมืองแร โดยเปนการอนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุนไดมากถึง 60%

เปนกรณีพิเศษ3 แตตองเปนไปตามเงื่อนไขดังตอไปน้ี

3ทั้งนี้เนื่องจากไทยไดใหสิทธิพิเศษนี้แกออสเตรเลียภายใตความตกลงเขตการคาไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA) และพันธกรณีระหวางอาเซียนกําหนดให

ไทยตองขยายสิทธิพิเศษดังกลาวใหแกนักลงทุนอาเซียนเชนกัน ตามหลักการวาอาเซียนตองไดรับสิทธิพิเศษสูงสุดเสมอ

Page 9: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

9

(3) นักลงทุนที่เปนนิติบุคคลตองจดทะเบียนในประเทศไทยในรูปของหางหุนสวนสามัญ หางหุนสวนจํากัด หรือบริษัทจํากัด

(4) ตองมีสัดสวนหนี้สินตอทุน ที่ 3 ตอ 1

(5) ไทยขอสงวนสิทธิในการออกหรือรักษามาตรการใดๆ ก็ตามในระดับ

รัฐบาลทองถิ่น (ตองไมเลือกปฏิบัติและไมมีเจตนาทําใหประเทศสมาชิกอาเซียน

เกิดความเสียหาย)

(6) ตองไดรับสัมปทานจากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กระทรวงอุตสาหกรรม ตามกฎหมายที่เกี่ยวของ

(7) 2 ใน 5 ของกรรมการบริหารตองเปนสัญชาติไทย

สาขาที่ไทยเคยผกูพนัไวภายใตความตกลง AIA เดิมวาจะเปดเสรีภายในป

2553 มีดงันี้

(1) การผลิตแปงจากขาวและพืชไร (2) การทําประมง เฉพาะการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา บัญชี 3

(3) การทําปาไมจากปาปลูก

(4) การทํากิจการเพาะขยายหรือปรับปรุงพันธุพืช สาขาทั้ง 4 ดังกลาวขางตน มีการระบุเงื่อนไขของการเขามาลงทุน ดังนี้

(8) ตางชาติสามารถถือหุนไดนอยกวา 50% ของทุนจดทะเบียน

(9) หากตองการถือหุนมากกวานั้น ตองขออนุญาตจากอธิบดีกรมพัฒนา

ธุรกิจการคา ตาม พรบ.การประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 ตองไดรับ

การสงเสริมภายใต พรบ.สงเสริมการลงทุน หรือไดรับอนุญาตตามกฎหมายการ

นิคมแหงประเทศไทย

Page 10: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

AEC Prompt

10

(10) ตองมีทุนขั้นต่ําไมนอยกวา 3 ลานบาท

(11) ตองขอใบรับรองจากกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

(12) ตองเปนไปตามเงื่อนไขอื่นที่ระบุใน พรบ.การประกอบธุรกิจของคน

ตางดาว พ.ศ.2542

ทั้งนี้ หากไทยไมเปดเสรีสาขาดังกลาวขางตนภายในป 2553 เทากับเปนการ

ผิดพันธกรณี ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถฟองรองรัฐบาลไทยได ซึ่งในขณะนี้

อยูในระหวางการพิจารณาความเหมาะสมและความเปนไปไดในการผอนปรน

เงื่อนไขเพื่อเปดเสรี หรือยังคงเงื่อนไขเดิม เนื่องจากภาคเอกชนไทยยังไมพรอมที่จะ

แขงขัน4

1.4 การเปดเสรีดานเงินทุนเคลื่อนยาย (1) ดานตลาดทุน จะเสริมสรางความแข็งแกรงในการพัฒนาและการรวมตัว

ของตลาดทุนในอาเซียนโดยสรางความสอดคลองในมาตรฐานดานตลาดทุนใน

อาเซียน ความตกลงสําหรับการยอมรับซ่ึงกันและกันในคุณสมบัติและคุณวุฒิ

การศึกษาและประสบการณของผูประกอบวิชาชีพดานตลาดทุน และสงเสริมใหใช

ตลาดเปนตัวขับเคลื่อนในการสรางความเชื่อมโยงระหวางกันเองในตลาดทุน

อาเซียน

(2) ดานเงินทุนเคลื่อนยาย จะเปดใหมีการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรียิ่งขึ้นอยาง

คอยเปนคอยไป โดยใหสมาชิกมีมาตรการปกปองที่เพียงพอเพื่อรองรับผลกระทบ

จากปญหาความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาค และความเสี่ยงเชิงระบบ รวมถึงการมี

สิทธิที่จะใชมาตรการที่จําเปนเพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค

4ที่มา: “แนวทางการจัดทํารายการขอสงวนภายใตความตกลงดานการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement – ACIA)”

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) 2552

Page 11: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

11

1.5 การเคลื่อนยายแรงงานฝมืออยางเสรี มีการบริหารจัดการการเคลื่อนยายหรืออํานวยความสะดวกในการเดินทาง

สําหรับบุคคลธรรมดาที่ เกี่ยวของกับการคาสินคา บริการ และการลงทุน ให

สอดคลองกับกฎเกณฑของแตละประเทศ โดยอํานวยความสะดวก ในการตรวจลง

ตราและออกใบอนุญาตทํางาน สําหรับผูประกอบวิชาชีพ และแรงงานฝมืออาเซียน

ที่เกี่ยวของกับการคาขามพรมแดน และกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุน

1.6 ความรวมมือสาขาอื่นๆ ความรวมมือในสาขาอื่น ๆ เชน ความรวมมือดานเกษตรอาหารและปาไม

ความรวมมือดานทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน

(การคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) ความรวมมือดานเหมืองแร

พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ความรวมมือดานการเงิน ความรวมมือดานวิสาหกิจขนาด

กลางและขนาดยอม (SMEs) และการพัฒนาเพื่อการรวมกลุมของอาเซียน

(Initiative for ASEAN Integration: IAI) เปนตน สวนใหญเปนการดําเนินงานตาม

แผนงาน/ขอตกลงที่มีการเห็นชอบรวมกันไปกอนหนานี้แลว โดยมีรัฐมนตรีรายสาขา

ที่เกี่ยวของเปนผูรับผิดชอบ

Page 12: องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1

AEC Prompt

12